The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียนทดสอบสมรรถภาพ ม.1 เทอม 1.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattra.poengjaihan, 2022-05-04 00:47:35

วิจัยในชั้นเรียนทดสอบสมรรถภาพ

วิจัยในชั้นเรียนทดสอบสมรรถภาพ ม.1 เทอม 1.2564

การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑
โรงเรยี นอมั พวนั วทิ ยาลยั จงั หวดั สมทุ รสงคราม

โดยใชเ กณฑม าตรฐานกำหนดรายการ ลุก-นั่ง ๑ นาที (Sit-up)
สำหรบั เดก็ ไทย อายุ ๗-๑๘ ป

โดย
วา ทรี่ อยตรีหญงิ ภัทรา ลอมสาย

ตาํ แหนง ครผู ชู วย
กลุมสาระการเรียนรู สุขศกึ ษาและพลศึกษา

โรงเรยี นอมั พวันวทิ ยาลัย อําเภออัมพวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม
สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม

ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔

สภาพปญหาการจัดการเรียนการสอนกลมุ สาระการเรียนรู
ระดบั มธั ยมศึกษาศกึ ษาปที่ ๑

๑. นกั เรยี นไมชอบเลน กฬี า หรือออกกำลังกาย ไมชอบ ลกุ -นัง่ (Sit-up)
๒. นักเรียน ลุก-นง่ั (Sit-up) ไมได หรือทำไดไ มถงึ เกณฑทีก่ ำหนด
สภาพปญ หาการจัดการเรยี นการสอนท่ีสำคัญที่สุด คอื นกั เรยี นไมส ามารถ ลุก-นงั่ (Sit-up) ได หรอื ทำได
ไมถ ึงเกณฑท ก่ี ำหนด
ซง่ึ มีสาเหตมุ าจาก...ไมส นใจในการออกกำลงั กาย ไมช อบ ลกุ -น่งั (Sit-up)
ปญ หาดังกลาวจะสงผลกระทบตอนกั เรยี น.....นกั เรียนไมส ามารถปฏบิ ัตไิ ด และทำใหสมรรถภาพทางกาย
ของนักเรยี นไมด ี
แนวทางในการแกป ญ หา........ใชเวลาในการกำหนด ใหฝก ปฏิบัติยำ้ ๆ ทำเองทุกวัน และทดสอบทกุ อาทิตย
แตแ นวทางท่ีผูศึกษาไดพ จิ ารณาแลวเห็นวา เหมาะสมกบั ปญหา และเหมาะสมกบั นักเรยี นทีส่ ุด คอื
ใหฝกปฏบิ ัติย้ำๆ ทำเองทุกวัน และทดสอบทุกอาทติ ย เพราะ ตอบสนองความตอ งการของ
นักเรียนในเรือ่ งการพูดคุยใหกำลงั ใจกนั ไมเ ขนิ อาย ทจี่ ะปฏบิ ัติ การพยายามท่ีจะปฏิบตั ิใหไ ด
ขาพเจาจึงไดทำการศกึ ษาในหัวขอ……การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ ๑
โรงเรียนอมั พวนั วทิ ยาลัย ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ โดยใชเกณฑมาตรฐานกำหนด รายการ
ลุก-นงั่ ๑ นาที (Sit-up) สำหรับเด็กไทย อายุ ๗-๑๘ ป

วตั ถุประสงคของการศึกษา
๑. เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น การฝกปฏบิ ัต.ิ ......วิชาสุขศกึ ษา...เร่ืองการพัฒนา

สมรรถภาพทางกายของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี ๑ กอ นและหลังการเรียน การฝกปฏิบัติ โดยใชเกณฑ
มาตรฐานกำหนด รายการ ลกุ -น่งั ๑ นาที (Sit-up) สำหรับเดก็ ไทย อายุ ๗-๑๘ ป
สมมตุ ิฐานของการวจิ ยั

นักเรยี นทเ่ี รยี น.....วชิ าสขุ ศกึ ษา...เรอื่ งการพฒั นาสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษา
ปท ่ี ๑ ผา นการเรียนโดยใชเ กณฑมาตรฐานกำหนด รายการ ลกุ -นง่ั ๑ นาที (Sit-up) สำหรับเด็กไทย
อายุ ๗-๑๘ ป ใหม ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขน้ึ และปฏิบตั ิไดต ามเกณฑท ีก่ ำหนด

ประชากร/กลมุ ตวั อยาง
๑. ประชากร คือ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๑ โรงเรียน อมั พวนั วิทยาลยั ท่ีเรียนวชิ า

