The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2021-01-28 01:44:13

แบบรายงานผลกลุ่มสนใจวิชาการทำเจลล้างมือ








คำนำ


เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมเพอพฒนาอาชีพ(กลุ่มสนใจ) วิชาการทำเจลล้าง
ื่

มือระหว่างวันที่ 27-28 เมษายน 2563 ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู หมู่ที่ 1 , ศาลาประชาคมบ้านเนิน
ดินแดง หมู่ที่ 2, บ้านหนังสือชุมชนบ้านคลองตะเคียน หมู่ที่ 3 และศาลาประชาคมบ้านเขามดง่าม หมู่ที่

4 ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี จัดทำขึ้นเพอสรุปผลสัมฤทธิ์และเผยแพร่
ื่
ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองใหญ่

กิจกรรมดังกล่าว ดำเนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อย ซึ่งรายละเอียดผลการดำเนินงานต่าง ๆ ตลอดจน

ข้อเสนอแนะได้สรุปไว้ในเล่ม ขอขอบคุณสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธยาศัยจังหวัดชลบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนคำปรึกษาแนะนำ ในกิจกรรมดังกล่าว


รวมทั้งบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอหนองใหญ่ทุกท่าน
ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอำเภอหนองใหญ่หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
เอกสารเล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาหาข้อมูล เพอใช้เป็นแนวทางในการจัด
ื่
กิจกรรมต่อไป




นางโสภิต เลิศธุวานนท์
ครู กศน.ตำบล

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองใหญ่
พฤษภาคม 2563








สารบัญ

คำนำ ...................................................................................................................................... ก

สารบัญ ...................................................................................................................................... ข
บทที่ 1 บทนำ ............................................................................................................................. 1

หลักการและเหตุผล .............................................................................................................. 1

วัตถุประสงค์ ......................................................................................................................... 1
เป้าหมาย .............................................................................................................................. 1

วิธีดำเนินการ ........................................................................................................................ 2

วิชาการทำเจลล้างมือ ........................................................................................................... 2
การดำเนินงาน ...................................................................................................................... 2

ระยะเวลา ............................................................................................................................. 2

งบประมาณ .......................................................................................................................... 2
ผู้รับผิดชอบ .......................................................................................................................... 2

ระยะเวลาการดำเนินโครงการ .............................................................................................. 2

งบประมาณ .......................................................................................................................... 2
ผู้รับผิดชอบโครงการ ............................................................................................................ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ .................................................................................................................... 2

ตัวชี้วัด .................................................................................................................................. 3
ผลประเมิน ........................................................................................................................... 3

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.................................................................................................... 3

บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกี่ยวข้อง ....................................................................... 4
1.เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ COVID-19 จากโรคติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ....................................... 4

2.วิธีการทำเจลล้างมือ ........................................................................................................ 10

3.วิธีการล้างมือ 7 ขั้นตอน .................................................................................................. 14
บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน ............................................................................................................... 17

1.ประสานงานกับภาคีเครือข่าย/สำรวจความต้องการ ........................................................ 17

2. เสนอโครงการ ............................................................................................................... 17
3. ดำเนินการจัดกิจกรรม .................................................................................................... 17
4. การวิเคราะห์ขอมูล/สรุปผลการดำเนินงาน .................................................................... 17









สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................................................. 19

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม.............................................................. 21
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ..................................................................................... 24

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม .......................................... 24

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร .................................................................................... 24
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก .......................................................... 25

อภิปรายผล......................................................................................................................... 25

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม.............................................................. 29
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ..................................................................................... 32

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม .......................................... 32

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร .................................................................................... 32
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก .......................................................... 33

อภิปรายผล......................................................................................................................... 33

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ ........................................ 35
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม.............................................................. 37

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ..................................................................................... 40

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม .......................................... 40
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร .................................................................................... 40

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก .......................................................... 41

อภิปรายผล......................................................................................................................... 41
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ ........................................ 43

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม.............................................................. 45

