The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by This's Sasi, 2022-09-06 04:04:15

คู่มือบริหารงานวิชาการ โรงเรียนวัดหนองติม

คู่มือบริหารงานวิชาการ

คมู่ อื การปฏบิ ัตงิ าน
การบริหารงานวชิ าการ

วิชโรางกเราียนวัดหนองตมิ

สพป.สระแก้ว เขต 2

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

1

การบริหารงานวชิ าการ

แนวคิดหลกั ในการบรหิ ารวชิ าการ

การบริหารงานวชิ าการเป็นภารกจิ ทสี่ าคญั ของการบรหิ ารโรงเรียนตามท่พี ระราชบญั ญตั ิการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม(ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ.2545 ถือเปน็ งานท่มี คี วามสาคัญทีส่ ดุ เปน็ หัวใจของการ
จัดการศึกษา ซงึ่ ทั้งผบู้ ริหาร โรงเรียน คณะครู และผ้มู ีส่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่าย ต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจ ให้
ความสาคัญและ มีส่วนร่วมในการวางแผน กาหนดแนวทางปฏิบัติการประเมนิ ผล และการปรับปรงุ แก้ไขอย่างเปน็
ระบบและต่อเนื่อง มุ่งให้กระจายอานาจในการบรหิ ารจัดการไปใหส้ ถานศกึ ษาให้มากทส่ี ุด ดว้ ยเจตนารมณ์ทจี่ ะให้
สถานศึกษาดาเนินการไดโ้ ดยอิสระ คลอ่ งตวั รวดเรว็ สอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รยี น โรงเรยี น ชมุ ชน
ท้องถนิ่ และการมสี ่วนรว่ มจากผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ทกุ ฝา่ ย ซ่ึงจะเปน็ ปจั จัยสาคัญทาให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งใน
การบริหารและจดั การ สามารถพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ตลอดจนการวดั ผล ประเมนิ ผล รวมทั้ง
ปจั จัยเก้ือหนนุ การพัฒนาคุณภาพนักเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถนิ่ ได้อย่างมีคุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการของ
นักเรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิน่
2. เพ่ือให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพ่อื พัฒนาตนเอง และ จากการประเมินหน่วยงาน
ภายนอก
3. เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อความ
ตอ้ งการของผเู้ รียน ชมุ ชน และ ท้องถ่นิ โดยยดึ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ และ ประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของบุคคล
ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน และ สถาบันอื่นๆอยา่ งกวา้ งขวาง

วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย อัตลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา 2

วิสัยทศั น์

“โรงเรียนวดั หนองตมิ เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้คคู่ ณุ ธรรม นาเทคโนโลยี มคี วามเปน็ เลิศทางวิชาการ อยู่บนพื้นฐานของความ
พอเพยี ง”

พันธกิจ
1. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเป็นคนดีมีคณุ ธรรม มีคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคแ์ ละค่านยิ ม 12 ประการ
3. พฒั นาสถานศึกษาสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ บนพื้นฐานของความพอเพียง
4. พฒั นาสภาพแวดลอ้ ม แหลง่ เรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา ให้มีคุณภาพ

เหมาะสมในการจัดการเรยี นการสอน
5. ส่งเสริมผูเ้ รียนใหม้ ีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์
6. สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
7. พฒั นาครูใหม้ ีคณุ ภาพทางวิชาการตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณครู มีศกั ยภาพในการใช้

การวจิ ัย สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพ่ือยกระดับหลักสูตรการเรียนการสอน
8. ประสานความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรยี น ผ้ปู กครอง ชมุ ชน และสรา้ งภาคีเครือข่ายเพ่ือสนบั สนุน

การจดั การศกึ ษา
9. ส่งเสรมิ และพัฒนาใหส้ ถานศึกษามกี ารจดั หลักสูตรและกระบวนการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั

10. ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการตามมาตรฐานการศึกษาชาติ

เปา้ หมาย/เป้าประสงค์

1. ผู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2. ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์และค่านิยม 12 ประการ รวมทง้ั การดารงชวี ติ
ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. สถานศกึ ษามีการสร้าง ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรบู้ นพน้ื ฐานของ
ความพอเพียง
4. สถานศึกษามีแหล่งเรยี นรู้ สอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษาที่มีคณุ ภาพเหมาะสมในการจัด การเรยี น
การสอน
5. ผู้เรียนมที ักษะในการใช้เทคโนโลยี แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง และใฝ่เรยี นรู้
6. สถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
7. ครูมคี ุณภาพทางวชิ าการตามมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณครู มศี ักยภาพในการใช้การวิจัย สอ่ื นวัตกรรม
และเทคโนโลยี เพ่ือยกระดับหลกั สตู รการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
8. มีการประสานความรว่ มมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และมภี าคเี ครือข่ายท่เี ขม้ แข็ง ในการสนับสนุน
การจดั การศึกษา