สขุ ศกึ ษา ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ จำนวน ๒๐๑ คน
๒. กลมุ ตัวอยา งไดแก นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๑/๒ โรงเรยี น อัมพวนั วิทยาลัย ที่เรียนวิชา

สขุ ศกึ ษา ในปการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๒๙ คน ซง่ึ ไดมาโดย การสมุ ตวั อยางอยา งงาย

ประโยชนท ่คี าดวา จะไดรบั
๑. นกั เรยี นมีความรับผดิ ชอบตอตวั เองมากขน้ึ
๒. นกั เรยี นมสี มรรถภาพทางกายดีขึน้

เน้อื หาทเี่ ก่ียวของ
๑. ความหมายและความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย
๒. วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
๓. แนวทางการสรา งเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย

เครอื่ งมือทีใ่ ชในการศึกษา
เครื่องมอื ทใี่ ชใ นการศึกษาคร้ังนี้ ไดแ ก
๑. เคร่อื งมือท่ใี ชในการทดลอง ประกอบดว ย
๑.๑ เกณฑม าตรฐานรายการ ลกุ -น่งั ๑ นาที (Sit-up) สำหรบั เดก็ ไทย อายุ ๗-๑๘ ป
๒. เครอ่ื งมือทีใ่ ชในการเก็บรวบรวม ประกอบดวย
๒.๑ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน การปฏบิ ตั ิ เรอ่ื ง การพฒั นาสมรรถภาพ

ทางกายของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ เปน แบบปฏิบัติ ระยะเวลา ๑ นาที เก็บรวบรวมขอ มูลผลการ
ทดสอบทง้ั หมด ๒ ครง้ั กำหนดวนั เวลาในครง้ั ท่ี ๑ และครงั้ ที่ ๒

วธิ ดี ำเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล
ผศู ึกษาไดด ำเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ตง้ั แตวนั ท่ี ๑๗ เดือน

มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ตามขน้ั ตอนดังนี้
๑. นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชา.....สขุ ศกึ ษา....... ไปทดสอบกับนกั เรียน

รวบรวมคะแนนไวเ ปนคะแนนกอ นเรียน
๒. ผูศกึ ษาดำเนนิ การทดสอบ โดยใชเ กณฑมาตรฐานรายการ ลกุ -นง่ั ๑ นาที (Sit-up) สำหรบั

เด็กไทย อายุ ๗-๑๘ ป

แบบทดสอบ เรื่อง วนั /เดือน/ป ท่สี อน จำนวน หมายเหตุ
ครั้งที่ คาบ
๑ ทดสอบสมรรถภาพทางกายลกุ -นง่ั ๑ นาที (Sit-up) ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ ๑

๒ ทดสอบสมรรถภาพทางกายลุก-นง่ั ๑ นาที (Sit-up) ๕ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๑

๓. นำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรายวิชา......สุขศึกษา...... ไปทดสอบกบั นกั เรียน
รวบรวมคะแนนไวเ ปนคะแนนหลังเรียน

ผลการวิเคราะหข อ มูล
ผลการศึกษามีลำดบั ขนั้ ในการนำเสนอขอ มลู ดังน้ี
๑. ผลการเปรียบเทยี บความกาวหนา ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระหวางกอ นเรยี นและหลงั เรยี น
โดยใชคะแนนความกาวหนา

ตารางที่ ๑ ผลการเปรยี บเทียบความกาวหนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระหวา งกอนเรยี นและหลงั เรยี น

โดยใช...เกณฑมาตรฐานรายการ ลกุ -น่งั ๑ นาที (Sit-up) สำหรบั เดก็ ไทย อายุ ๗-๑๘ ป...