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา ..................................................................................... 48
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม .......................................... 48

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร .................................................................................... 48

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก .......................................................... 49
อภิปรายผล......................................................................................................................... 49
ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ .............................................................................. 50








สารบัญ (ต่อ)


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ขอเสนอแนะ .................................................................................. 51
การจัดกิจกรรม ................................................................................................................... 51
วัตถุประสงค์ ....................................................................................................................... 51

สรุปผลการดำเนินงาน ........................................................................................................ 51

อภิปรายผล......................................................................................................................... 54

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขบเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา ................................................... 55

ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................... 55
บรรณานุกรม .................................................................................................................................. 56

บทที่ 1

บทนำ



หลักการและเหตุผล

จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้สินค้าประเภท
ทำความสะอาดและกำจัดเชื้อโรคหลายอย่างขาดตลาด รวมถึงเจลล้างมือ และราคาค่อนข้างสูง ทำให้

ประชาชนได้รับความเดือนร้อน กศน.ตำบลคลองพลู จึงได้จัดสอนอาชีพเกี่ยวกับทำเจลล้างมือให้กับ

ื่
ประชาชนตำบลคลองพลู เพอลดรายจ่ายในการดำรงชีวิต และรู้จักวิธีการป้องกันการติดเชื้อโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วัตถุประสงค์

ื่
1.เพอให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง

ื่
3.เพอให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันกับตนเองเพอ
ื่
ช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว

เป้าหมาย

เชิงปริมาณ
ประชาชนตำบลคลองพลู หมู่ที่ 1 จำนวน 7 คน

ประชาชนตำบลคลองพลู หมู่ที่ 2 จำนวน 7 คน

ประชาชนตำบลคลองพลู หมู่ที่ 3 จำนวน 7 คน
ประชาชนตำบลคลองพลู หมู่ที่ 4 จำนวน 7 คน

เชิงคุณภาพ
ประชาชนตำบลคลองพลู มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19) สามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง นำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

กับตนเองเพื่อช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว

2






วิธีดำเนินการ

วิชาการทำเจลล้างมือ

การดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรม 20 เมษายน 2563 4,000 นางโสภิต เลิศธุวานนท ์


2. จัดเตรียมเอกสาร/วัสดุ/อปกรณ์ 22 เมษายน 2563
3. ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษา 27-28 เมษายน 2563
เพื่อพัฒนาอาชีพ วิชาการทำ

เจลล้างมือ 15 พฤษภาคม 2563

4. สรุปรายงานผลการดำเนินงาน


ระยะเวลาการดำเนินโครงการ


กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วชาการทำเจลล้างมอ ดำเนินการวันที่ 27-28

เมษายน 2563 ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู หมู่ที่ 1 , ศาลาประชาคมบ้านเนินดินแดง หมู่ที่ 2,
บ้านหนังสือชุมชนบ้านคลองตะเคียน หมู่ที่ 3 และศาลาประชาคมบ้านเขามดง่าม หมู่ที่ 4

ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี


งบประมาณ

งบรายจ่ายอื่น แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ

ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพ

ชุมชน ค่าใช้จ่ายโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รหัสงบประมาณ 2000234752700015 จำนวนเงิน
4,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้

1. ค่าวัสดุ จำนวน 4,000 บาท

รวมทั้งสิ้น 4,000 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ

นางโสภิต เลิศธุวานนท์


ผลผลิต/ผลลัพธ์

ประชาชนตำบลคลองพลู มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19)

3






ื่
สามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง นำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันกับตนเองเพอ
ช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว


ตัวชี้วัด

เชิงปริมาณ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมายโครงการ
เขิงคุณภาพ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 สามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง และมีความรู้เรื่อง

การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวันกับตนเองเพื่อช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว


ผลประเมิน


1. จากแบบประเมน

2. จากการสังเกต

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนตำบลคลองพลู มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19) สามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง นำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
กับตนเองเพอช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว
ื่