3

9. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรที่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั
10. ครมู ีการจดั การจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ
11. ผเู้ รียนมคี วามเปน็ เลศิ ทางด้านวิชาการทดั เทยี มมาตรฐานการศกึ ษาชาติ

คาขวญั โรงเรียนวัดหนองติม
“เรียนดี กฬี าเดน่ เครง่ วนิ ัย ใฝ่สะอาด มารยาทงาม”

อตั ลกั ษณ์โรงเรียนวดั หนองติม
“ใฝ่เรียนรู้ รักถ่ิน อยู่กนิ พอเพยี ง”

เอกลกั ษณ์โรงเรยี นโรงเรียนวดั หนองตมิ
“โครงการสืบสานวัฒนธรรมในทอ้ งถิ่น”

4

ขอบข่ายและภารกิจผู้รับผิดชอบ
1. การพฒั นาหรอื การดาเนินการเกย่ี วกบั การใหค้ วามเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สูตรท้องถิ่น

บทบาทและหน้าท่ี
1. วเิ คราะห์กรอบสาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่นที่สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาจัดทาไว้
2. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพอื่ กาหนดจดุ เนน้ หรอื ประเด็นทีส่ ถานศึกษาให้

ความสาคญั
3. ศึกษา และวิเคราะหข์ ้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา และชุมชนเพ่ือนามาเปน็ ข้อมูล

จดั ทาสาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ ของสถานศกึ ษาใหส้ มบูรณ์ย่งิ ขึน้
4. จัดทาสาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ินของสถานศึกษา เพ่ือนาไปจดั ทารายวิชาพ้นื ฐานหรอื

รายวิชาเพ่ิมเตมิ จัดทาคาอธบิ ายรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื จดั ประสบการณ์
และจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแ้ กผ่ เู้ รยี น ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ

5. ผู้บรหิ ารศกึ ษาอนุมตั ิ

2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ
บทบาทและหนา้ ที่

1. วางแผนงานดา้ นวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับดูแล นิเทศและติดตามเกยี่ วกับงานวิชาการ
ได้แก่ การพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวดั ผล ประเมินผล และ การเทยี บ
โอนผลการเรียน การประกันคณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพัฒนาและใช้ สอ่ื และ
เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การพัฒนาและสง่ เสรมิ ใหม้ แี หล่งเรียนรู้การวจิ ยั เพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา
และสง่ เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวชิ าการ
2. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมัตโิ ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี

1. จัดทาแผนการเรยี นรู้ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
2. จัดการเรียนการสอนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ุกชว่ งช้ัน ตามแนวปฏิบัติการเรียนรโู้ ดยเน้นผเู้ รยี นเปน็

สาคญั พฒั นาคุณธรรมนาความรูต้ ามหลักการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ใชส้ ่อื การเรยี นการสอน และแหลง่ การเรยี นรู้
4. จัดกิจกรรมพฒั นาหอ้ งสมดุ ห้องปฏบิ ตั ิการต่างๆ ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
5. สง่ เสรมิ การวจิ ัย และพฒั นาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
6. สง่ เสรมิ การพฒั นาความเปน็ เลศิ ของนักเรียน และช่วยเหลือนกั เรยี นพกิ าร ด้อยโอกาสและ

มีความสามารถพเิ ศษ

5

4. การพฒั นาหลักสูตรของสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่

1. จดั ทาหลกั สตู รเป็นของตนเองโดยจดั ให้มีการวิจัย และพัฒนาหลกั สตู ร ให้ทนั กับการเปลย่ี นแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจและสงั คม จัดทาหลกั สูตรท่มี ่งุ เนน้ พฒั นานักเรยี นใหเ้ ป็นมนษุ ย์ทสี่ มบูรณ์ท้ังรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา มี
ความรแู้ ละคุณธรรม สามารถอยูร่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้อย่างมีความสุข จดั ใหม้ วี ชิ าต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาพ้ืนฐานของกระทรวงศกึ ษาธิการ

2. เพมิ่ เตมิ เนื้อหาสาระของรายวชิ า ไดแ้ ก่ การศึกษาทางเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร กิจกรรม
ดนตรี-นาฏศิลป์ กีฬา การศกึ ษาทีส่ ง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศ ผบู้ กพร่อง

3. เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวชิ าทส่ี อดคล้องสภาพปญั หาความตอ้ งการของผ้เู รยี น ผู้ปกครอง ชุมชน สงั คม
และอาเซียน

5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
บทบาทและหนา้ ที่

1. จดั เน้อื หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ และความถนดั ของผเู้ รยี นโดย
คานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล

2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรู้มาใช้ เพ่ือปอ้ งกนั และแก้ไข
ปญั หา

3. จดั กิจกรรมให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การปฏบิ ตั ใิ ห้ทาได้ คิดเป็น ทาเปน็ รกั การอ่าน
และเกิดการใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่อื ง

4. จัดการเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรดู้ า้ นต่างๆ อยา่ งได้สดั ส่วนสมดลุ กันรวมท้ังปลกู ฝงั
คณุ ธรรม คา่ นิยมทดี่ งี ามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไวใ้ นทกุ กลมุ่ สาระ/วิชา

5. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผสู้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อม สอ่ื การเรยี น และอานวยความสะดวก
เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมท้งั สามารถใช้การวจิ ยั เปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ ทั้งนี้
ผสู้ อนและผเู้ รยี นรู้อาจเรียนรู้ไปพรอ้ มกันจากสือ่ การเรยี นการสอน และแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ

6. จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือ กบั บิดามารดาและบุคคลใน
ชมุ ชนทกุ ฝา่ ย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ

7. ศกึ ษาค้นคว้าพัฒนารูปแบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ี

6

6. การวัดผล ประเมนิ ผล และดาเนนิ การเทียบโอนเทา่ ผลการเรียน
บทบาทและหนา้ ท่ี

1. กาหนดระเบยี บการวัด และประเมนิ ผลของสถานศึกษาตามหลกั สูตรสถานศึกษาโดยให้
สอดคลอ้ ง กบั นโยบายระดบั ประเทศ

2. จดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลของสถานศึกษา
3. วัดผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ์ ผลการเรียนและอนุมตั ิผลการเรียน
4. จดั ให้มีการประเมินผลการเรยี นทกุ ช่วงช้นั และจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีทม่ี ผี ู้เรยี น ไม่ผา่ น
เกณฑ์การประเมิน
5. ให้มีการพฒั นาเคร่ืองมือในการวัดและประเมนิ ผล
6. จัดระบบสารสนเทศดา้ นการวัดผลประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียนเพ่อื ใชใ้ นการอา้ งอิง ตรวจสอบ
และใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาการเรยี นการสอน
7. ผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ัติผลการประเมินการเรียนด้านตา่ งๆ รายปี รายภาคและตดั สนิ ผลการเรียนผา่ น
ระดบั ช้ันและจบการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
8. การเทียบโอนผลการเรยี นเป็นอานาจของสถานศึกษา ทีจ่ ะแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนินการ
เพ่อื กาหนดหลักเกณฑ์วิธกี าร ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศกึ ษาท้งั ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรยี น และเสนอคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และวชิ าการ พร้อมท้ังให้ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารเทียบโอน

7. การวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่

1. กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวจิ ัยเป็นสว่ นหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู้ และกระบวนการทางาน
ของนักเรียน ครู และผูเ้ กีย่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา

2. พัฒนาครู และนักเรยี นให้มีความร้เู กี่ยวกบั การปฏริ ูปการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจยั เปน็ สาคัญ ในการ
เรียนรทู้ ่ซี ับซ้อนขนึ้ ทาให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกการคิด การจดั การ การหาเหตุผลในการตอบปัญหา

3. พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวจิ ัย
4. รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจยั เพื่อการเรียนรแู้ ละพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนนุ ให้ครูนา
ผลการวจิ ยั มาใชเ้ พือ่ พัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา

7

8. การพฒั นาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรยี นรู้
บทบาทและหน้าท่ี

1. จัดใหม้ ีแหลง่ เรยี นรู้อย่างหลากหลาย ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพยี งเพื่อ
สนับสนนุ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรียนรู้

2. จัดระบบแหล่งการเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นให้เออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น เชน่
พฒั นาหอ้ งสมดุ ใหเ้ ปน็ แหล่งการเรียนรู้ มมุ หนงั สอื ในห้องเรียน หอ้ งดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์
ห้องภาษาองั กฤษ หอ้ งพยาบาล ห้องศูนยว์ ชิ าการ สวนเกษตรพอเพยี ง หอ้ งสหกรณโ์ รงเรยี น เปน็ ต้น

3. จดั ระบบข้อมลู แหลง่ การเรียนรใู้ นทอ้ งถ่ินใหเ้ ออื้ ต่อการจดั การเรียนรู้ ของผู้เรยี น ของ
สถานศึกษาของตนเอง

4. สง่ เสรมิ ให้ครแู ละผเู้ รียนได้ใช้แหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ในและนอกสถานศึกษา เพื่อพฒั นาการ
เรยี นรู้ และ การนิเทศ กากับตดิ ตาม ประเมนิ และปรับปรงุ อย่างต่อเนือ่ ง

5. ส่งเสรมิ ให้ครู และผเู้ รียนใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ ้งั ภายในและภายนอก

9. การนิเทศการศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่

1. สร้างความตระหนักให้แก่ครู และผเู้ ก่ยี วข้องใหเ้ ข้าใจกระบวนการนิเทศภายในวา่ เป็น
กระบวนการทางานร่วมกนั ท่ใี ชเ้ หตุผลการนเิ ทศ เป็นการพัฒนาปรับปรงุ วิธีการทางานของแตล่ ะบคุ คล ให้มีคณุ ภาพ
การนิเทศเปน็ ส่วนหนึง่ ของกระบวนการบรหิ าร เพ่ือให้ทุกคนเกิดความเชือ่ ม่นั ว่าได้ปฏบิ ัติถูกต้อง ก้าวหน้า และเกดิ
ประโยชน์สงู สุดต่อผเู้ รยี น และตวั ครเู อง

2. จดั การนิเทศภายในสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพท่ัวถึง และตอ่ เนอ่ื งเปน็ ระบบและกระบวนการ
3. จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหเ้ ช่ือมโยงกบั ระบบนเิ ทศการศึกษาของสานักงานเขต
พื้นที่การศกึ ษา

10. การแนะแนว
บทบาทและหนา้ ที่

1. กาหนดนโยบายการจัดการศึกษา ทีม่ ีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคัญ โดยใหท้ ุก
คนในสถานศึกษาตระหนักถึงการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนว และการดแู ลช่วยเหลอื

2. จัดระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนของสถานศกึ ษาให้
ชดั เจน

3. สร้างความตระหนักให้ครูทุกคนเหน็ คณุ ค่าของการแนะแนว และดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
4. สง่ เสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรูเ้ พ่มิ เตมิ เรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล
ช่วยเหลือนกั เรยี น เพ่ือใหส้ ามารถบูรณาการในการจัดการเรียนรแู้ ละเช่อื มโยงสู่การดารงชวี ิตประจาวัน
5. คัดเลือกบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและบคุ ลกิ ภาพที่เหมาะสม ทาหน้าทค่ี รูแนะแนว
ครทู ป่ี รกึ ษา ครปู ระจาชั้น และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6. ดแู ล กากบั นเิ ทศ ติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลือ

8

นกั เรยี นอยา่ งเป็นระบบ
7. ส่งเสรมิ ความรว่ มมือ และความเข้าใจอันดรี ะหว่างครู ผ้ปู กครอง และชุมชน
8. ประสานงานด้านการแนะแนวระหวา่ งสถานศึกษา องค์กร ภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสนสถาน

ชุมชนในลักษณะเครือขา่ ยการแนะแนว
9. เช่ือมโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น

11. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จดั ทาแผนสถานศกึ ษาท่ีมุ่งเน้นคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยทุ ธศาสตร์)
3. จดั ทาระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4. ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศกึ ษาต้อง

สร้างระบบ การทางานท่ีเข้มแข็งเน้นการมสี ว่ นร่วม และวงจรการพัฒนาคณุ ภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรอื ท่ี
ร้จู ักกนั วา่ วงจร PDCA

5. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดาเนนิ การอยา่ งจรงิ จงั ต่อเน่ืองด้วยการ
สนับสนุนให้ครู ผปู้ กครองและชมุ ชนเขา้ มามีส่วนร่วม

6. ประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานที่กาหนด เพ่ือรองรบั การ
ประเมินคุณภาพภายนอก

7. จดั ทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรปุ รายงานประจาปี โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด และเผยแพรต่ ่อสาธารณชน

12. การสง่ เสรมิ ชุมชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
บทบาทและหน้าที่

1. จดั กระบวนการเรยี นร้รู ว่ มกบั บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
เอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอนื่

2. ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งของชมุ ชน โดยการจดั กระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน
3. ส่งเสริมใหช้ ุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมลู ข่าวสารและ
เลอื กสรรภูมปิ ญั ญา วิทยาการต่างๆ
4. พฒั นาชุมชนใหส้ อดคล้องกบั สภาพปญั หา และความต้องการรวมทัง้ หาวิธกี ารสนับสนุน
ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นประสบการณร์ ะหว่างชุมชน

9

13. การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวิชาการกับสถานศกึ ษา และองคก์ รอื่น เป็นตน้
บทบาทและหน้าท่ี

1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและภูมิปญั ญาท้องถนิ่ เพ่อื
เสริมสรา้ ง พัฒนาการของนักเรยี นทกุ ดา้ น รวมท้งั สืบสานจารตี ประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน

2. เสริมสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างสถานศึกษากบั ชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ รทั้ง
ภาครฐั และเอกชน เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ แหลง่ วิทยาการของชมุ ชน เพื่อใหส้ ถานศกึ ษาเป็นแหล่ง
วิทยาการของชมุ ชน และมสี ่วนในการพัฒนาชุมชนและท้องถ่นิ

3. ให้บรกิ ารด้านวชิ าการทีส่ ามารถเช่อื มโยงหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลขา่ วสารกับแหลง่ วชิ าการ
ในทีอ่ น่ื ๆ

4. จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสง่ เสรมิ วฒั นธรรมการสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีกับศิษย์เกา่
การประชุม ผ้ปู กครองนักเรียน การปฏิบตั ิงานร่วมกบั ชุมชน การรว่ มกิจกรรมกบั สถาบันการศกึ ษาอื่น