ที่ ชอื่ – สกลุ Pre Post คะแนนความกาวหนา

จำนวนครงั้ ท่ี ลุก-น่ัง ๑ นาที จำนวนครงั้ ท่ี ลกุ -นั่ง ๑ นาที

๑. ด.ช. ๑ ๑๐ +๙

๒. ด.ช. ๙ ๑๘ +๙

๓. ด.ช. ๑๐ ๒๒ +๑๒

๔. ด.ช. ๑๕ ๒๒ +๗

๕. ด.ช. ๑๐ ๒๐ +๑๐

๖. ด.ช. ๑๐ ๒๐ +๑๐

๗. ด.ช. ๕ ๑๑ +๖

๘. ด.ช. ๕ ๑๓ +๘

๙. ด.ช. ๕ ๑๑ +๖

๑๐. ด.ช. ๑ ๑๒ +๑๑

๑๑. ด.ช. ๑๐ ๒๐ +๑๐

๑๒. ด.ญ. ๑๐ ๒๐ +๑๐

๑๓. ด.ญ. ๑๔ ๒๑ +๗

๑๔. ด.ญ. ๑๔ ๒๑ +๗

๑๕. ด.ญ. ๗ ๒๓ +๑๖

๑๖. ด.ญ. ๑๐ ๒๓ +๑๓

๑๗. ด.ญ. ๙ ๑๙ +๑๐

๑๘. ด.ญ. ๑ ๑๐ +๙

๑๙. ด.ญ. ๗ ๒๑ +๑๔

๒๐. ด.ญ. ๗ ๒๒ +๑๕

๒๑. ด.ญ. ๗ ๒๑ +๑๔

๒๒. ด.ญ. ๗ ๒๓ +๑๖

๒๓. ด.ญ. ๑๖ ๑๘ +๒

๒๔. ด.ญ. ๑๕ ๑๗ +๒

๒๕. ด.ญ. ๑ ๑๑ +๑๐

๒๖. ด.ญ. ๘ ๑๕ +๗

๒๗. ด.ญ. ๔ ๑๓ +๙

๒๘. ด.ญ. ๑ ๑๒ +๑๑

๒๙. ด.ญ. ๑๐ ๒๒ +๑๒

คาเฉล่ีย ๘ ๑๗ +๙

คา เบยี่ งเบนมาตรฐาน ๔.๕๒ ๔.๖๑ +๓.๕๗

จากตาราง ๑ โดยภาพรวมคา เฉลยี่ กอนเรยี นเทากบั ๔.๕๒ และคาเฉลี่ยหลังเรยี นเทา กบั ๔.๖๑ เฉลีย่
เพม่ิ ข้นึ ๓.๕๗ แสดงวา นกั เรยี นท่ีทดสอบสมรรถภาพรายการ ลุก-น่งั ๑ นาที (Sit-up) มผี ลสัมฤทธ/ิ์

สมรรถภาพทางกายดขี ้นึ

ผลสมั ฤทธิ์/ความสามารถของนกั เรยี นแยกเปน กลมุ คุณภาพ
ตารางที่ ๒ จาํ นวนและรอ ยละการไดผ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ า สุขศกึ ษา ตามระดับคุณภาพ

เกณฑมาตรฐานรายการ ลุก-น่ัง ๑ นาที (Sit-up) จํานวนนักเรยี น รอ ยละ
ดมี าก (๓๔-๔๓ ครัง้ ) - -
ดี (๒๔-๓๓ คร้งั ) -
พอใช (๑๔-๒๓ คร้งั ) ๒๐ -
ปรบั ปรุง (๐-๑๓ คร้งั ) ๙ ๖๘.๙๗
รวม ๒๙
๓๑.๐๓
๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๒ พบวาหลงั การทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลกุ -นัง่ ๑ นาที (Sit-up)
นักเรียนสวนมาก รอยละ ๖๘.๙๗ มผี ลสมรรถภาพอยใู นระดบั พอใช และรองลงมารอยละ ๓๑.๐๓
มีผลสมรรถภาพอยูใน ระดบั ปรบั ปรงุ ตามลำดับ

ผลการประเมินความพึงพอใจในการทำงาน
จากการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๑/๒ โรงเรยี นอัมพวันวทิ ยาลัย

ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ทเ่ี รียนรายวิชา สขุ ศกึ ษา เรอื่ ง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นชน้ั
มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ โดยใชเ กณฑม าตรฐานกำหนด รายการ ลกุ -นง่ั ๑ นาที (Sit-up) สำหรบั เด็กไทย อายุ
๗-๑๘ ป
โดยการจัดการเรียนการสอนแบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย รายการ ลกุ -นั่ง ๑ นาที (Sit-up) พบวา
นักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอ วชิ าสุขศกึ ษา ในระดบั ดีมาก รายละเอียดปรากฏตามตารางท่ี ๓

ตารางที่ ๓ คาเฉล่ยี ( X ) และสวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ตี อวิชา
สุขศึกษา

รายการ X S.D. ความหมาย
๑ ความรับผดิ ชอบ ๐.๕๘ ดี
๒ การมีสว นรว มในการทํางาน ๑๕.๑๗
๓ ระเบียบวนิ ยั ดมี าก
๔ ตรงตอ เวลา ๑๙.๔๘ ๐.๗๓ ดีมาก
๕ ผลงาน/ช้นิ งาน ดมี าก
๑๘.๔๕ ๐.๖๙
ดี
๑๘.๙๗ ๐.๗๑