บทที่ 2

เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกี่ยวข้อง


ในการจัดทำรายงานครั้งนี้ ได้ทำการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาจากเอกสารการศึกษาและ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1.เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ COVID-19 จากโรคติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2

2.วิธีการทำเจลล้างมือ

3.วิธีการล้างมือ 7 ขั้นตอน

1.เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ COVID-19 จากโรคติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2

เชื้อไวรัสก่อโรคโคโรนา มีชื่อทางการว่าอะไร?
เชื้อก่อโรคไวรัสโคโรนา มีชื่อชั่วคราวที่ใช้ในตอนแรกคือ 2019-nCoV ชื่อทางการใน

ปัจจุบันคือ SARS-CoV-2 ส่วนชื่อของโรคติดเชื้อชนิดนี้เรียกว่า COVID-19 ย่อมาจาก CO แทน

corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19 แทน 2019 องค์การอนามัยโลกตั้งชื่อแบบนี้เพอ
ื่
มิให้เกิด “รอยมลทิน” กับประเทศ พนที่ ผู้ป่วย ประชาชน และสัตว์ที่เกี่ยวข้องกับจุดกำเนิดและการ
ื้
ระบาดของโรคนี้

เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 มีต้นตอมาจากที่ใด?
การศึกษารหัสพนธุกรรมและการเรียงลำดับของรหัสแต่ละตัวจะบอกถึงต้นตอของเชื้อ

การศึกษาพบว่าเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 มีจานวน 29,903 นิวคลีโอไทด์และพบว่า มีนิวคลีโอไทด์

ที่เหมือนกันถึงร้อยละ 89.1 ของเชื้อ SARS-likecoronaviruses ในค้างคำวที่เคยพบในประเทศจีน
จึงจัดให้เชื้ออยู่ในจีนัสBetacoronavirus,ซับจีนัสSarbecovirusและเป็นสมาชิกลำดับที่ 7 ของ


Coronaviridaeที่กอโรคในคน ปัจจุบัน ทราบว่าต้นตอมาจากเชื้อไวรัสโคโรนาในค้างคำวและเกิดการ


กลายพนธุ์ ทำให้ได้เชื้อไวรัส SARS-CoV-2เพยงแต่ไม่แน่ชัดว่า การกลายพนธุ์และการแพร่กระจาย

ื่
เกิดในสัตว์อน(intermediatehost)ก่อนมาสู่คนหรือไม่? มีการศึกษายีนของเชื้อชนิดนี้ในตัวตัวลิ่น
(หรือตัวนิ่ม) พบว่า มีรหัสพนธุกรรมเหมือนกับ SARS-CoV-2 ถึงร้อยละ 99 และตัวลิ่นเป็นสัตว์มีแกน

สันหลังและเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วย ดังนั้น ตัวลิ่นอาจจะเป็น intermediate host ก่อนแพร่เชื้อ
สู่คน หรือว่า เกิดการกลายพนธุ์ในค้างคำวแล้วกระจายมาสู่คนเลย (ค้างคำวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ส่วนนกเป็นสัตว์ปีก แต่ทั้งคู่มีเชื้อไวรัสโคโรนาอยู่ในตัวได้)

5






ื่
ื่

เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์อน มสัตวอน(intermediate host) เป็นตัวแพร่เชื้อสู่คน


หรือไม?

เชื้อ SARS-CoVที่ก่อโรค SARS ในประเทศจีนในปี พ.ศ. 2546 มีอเห็นหรือชะมด(palm
civet) เป็น intermediate host และเชื้อ MERS-CoVที่ก่อโรค MERSในประเทศซาอดิอารเบียในปี

พ.ศ. 2555 มีอูฐเป็น intermediate host

เชื้อโรคชนิดนี้แพร่กระจายโดยวิธีใด?