14. การสง่ เสริมและสนับสนนุ งานวิชาการแกบ่ ุคคล ครอบครวั องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ
สถาบันอ่นื ทจี่ ัดการศึกษา
บทบาทและหน้าท่ี

1. ประชาสมั พันธ์สร้างความเขา้ ใจต่อบคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ ร
ปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอนื่
ในเรือ่ งเกี่ยวกับสิทธใิ นการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานการศึกษา

2. จดั ใหม้ กี ารสร้างความรคู้ วามเข้าใจ การเพ่ิมความพร้อมให้กบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กร
ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบนั สังคมอนื่ ท่ีร่วมจัดการศกึ ษา

3. รว่ มกบั บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เอกชน องค์กร เอกชน
องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอน่ื ทรี่ ่วมจดั การศกึ ษา และใช้ทรพั ยากรร่วมกนั
ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ

4. สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหม้ กี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างสถานศึกษากบั บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องค์กร
เอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอน่ื

5. สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนาสถาน
ประกอบการและสถาบนั สงั คมอน่ื ไดร้ บั ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการตามความ เหมาะสมและจาเป็น

6. สง่ เสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ทง้ั ดา้ นคณุ ภาพและปรมิ าณ เพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ

10

15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่

1. ศกึ ษาและวเิ คราะหร์ ะเบียบ และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับงานด้านวชิ าการของสถานศึกษา
เพื่อให้ ผูท้ ่ี เก่ียวข้องรบั รู้ และถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน

2. จัดระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั งานด้านวิชาการของสถานศกึ ษา เพื่อให้ผู้ท่ีเกยี่ วข้อง
รบั รู้ และถือปฏบิ ัตเิ ป็นแนวเดียวกนั

3. ตรวจสอบรา่ งระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเก่ียวกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา และแก้ไข
ปรับปรงุ

4. นาระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั งานด้านวิชาการของสถานศกึ ษาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ
5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใช้ระเบียบและแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับงานด้านวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนาไปแกไ้ ขปรับปรุง ให้เหมาะสมตอ่ ไป

16. การคดั เลอื กหนงั สือ แบบเรียนเพือ่ ใช้ในสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ท่ี

1. ศกึ ษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนงั สอื เรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่างๆ ท่มี ีคุณภาพสอดคล้องกับหลักสตู ร
สถานศกึ ษา เพ่ือเป็นหนังสือแบบเรียนใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

2. จัดทาหนังสือเรยี น หนังสือเสริมประสบการณ์ หนงั สอื อ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรู้
เพื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอน

3. ตรวจพจิ ารณาคุณภาพ หนงั สือเรยี นเรยี น หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ
แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรู้ เพอ่ื ใช้ประกอบการเรยี นการสอน

17. การพฒั นา และใชส้ ่อื เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา
บทบาทและหน้าท่ี

1. จดั ให้มีการรว่ มกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรอ่ื งการจดั หาและพัฒนาส่ือการเรยี นรู้
และ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา

2. พัฒนาบุคลากรใสถานศึกษาในเร่ืองเกย่ี วกบั การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยีเพอ่ื
การศึกษา พร้อมท้ังใหม้ ีการจัดตัง้ เครือขา่ ยทางวชิ าการ ชมรมวชิ าการเพ่ือเป็นแหล่งการเรียนรู้

3. พฒั นาและใช้สอ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมุ่งเนน้ การพัฒนาส่ือและเทคโนโลยที างการศึกษาทใ่ี ห้
ข้อเท็จจรงิ เพ่ือสร้างองค์ความรูใ้ หม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสอ่ื ทีเ่ สริมการจัด การศึกษาของสถานศึกษาให้มี
ประสทิ ธภิ าพ

4. พัฒนาห้องสมุดของสถานศกึ ษา ให้เปน็ แหล่งการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา และชมุ ชน
5. นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากรในการจัดหา ผลติ ใช้และพฒั นาส่ือ และ
เทคโนโลยีทางการศึกษา

11

ดา้ นบริหารวชิ าการ

1. หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ ดูแล กากับ ติดตาม
กลัน่ กรองอานวยความสะดวก ใหค้ าแนะนา ปรึกษาการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ที ปี่ ฏิบัตงิ านในกลุ่มการบริหารวิชาการ
ตามขอบข่ายและภารกจิ การบริหารวิชาการ ปฏิบัตหิ นา้ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การจดั ระบบบริหารองค์กร การประสานงานและ
ให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรียนสามารถบริหารจัดการและดาเนินการตาม
บทบาทภารกจิ อานาจหนา้ ท่ีด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร ส่ือ อุปกรณ์
ทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีของแต่ละฝ่ายงานเพ่ือให้ฝ่ายบริหารจัดการได้อย่าง
สะดวกคล่องตวั มคี ณุ ภาพและเกดิ ประสทิ ธิภาพ