๑๓.๖๒ ๐.๕๓

จากตารางท่ี ๓ พบวา นักเรียนมคี วามพงึ พอใจในการทาํ งาน โดยภาพรวมอยใู นระดับ ดมี าก
ประเด็นทีน่ ักเรียนมีความพึงพอใจมากทสี่ ุด ไดแก การมสี ว นรว มในการทํางาน, ระเบยี บวินัย และตรงตอ
เวลา ประเดน็ ทน่ี กั เรียนมีความพงึ พอใจนอยทีส่ ุด ไดแ ก ความรับผิดชอบ และผลงาน/ชน้ิ งาน

สรุป อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ
การวิจัยเรอ่ื ง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๑ โดยใชเ กณฑ
มาตรฐานกำหนด รายการ ลกุ -นัง่ ๑ นาที (Sit-up) สำหรับเด็กไทย อายุ ๗-๑๘ ป ซ่ึงไดศ ึกษาผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑ โดยใชเกณฑมาตรฐานกำหนด รายการ
ลกุ -นั่ง ๑ นาที (Sit-up) ทเี่ กิดข้นึ ในโรงเรียนอัมพวันวิทยาลยั อำเภออมั พวา จงั หวดั สมุทรสงคราม ใน
เรอื่ ง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ โดยใชเกณฑมาตรฐานกำหนด
รายการ ลุก-น่ัง ๑ นาที (Sit-up) ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑/๒ จำนวน ๒๙ คน เมื่อภาคเรยี นท่ี ๑
ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ โดยสรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะไดด งั น้ี

สรุปผลการวิจยั
นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑/๒ มผี ลการทดสอบทางกายของนกั เรยี น โดยใชเ กณฑมาตรฐาน

กำหนด รายการ ลุก-นง่ั ๑ นาที (Sit-up) สำหรบั เด็กไทย อายุ ๗-๑๘ ป กลุม ตัวอยางจำนวน ๒๙ คน ซ่ึง
มคี าเฉลี่ยกอนเรียน เทากับ ๘ และคา เฉลยี่ หลังเรยี น เทากับ ๑๗ จะเห็นไดว า นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี
๑/๒ มคี า เฉล่ียการทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลกุ -นั่ง ๑ นาที (Sit-up) โดยครงั้ ท่ี ๒ สูงกวา
คาเฉลีย่ การทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลุก-นง่ั ๑ นาที (Sit-up) ครงั้ แรก เทากับ ๙

อภิปรายผล
จากการวจิ ยั การทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลกุ -น่งั ๑ นาที (Sit-up) ผลปรากฏวา ผล

การทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลกุ -นง่ั ๑ นาที (Sit-up) ของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๑/๒
โรงเรยี นอมั พวันวทิ ยาลยั ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ที่มีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ ลุก-นง่ั ๑
นาที (Sit-up) อยูในเกณฑท่ปี รับปรุง จำนวน ๙ คน พบวา มีผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายรายการ
ลุก-น่งั ๑ นาที (Sit-up)อยูในเกณฑท ี่ พอใช จำนวน ๒๐ คน ในการทดสอบกอ นเรยี น และในการทดสอบ
หลงั เรียน เห็นไดว า ผลการทดสอบ นักเรยี นมีสมรรถภาพทางกายดขี ้ึนจากเดมิ ทกุ คน และมีความ
รับผดิ ชอบตอตัวเองมากขึน้ จากเดมิ ทุกคน จงึ ทำใหบ รรลผุ ลตามวัตถปุ ระสงคข องงานวิจัย หลังจากการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยการ ลกุ -นัง่ ๑ นาที (Sit-up) แลว นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบมากขึ้น
นกั เรียนมีความเขา ใจในการหม่นั ปฏิบัติ ลุก-น่ัง (Sit-up) เพอื่ พัฒนาตนเอง และสรางกลา มเน้อื หนา ทอง
และสามารถนำไปใชใ นชีวิตประจำวนั ได ในเรอื่ งของการออกกำลงั กาย ลดหนา ทอ ง

ขอ เสนอแนะ
๑. ขอเสนอแนะจากการวิจัยครง้ั นี้
๑.๑ การดำเนนิ การสอน ครผู สู อนควรคำนึงถึงความแตกตา งระหวางบุคคล และ