การก่อโรคในทางเดินหายใจต้องมีการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ(airborne)สัตว์ที่แพร่
เชื้อต้องร้องพนสิ่งคัดหลั่งออกมาทางปาก หรือผู้ป่วยต้องไอ ไอมีเสมหะ ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจึงสูดดมเชื้อใน

อากาศผ่านทางฝอยละอองขนาดใหญ่(droplet) และฝอยละอองขนาดเล็ก (เล็กกว่า 5 ไมครอน
เรียกว่า aerosol)เข้าไปในทางเดินหายใจ ถ้าใครอยู่ใกล้ผู้ป่วยในระยะ 1-2 เมตรจะติดเชื้อจากการ

สูดฝอยละอองขนาดใหญ่และฝอยละอองขนาดเล็กจากการไอจามรดกันโดยตรง ถ้าอยู่ห่างจากผู้ป่วย

2 เมตรขึ้นไป จะติดเชื้อจากการสูดฝอยละอองขนาดเล็ก การแพร่ทั้งสองวิธีมีการป้องกันที่มี
ประสิทธิภาพแตกต่ำงกัน ส่วนการแพร่เชื้อโดยการสัมผัส เช่น การจับมือกันหรือมือจับของใช้

สาธารณะร่วมกัน แล้วมาแคะจมูกหรือเช็ดตาตนเองแล้วติดเชื้อ พบได้น้อยมาก การแพร่ทางอจจาระ


อาจจะเป็นไปได้เพราะเชื้อออกมาทางอจจาระได้ด้วย แต่การแพร่เชื้อวิธีนี้จะต้องมีการทำให้น้าล้าง
ื่
อุจจาระกระเด็นเป็นฝอยละอองเพอให้ผู้อนสูดดมเขาไปในหลอดลมด้วย (เป็นวิธีการแพร่กระจายของ

ื่
เชื้อ SARS-CoVในปี 2546 ในโรงแรมที่ฮ่องกง)

ผู้ที่มาจากดงระบาดของโรค COVID-19 และไมมอาการใด ๆ สามารถแพร่เชื้อ


ได้ไหม?
ู่
ั่
การตรวจผู้ที่อพยพจากเมืองอฮนมายังประเทศเยอรมนีโดยเครื่องบินจานวน 126 ราย
พบว่า มี 2 รายที่ไม่มีอาการใด ๆ (ทั้งที่ไม่มีอาการจริง ๆ หรือไม่รู้ตัวว่ามีอาการเพราะมีอาการน้อย
มาก)และให้ผลบวกกับการตรวจหารหัสพนธุกรรมของเชื้อ SARS-CoV-2 และการเพาะเชื้อในเซลล์

Caco-2 cells ของคน ดังนั้น 2 รายนี้ที่ไม่มีอาการใด ๆ ยังมีเชื้อไวรัสเป็น ๆ ในคอหอยที่แพร่เชื้อได้
ถ้ามีการไอ จาม เกิดขึ้น


ใครคือผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ?

บุคลากรทางการแพทย์และผู้ที่สัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยโดยเฉพาะในระยะที่ยังไม่

ทราบว่าป่วยเป็นโรคนี้ การเข้าไปในที่ชุมชนแออดที่อาจจะมีผู้ป่วยปะปนอยู่ด้วย ผู้ที่เดินทางมาจาก

ดินแดนที่มีการระบาดของโรค COVID-19 อย่างมากเช่นที่ประเทศจีนตอนใต้ สิงคโปร์ หรือญี่ปุ่น ผู้ที่


ไม่สวมหน้ากากอนามัยเมื่อไปดูแลผู้ป่วยที่มีอาการไอ ไข้ ในบ้านตนเองหรือสำนักงาน

6






ระยะฟักตัวของโรค COVID-19 คือกี่วัน?
ข้อมูลจากผู้ป่วย 1,099 รายในโรงพยาบาล 522 แห่งพบว่า ระยะฟักตัวของโรคโดยทั่วไป


คือภายใน 14 วัน แต่มีช่วงเวลาระหว่าง 0 ถึง 24 วัน ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยทั่วไปมีระยะฟกตัว 3 วัน

ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยหนักจะมีระยะฟกตัวเท่ากับ 2 วันเท่านั้น มีเพยง 14 รายจาก 1,099 รายหรือ