2. หัวหน้าวิชาการสายช้ัน ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ช่วยหัวหน้ากลุ่มการ
บริหารวิชาการ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของงานบริหารงานวิชาการและหน้าท่ีอ่ืนๆที่หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
มอบหมายปฏบิ ตั ิหน้าทแ่ี ทนในกรณหี ัวหน้าบรหิ ารงานวิชาการไมส่ ามารถปฏบิ ัติหนา้ ท่ีได้

ขอบข่ายงานบรหิ ารวชิ าการ มดี ังนี้
1. การพฒั นาหรือการดาเนินงานเกี่ยวกับการใหค้ วามเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถ่ิน

หน้าทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) วิเคราะหก์ รอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่นที่สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาจดั ทาไว้
2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกาหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย

สถานศึกษาให้ความสาคัญ
3) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพื่อนามาเป็นข้อมูลจัดทาสาระ

การเรียนรูท้ ้องถิ่นของสถานศกึ ษาให้สมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน
4) จดั ทาสาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ ของสถานศึกษาเพ่ือนาไปจัดทารายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพ่ิมเติม

จัดทาคาอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนการสอน
ให้แก่ผูเ้ รยี นประเมินผลและปรบั ปรงุ

5) ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัติ

2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ หนา้ ทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับ ดูแล นิเทศและติดตามเก่ียวกับงาน

วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบ
โอนผลการเรียนการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ทางวิชาการ

2) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ตั ิโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน

12

3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา หนา้ ที่รับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) จัดทาแผนการเรียนรู้ทุกกล่มุ สาระการเรยี นรโู้ ดยความรว่ มมอื ของเครือขา่ ย

สถานศกึ ษา
2) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน

เปน็ สาคญั บรู ณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาคุณธรรมนาความรู้ตาม
หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

3) ใชส้ ื่อการเรยี นการสอนและแหล่งการเรียนรู้
4) จัดกจิ กรรมพฒั นาห้องสมดุ ห้องปฏบิ ัติการตา่ งๆ ให้เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
5) สง่ เสรมิ การวิจยั และพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
6) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียนพิการด้อยโอกาสและมี
ความสามารถพเิ ศษ

4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษา หนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1 จดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาเปน็ ของตนเอง
1.1 จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน

เศรษฐกจิ และสงั คมและเป็นตน้ แบบใหก้ ับโรงเรียนอน่ื
1.2 จัดทาหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ

สติปญั ญา มีความรูแ้ ละคุณธรรม สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมีความสขุ
1.3 จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ

กระทรวงศึกษาธิการ
1.4 เพ่ิมเติมเน้ือหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซึ้งมากขึ้นสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

ไดแ้ ก่ การศกึ ษาการศกึ ษาทางเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร ดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา
การศกึ ษาท่ีสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ผู้บกพรอ่ ง พกิ าร และการศึกษาทางเลอื ก

1.5 เพ่ิมเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน สงั คม และโลก

2) สถานศึกษาสามารถจัดทาหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่นๆให้เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและเครือข่าย
สถานศกึ ษา

3) คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานให้ความเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศึกษา
4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้สานักงานเขต
พน้ื ที่การศกึ ษารบั ทราบ

13

5. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง

ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ

ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
3) จดั กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการ

อ่านและเกดิ การใฝ่รอู้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง
4) จดั การเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรดู้ ้านตา่ งๆ อยา่ งได้สัดส่วนสมดลุ กันรวมทั้งปลูกฝัง

คณุ ธรรม ค่านยิ มที่ดงี านและคุณลกั ษณะอนั พึ่งประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความ

สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ทง้ั นี้ ผูส้ อนและผูเ้ รียนอาจเรยี นร้ไู ปพรอ้ มกนั จากส่ือการเรยี นการสอน และแหลง่ วิทยาการประเภทตา่ งๆ

6) จดั การเรียนรใู้ หเ้ กิดขนึ้ ได้ทกุ เวลาทุกสถานที่มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและบุคคล
ในชุมชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ

6. การวัดผล ประเมินผลและดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน หนา้ ท่รี ับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) กาหนดระเบียบการวัดและประเมนิ ผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยสอดคล้องกับ

นโยบายระดบั ประเทศ
2) จดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบการวดั และประเมินผลของสถานศึกษา
3) วัดผล ประเมนิ ผล เทยี บโอนประสบการณ์ผลการเรียนและอนมุ ตั ิผลการเรยี น
4) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงช้ันและจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีท่ีมีผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์

การประเมนิ
5) จัดให้มีการพัฒนาเครือ่ งมือในการวัดและประเมนิ ผล
6) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพ่ือใช้ในการอ้างอิง

ตรวจสอบและใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาการเรยี นการสอน
7) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการ

เรียนการผ่านช่วงชั้นและจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอานาจของสถานศึกษาท่ีจะแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเพ่ือ

กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพร้อมทั้งให้ผู้บริหาร
สถานศึกษาอนุมตั กิ ารเทียบโอน

14

7. การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา หน้าทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการทางานของนักเรียน ครู

และผ้เู กยี่ วข้องกับการศกึ ษา
2) พฒั นาครูและนักเรียนให้มีความรู้เก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นสาคัญ

ในการเรียนร้ทู ีซ่ ับซ้อนข้นึ ทาให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ การคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา การผสมผสานความรู้
แบบสหวทิ ยาการและการเรยี นรูใ้ นปญั หาที่ตนสนใจ

3) พฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวจิ ัย
4) รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวิจยั เพ่ือการเรยี นรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้
ครนู าผลการวจิ ัยมาใช้ เพื่อพัฒนาการเรยี นร้แู ละพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

8. การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ แี หล่งเรียนรู้ หน้าท่ีรับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) จัดให้มแี หล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพื่อสนับสนุน

การแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองกับการจัดกระบวนการเรียนรู้
2) จดั ระบบแหลง่ การเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นใหเ้ ออื้ ต่อการจดั การเรียนรูข้ องผู้เรยี น เช่น พัฒนาหอ้ งสมดุ หมวดวชิ า
ห้องสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสอื ในหอ้ งเรียน ห้องดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งภาษาอังกฤษ หอ้ ง
พยาบาล ห้องศนู ย์วชิ าการ สวนเกษตรพอเพียง หอ้ งสหกรณโ์ รงเรยี น เป็นต้น

3) จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในท้องถ่ินให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษา
ของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนที่ และระบบการเช่ือมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบันการศึกษา
พพิ ธิ ภณั ฑ์ พพิ ิธภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ฯลฯ

4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ท้ังในและนอกสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้และ
นิเทศ กากับติดตาม ประเมิน และปรับปรุงอยา่ งต่อเนือ่ ง

9. การนเิ ทศการศกึ ษา หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้
1) สร้างความตระหนกั ใหแ้ กค่ รูและผู้เก่ียวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็นกระบวนการ

ทางานร่วมกันที่ใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทางานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การนิเทศเป็น
ส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเช่ือมั่นว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และเกิดประโยชน์สูงสุด
ต่อผู้เรยี นและตัวครูเอง

2) จัดการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพท่วั ถึงและต่อเนื่องเปน็ ระบบและกระบวนการ
3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา

15

10. การแนะแนวการศกึ ษา มหี นา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาท่ีมีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคัญ โดยให้ทุกคนใน

สถานศึกษาตระหนกั ถึงการมีสว่ นร่วมในกระบวนการแนะแนวและการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
2) จัดระบบงานและโครงสรา้ งองค์กรแนะนาและดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
3 สรา้ งความตระหนกั ให้ครทู ุกคนเหน็ คุณคา่ ของการแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเร่ืองจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแลช่วยเหลือ

นกั เรยี นเพอ่ื ให้สามารถ บูรณาการ ในการจัดการเรียนรแู้ ละเช่อื มโยง สู่การดารงชีวิตประจาวนั
5) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม ทาหน้าท่ีครูแนะแนวครูท่ี

ปรกึ ษา ครูประจาชนั้ และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6) ดูแล กากับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง

เป็นระบบ
7) สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และความเข้าใจอันดรี ะหว่างครู ผ้ปู กครองและชมุ ชน
8) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสนสถาน

ชมุ ชน ในลกั ษณะเครือขา่ ยการแนะแนว
9) เชื่อมโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

11. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา มหี นา้ ที่รับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐาน

การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและความตอ้ งการของชุมชน
2) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ โดยจดั โครงสร้างการบรหิ ารท่ีเอื้อต่อการพัฒนางานและการสร้าง

ระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
ปรับปรุงใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั อยูเ่ สมอ

3) จัดทาแผนสถานศึกษาท่ีมงุ่ เน้นคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยทุ ธศาสตร์)
4) ดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาต้องสร้างระบบ
การทางานท่ีเข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรือท่ีรู้จักกันว่า
วงจร PDCA
5) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดาเนินการอย่างจริงจังต่อเน่ืองด้วยการสนับสนุนให้
ครู ผ้ปู กครองและชุมชนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ีกาหนดเพ่ือรองรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก
7) จดั ทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานเสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และเผยแพร่ต่อสาธารณชน

16

12. การสง่ เสริมชุมชนให้มีความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอื่น
2) สง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งของชมุ ชนโดยการจดั กระบวนการเรียนร้ภู ายในชมุ ชน
3) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จักเลือกสรร

ภมู ปิ ัญญาและวทิ ยาการต่างๆ
4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ

แลกเปลยี่ นประสบการณ์ระหว่างชมุ ชน

13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น มีหน้าที่รับผิดชอบ
ปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี

1) ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือเสริมสร้าง
พัฒนาการของนกั เรยี นทกุ ด้านรวมท้ังสืบสานจารีตประเพณศี ลิ ปวฒั นธรรมของท้องถน่ิ

2) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรท้ังภาครัฐ
และเอกชน เพือ่ ให้สถานศกึ ษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชนและมสี ่วนในการพฒั นาชุมชนและทอ้ งถ่ิน

3) ใหบ้ รกิ ารดา้ นวชิ าการทสี่ ามารถเชื่อมโยงหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับแหล่งวิชาการ ใน
ท่อี น่ื ๆ

4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าการประชุม
ผู้ปกครองนักเรยี น การปฏิบัตงิ านรว่ มกบั ชมุ ชน การร่วมกิจกรรมกบั สถานบนั การศึกษาอ่ืนเปน็ ตน้

14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ
และสถาบันอ่ืนท่จี ัดการศกึ ษา มหี นา้ ท่รี ับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังนี้

1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นในเรื่องเกี่ยวกับ
สทิ ธิในการจัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพ่ิมความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร
ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนที่
รว่ มจดั การศึกษา

3) รว่ มกบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กร-เอกชน
องคว์ ชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่นร่วมกันจัดการศึกษาและใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิด
ประโยชนส์ งู สดุ แก่ผเู้ รยี น

4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

17

5) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความช่วยเหลือทางด้าน
วิชาการตามความเหมาะสมและจาเป็น

6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ท้ังด้านคุณภาพและปริมาณเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา มีหน้าที่รับผิดชอบ
ปฏิบตั งิ านดงั นี้

1) ศึกษาและวิเคราะห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ท่ี
เก่ยี วขอ้ งทุกรายรบั รู้และถอื ปฏบิ ัตเิ ป็นแนวเดียวกนั

2) จัดทารา่ งระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ที่เก่ียวข้องทุก
ฝ่ายรบั รแู้ ละถอื ปฏบิ ัติเปน็ แนวเดยี วกนั

3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไขปรับปรุง
4) นาระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษาไปสู่การปฏิบตั ิ
5) ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
และนาไปแก้ไขปรับปรุงใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป

16. การคดั เลือกหนงั สอื แบบเรียนเพอ่ื ใช้ในสถานศึกษา มหี นา้ ที่รบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี
1) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้องกลับ

หลักสูตรสถานศึกษาเพ่อื เป็นหนังสอื แบบเรียนเพ่ือใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
2) จดั ทาหนงั สอื เรยี น หนงั สือเสริมประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ แบบฝกึ หัด ใบงาน

ใบความรู้เพื่อใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
3) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด

ใบงาน ใบความร้เู พือ่ ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน

17. การพฒั นาและใช้ส่อื และเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา มหี นา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี
1) จัดให้มีการร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้

และเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเร่ืองเกี่ยวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพื่อ

การศกึ ษา พรอ้ มทงั้ ให้มีการจัดตงั้ เครือข่ายทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพอื่ เป็นแหล่งเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา
3) พัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการ

ศึกษาที่ใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสริมการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ

4) พฒั นาหอ้ งสมดุ ของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษาและชมุ ชน

18

5) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิตใช้และพัฒนาสื่อและ
เทคโนโลยที างการศึกษา

18. การรับนักเรียน มหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี
1) ให้สถานศึกษาประสานงานการดาเนินการแบ่งเขตพ้ืนที่บริการการศึกษาร่วมกัน และเสนอ

ข้อตกลงใหเ้ ขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาเหน็ ชอบ
2) กาหนดแผนการรับนักเรยี นของสถานศึกษา โดยประสานงานกบั เขตพ้นื ที่การศึกษา
3) ดาเนนิ การรับนกั เรียนตามที่แผนกาหนด
4) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ในการติดตามช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการ

เข้าเรียน
5) ประเมินผลและรายงานผลรบั เด็กเข้าเรยี นใหเ้ ขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาทราบ

19. การจัดทาสามะโนนกั เรียน มหี นา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี ทาง
1) ประสานงานกับชุมชนและทอ้ งถ่นิ ในการสารวจข้อมูล จานวนนักเรียนที่จะเข้ารับบริการ

การศึกษาในเขตบริการของสถานศึกษา
2) จัดทาสามะโนผู้เรยี นท่จี ะเข้ารบั บริการทางการศึกษาของสถานศึกษา
3) จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศจากสามะโนผู้เรยี นให้เขตพื้นท่ีการศกึ ษารับทราบ

20. การทศั นศกึ ษา มหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั นี้
1) วางแผนการนานกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศกึ ษา
2) ดาเนินการนานกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทก่ี าหนด


Click to View FlipBook Version