ความสามารถของผเู รยี นแตล ะคน ซง่ึ ครูจะตอ งทราบวา เด็กคนไหน มีรปู รา งอวน ตัวใหญ รูปรา งสมสว น
หรอื รูปรางผอม ตวั เล็ก จะไดแ บงกลมุ แยกเกณฑอยางชดั เจน และเหมาะสม

๑.๒ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ครผู สู อนจะตองใหก ำลงั ใจผูเรยี น เสริมแรงบวก และ
พูดใหก ำลงั ใจกับผูเรยี นวาเราทำได

๒. ขอ เสนอแนะเพอ่ื การวจิ ัยครง้ั ตอไป
๒.๑ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู นกั เรยี นบางคนมีการเรียนรู และปฏิบัติไดชากวา

นักเรียนคนอ่นื ๆ ครผู สู อนควรใหเ วลามากขึน้ และใหความสนใจกับนกั เรยี นกลมุ นเี้ ปน พิเศษ
๒.๒ ควรนำเอารูปแบบ และกระบวนการศกึ ษาในครง้ั น้ีไปทำการศกึ ษากบั ระดับชั้นอน่ื ๆ

ตอไป

ภาคผนวก

ความหมายและความสำคญั ของสมรรถภาพทางกาย

ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) หมายถึง ความสามารถของรา งกายในการประกอบ

กจิ กรรมทางกายอยา งใดอยา งหนง่ึ เปน อยา งดโี ดยไมเหนื่อยเรว็ สมรรถภาพทางกายเปน สว นสำคัญในการ
พัฒนาดา นรา งกายของมนษุ ย เกดิ ขึน้ ไดจากการเคล่ือนไหวรางกายหรือออกกําลังกายอยา งสมาํ เสมอ ถา
หยุดออกกาํ ลงั กายหรอื เคลอ่ื นไหวรางกายนอยลงสมรรถภาพทางกายจะลดลง
ความสําคญั ของการเสรมิ สรา งสมรรถภาพทางกาย

สมรรถภาพทางกายเปนสง่ิ สําคญั ในการเสรมิ สรา งบุคคลใหส ามารถประกอบภารกิจและตํารงชีวิต
ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความคลองแคลว วองไว เกิดพฒั นาการดา นอารมณ และจิตใจทีด่ ี ความสมบูรณ
ของรางกายและจติ ใจ มีความสัมพันธก ัน เมอื่ สขุ ภาพรา งกายสมบรู ณแ ลว สขุ ภาพจิตใจยอมดีตามไปดวย

สมรรถภาพทางกายท่ีดีทําใหป ระสิทธภิ าพของระบบตางๆ ในรางกายทาํ งานไดด ขี ้ึน มีความ
ตานทาน โรครปู รางและสัดสว นของรางกายดขี นึ้ การทาํ งานมีประสทิ ธภิ าพมบี คุ ลกิ ภาพท่ดี ี สามารถ
เคลอ่ื นไหวได ดว ยความสงางาม

ลุก - นง่ั 1 นาที

วตั ถุประสงค วัดความแขง็ แรงและทนทานของกลา มเนือ้ ทอง
อุปกรณ
1. นากิ าจบั เวลา 1 เรือน

2. เบาะยดื หยุนหรอื ทีน่ อนบาง ๆ 1 ผนื
วิธกี ารทดสอบ จัดผรู ับการทดสอบเปน คู ใหผ รู ับการทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะเขา งอต้ังเปนมมุ
ฉาก เทาแยกหางกนั ประมาณ 30 องศาประสานนว้ิ มอื รองทา ยทอยไว ผทู ดสอบคนที่ 2 คกุ เขา ที่ปลาย

เทา ของผูทดสอบ(หันหนาเขาหากัน) มอื ทงั้ สองกำและกดขอ เทาของผูรับการทดสอบไวใ หห ลังติดพ้ืนเมือ่

ผใู หสัญญาณบอก "เร่มิ ตน" พรอมกับจับเวลา ผูรบั การทดสอบลกุ ข้นึ นงั่ ใหศอกท้ังสองแตะเขาทงั้ สอง

แลวกลับนอนลงในทาเดิมจนนว้ิ มือจรดเบาะจึงกลับลุกขึ้นน่ังใหม ทำเชนนีต้ ิดตอ ไปอยา งรวดเรว็ จน

ครบ 1 นาที (ดังภาพ)