ร้อยละ 1.27 เท่านั้นที่มีระยะฟกตัวระหว่าง 15-24 วัน และมีรายเดียวที่มีระยะฟกตัว 24 วัน ดังนั้น

ผู้ป่วยร้อยละ 98 ขึ้นไป จะมีอาการภายใน 14 วันและส่วนมากมีอาการระหว่าง 3 ถึง 7 วัน

เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 เข้าไปในเซลล์มนุษย์และก่อโรคได้อย่างไร?
เชื้อไวรัสต้องเข้าไปแบ่งตัวและเจริญเติบโตในเซลล์มนุษย์ เช่น เซลล์ของเยื่อบุหลอดลม

จึงจะก่อโรคได้ เชื้อใช้ผิวเซลล์ของไวรัสจับกับ angiotensin converting enzyme II ที่ผิวเซลล์

ิ่
มนุษย์เพอเข้าไปเจริญเติบโตและเพมจานวนเชื้อในเซลล์มนุษย์ แล้วเซลล์มนุษย์ที่ติดเชื้อจะเพมจาน
ื่
ิ่
วนและปล่อยเชื้อไวรัสออกมานอกเซลล์เพื่อไปก่อโรคในเซลล์ข้างเคียงต่อไป การที่เชื้อเพิ่มจานวนมาก

ขึ้นและเข้าไปในเซลล์ข้างเคียงอกหลายรอบ จะทำลายเซลล์มนุษย์ในหลอดลมและปอด ทำให้ปอด
อกเสบและการหายใจล้มเหลวในที่สุดหากระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ไม่สามารถทำลายหรือควบคุม

เชื้อให้ทันกาล


ทำไมพยาธิสภาพในเนื้อปอดของผู้ตายจากโรค COVID-19 จึงมีผังพืดมาก?

โรค COVID-19 ก่อโรคได้รุนแรงในผู้สูงวัย(อายุเกิน 60ปีขึ้นไป)เพราะระบบภูมิคุ้มกันที่

ติดตัวมาแต่กาเนิดตามธรรมชาติเสื่อมไปตามวัยทำให้ไม่สามารถยับยั้งการเพมจานวนของเชื้อไวรัส
ิ่
SARS-CoV-2 ในเซลล์ที่หลอดลมและถุงลมในเนื้อปอดได้ทันกาล ทำให้เซลล์ที่ติดเชื้อจานวนมากตาย

และทดแทนด้วยผังพดในเวลา ๒-๓ สัปดาห์หลังการเจ็บป่วย ทำให้การหายใจล้มเหลวและผู้ป่วยถึง

แกกรรมในที่สุด



อัตราการตายต่อรายป่วยของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสูงมากไหม?
การติดเชื้อไวรัสโคโรนากลุ่มนี้ มีอัตราการตาย (case fatality rate) แตกต่ำงกันดังนี้

ผู้ป่วยโรคติดเชื้อ SARS-CoVมีอัตราตายร้อยละ 9.5

ผู้ป่วยโรคติดเชื้อ MERS-CoVมีอัตราตายร้อยละ 34.4
ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 มีอัตราตายเฉลี่ยร้อยละ 2.67

(ข้อมูลจาก SCMPณ วันที่ 19 กุมภาพนธ์ 2563) ที่น่าสนใจคือ อตราตายในประเทศจีน



คิดเป็นร้อยละ 2.70 (ตาย 2,004 รายจาก 74,185 ราย) อตราตายนอกประเทศจีนคิดเป็นร้อยละ
0.49 เท่านั้น (ตาย 5 รายจาก 1,012 รายและคนที่ตายยังมีบางคนเป็นคนจีนที่ออกมาจากพื้นที่ที่เป็น

7






ดงระบาด) อัตราตายนอกประเทศจีนจึงน้อยกว่าถึง 5.4 เท่า ผู้ที่ติดเชื้อนอกดงระบาด(นอกประเทศ
จีน)อาจจะได้รับเชื้อจำนวนน้อยกว่า ก็ได้


ผู้ที่ติดเชื้อมีอาการอะไรบ้าง?

ผู้ที่ติดเชื้อบางรายไม่แสดงอาการ บางรายมีอาการไอ บางรายมีไข้และไอมีเสมหะ บาง

รายโดยเฉพาะผู้สูงวัยมีไข้และหายใจเร็ว หอบ จากปอดบวม มีน้อยรายที่มีอาการเจ็บคอ น้ำมูกไหล
หรืออุจจาระร่วง เมื่อป่วยรุนแรง จะหายใจเร็ว หอบ จนถึงการหายใจล้มเหลวและช็อคได้


การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาผู้ติดเชื้อ ทำได้อย่างไรบ้าง?



การตรวจหารหัสพนธุกรรมของเชื้อ สามารถตรวจพบได้จากสิ่งคัดหลั่งในทางเดินหายใจ
เลือด อจจาระและปัสสาวะ แต่ไม่ได้หมายความว่าจานวนเชื้อที่ตรวจพบเป็นเชื้อที่มีชีวิตทั้งหมด

หรือไม่? วิธีนี้ใช้เป็นวิธีมาตรฐานในการวินิจฉัยการติดเชื้อในขณะนี้

การเพาะเชื้อโดยใช้เซลล์ชนิดต่ำง ๆ วิธีนี้มีข้อดีคือแสดงว่า เชื้อยังมีชีวิตและสามารถ

แบ่งตัวได้ แต่จะทราบผลการตรวจช้ากว่าและทำการตรวจยากกว่า เซลล์ที่ใช้เพาะเลี้ยงเชื้อไวรัส
SARS-CoV-2 จะเป็นเซลล์จากหลอดลม ไต หรือตับดังมีชื่อว่า human airway epithelial cell,

Vero E6 (จาก kidney epithelial cells) และ Huh-7 (จากตับ) และ Caco-2 cell (จากเยื่อบุลาไส้

ใหญ่ชนิด adenocarcinoma cell)

การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาผู้ติดเชื้อ ทำได้อย่างไรบ้าง (ต่อ) ?
ส่วนการตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM จากเลือดต่อเชื้อชนิดนี้ด้วยวิธี ICTจะใช้ได้เมื่อ


ผู้ป่วยเริ่มแสดงอาการของโรคแล้วเท่านั้น การตรวจจะให้ผลลบลวงได้ในผู้ที่อยู่ในระยะฟกตัวของโรค
หรือผู้ที่ไม่แสดงอาการใด ๆ

ต่อไปจะพฒนาจนมีการตรวจหาระดับแอนติบอดีชนิด IgG 2 ครั้ง จากน้าเหลืองเพอ
ื่
แสดงถึงการติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2

ยาที่ใช้รักษาโรค COVID-19 มีแล้วหรือยัง?

ยังไม่มียามาตรฐานที่รับรองว่าใช้ได้ผลดีแล้วในขณะนี้ ยาที่ใช้และปรากฏในข่าว
อยู่ในขณะนี้ถือว่าเป็นยาทดลองใช้เท่านั้น มีทั้งยาต้านไวรัส remdesivir, chloroquine,


lopinavir+ritonavir, interferon ชนิดพน, ยาอน ๆ อก เช่น losartan, แอนติบอดีชนิด monoclonal,

ื่
น้ำเหลืองของผู้ป่วยที่หายจากโรคนี้ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ในประเทศจีน น่าจะเป็นผู้ที่
ประกาศและให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือพร้อมกับวารสารทางการแพทย์ชั้นนำว่า ยาขนานใดใช้ได้ผลและ

ปลอดภัยภายในเดือนมีนำคมถึงเดือนพฤษภาคม ปีน

8






การสวมใส่หน้ากากอนามัยในบ้านและในที่ชุมชน มีหลักการอย่างไร?
ื้
การสวมหน้ากากอนามัยใช้หลักการว่า ท่านอยู่ในกลุ่มใดใน 4 กลุ่มและใช้ได้ในพนที่
ประเทศไทยที่ยังไม่ได้จัดเป็นดงระบาดของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2
1. ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีไข้หรือไอ เป็นโรคติดเชื้อในปอดและหลอดลม (มีอาการไอ) หรือ