การบนั ทกึ บนั ทกึ จำนวนครั้งทที่ ำถกู ตอ งใน 1 นาที

ขอควรระวัง นว้ิ มอื ตองประสานท่ีทายทอยตลอดเวลา เขางอเปน มุมฉากในขณะที่นอนลง

หลงั จากลุกนงั่ แลว หลงั และคอตอ งกลับไปอยทู ่ีต้ังตน และหามเดง ตวั ขึ้นโดยใชขอ ศอกดันพ้ืน

แนวทางในการสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกาย

รจู กั พัฒนาสมรรถภาพทางกายในแตละดา น ดังนี้
การสรา งเสริมความทนทานของระบบหมุนเวยี นโลหิต กระทำไดโ ดย วง่ิ วา ยน้ำ ถีบจกั รยาน เตน

แอโรบิค เปนตน ตอ งปฏบิ ัตตดิ ตอกนั อยางนอย 20 – 30 นาทตี อ ครัง้ และใหว ัดชีพจรหรอื การเตนของ
หัวใจได 150 – 180 ครั้งตอนาที

การสรางเสรมิ ความแข็งแรงของกลา มเนือ้ กระทำโดยการใชน ำ้ หนักตัวเอง เชน ดนั พนื้ ดึงขอ
บารเดี่ยว บารคู และใชอุปกรณพวกดัมเบล บารเบล สปริง การปฏบิ ตั ิตอ งปฏบิ ัติเรว็ ๆ ใชเวลานอย เชน
ในการยกดัมเบลหรอื บารเ บล ใหย ก 1 – 3 ชุด ชุดละ 4 – 6 ครงั้ โดยใช เวลาพักระหวา งชุด 3 – 4 นาที

การสรางเสริมความทนทานของกลามเนื้อ ใหก ระทำเชนเดยี วกบั ความแขง็ แรงแตใ หป ฏิบัติซ้ำ
หลายคร้ัง ปฏบิ ัตชิ า ๆและแตละคร้ังใหใชเ วลานาน

การสรา งเสริมความยดื หยนุ หรอื ความออนตวั กระทำโดยการยืดกลา มเนือ้ และการแยกขอ ตอ
สวนตางๆ เชน กลา มเน้ือหวั ไหล ยืดกลา มเน้อื หลัง แยกขอ ตอสะโพก เปน ตน ใหคงการยดื ไวป ระมาณ 5
– 10 วินาที ในการฝกคร้ังแรก และคอ ยเพ่ิมระยะเวลาขนึ้ ไหไ ด 30 – 45 วนิ าที

การสรางความคลอ งแคลว วอ งไว กระทำโดย การวิ่งเรว็ การวิง่ กลบั ตวั เปน ตน

การสรา งสมรถภาพทางกายแตละคร้ัง ใหปฏบิ ัติตามขั้นตอน ดังน้ี
การอบอนุ รางกาย ( Warm Up ) โดยการว่งิ เบาๆและบรหิ ารขอ ตอทกุ สว นเปน เวลาประมาณ 5 –

15 นาที
ปฏบิ ัติกจิ กรรมสรางสมรรถภาพทางกาย โดยในแตล ะครง้ั ใหปฏิบตั ิครอบคลุมในทุกๆดา น ไดแก

ความอดทนของระบบการหมุนเวยี นโลหิต ความอดทนและแขง็ แรงของกลา มเน้อื และความออนตัว และ
ใน 1 สัปดาห ควรทำการสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกายอยางนอย 3 – 5 วนั โดยใหปฏบิ ตั วิ ันละ 30 นาที
ถึง 1 ช่วั โมง

ความพึงพอใจของนกั เรียนท่มี ีตอ วิชาสุขศึกษา

คำช้แี จง : ให ผูเรียน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา งเรียน และมคี วามพงึ พอใจตอ วิชาสุขศึกษา
มากนอ ยเพียงใด ใหขีด  ลงในชอ งท่ีตรงกบั ระดับคะแนน

รายการ ดมี าก ดี พอใช ปรบั ปรงุ
(4) (3) (2) (1)
1. ความรบั ผดิ ชอบของแตละคน
2. การมีสว นรว มในการทำงาน
3. ระเบียบวนิ ัย
4. ตรงตอเวลา
5. ผลงาน/ชิ้นงาน

เกณฑการใหคะแนน ให 4 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา งสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ ยครง้ั ให 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให 1 คะแนน
ไมคอ ยปฏิบตั ิ

เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ

ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ
16-20 ดมี าก
11- 15 ดี
6-10 พอใช
1-5 ปรบั ปรุง


Click to View FlipBook Version