ผู้สัมผัสผู้ป่วยแล้วคล้ายกับว่าจะป่วย ไอ

สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาและจำกัดตนเองให้อยู่แต่ในบ้าน ให้ไปตรวจหา
เชื้อที่เป็นสาเหตุที่โรงพยาบาล


2. ผู้สัมผัสผู้ป่วยหรือสงสัยว่าตนเองสัมผัสใกล้ชิด แต่ไม่มอาการใด ๆ
ให้สวมหน้ากากอนามัยและจำกัดตนเองให้อยู่แต่ในบ้านไว้ก่อน หากออกนอกบ้าน


ื่
และไปสัมผัสผู้อน ให้สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา จนหมดระยะเวลาฟกตัวของโรคคือ 14 วัน
ในขณะนี้

3. ผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปีหรือมีโรคประจาตัวคือ โรคปอด หลอดลมอดกั้นเรื้อรัง หรือ
มีภูมิคุ้มกันต่ำจากการได้รับยาเคมีบาบัดหรือยากดภูมิคมกัน
ุ้
ไม่ต้องสวมหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในบ้าน หากออกนอกบ้านและไปสัมผัสผู้อน
ื่
ควรสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลา โดยเฉพาะเวลาเข้าไปอยู่ในที่ชุมชน ห้างสรรพสินค้าที่มีลูกค้ามาก

ในรถโดยสารและรถไฟฟ้าที่มีผู้โดยสารแออัด

4. ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 60 ปีและไม่มีโรคประจาตัว แข็งแรงดีไม่ต้องสวมหน้ากาก
อนามัย


ประสิทธิภาพของหน้ากากอนามัยในการป้องกันการติดเชื้อทางอากาศ เป็นอย่างไร?

ผู้ป่วยหรือผู้ต้องสงสัยว่า อาจจะติดเชื้อที่ใส่หน้ากากอนามัยสามารถลดการแพร่กระจาย
ของฝอยละอองขนาดใหญ่และขนาดเล็กได้ถึงร้อยละ 80 ขึ้นไป จึงต้องสวมใส่ให้กระชับติดใบหน้าเมื่อ

ผู้ต้องสงสัยว่าติดเชื้อจะเข้าไปเข้าในห้องเรียน ห้องทางาน ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ โรงแรม

รถโดยสาร ในห้องปรับอากาศ (ที่จริงควรหลีกเลี่ยงการแพร่เชื้อโดยไม่เข้าไปในสถานที่เหล่านี้)


ประชาชนทั่วไปที่สวมหน้ากากอนามัยจะป้องกนการติดเชื้อจากฝอยละอองขนาดใหญ่ได้ดี แต่ป้องกน
การติดเชื้อจากฝอยละอองขนาดเล็กไม่เต็มที่ ผู้ที่สูงวัย มีโรคปอดหรือโรคประจาตัวและต้องออกไปสู่

ชุมชน จึงควรพจารณาสวมหน้ากากอนามัยชนิด N-95 จึงจะป้องกันฝอยละอองที่ติดเชื้อได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ


การป้องกันการติดเชื้อวิธีอื่น ๆ มีอีกไหม?

ื่
แนะนำการอยู่ห่างจากผู้ป่วยหรือผู้ที่มีอาการไออย่างน้อย 2เมตรเพอป้องกันการติดเชื้อจากการสูด
ฝอยละอองขนาดใหญ่ การสวมหน้ากากอนามัยแบบทั่วไปจะป้องกันการติดเชื้อจากฝอยละอองขนาด

9






ื่
ใหญ่ได้ดี จึงควรสวมเมื่อเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับผู้อนเช่น บนรถโดยสาร การล้างมือหลังการจับหรือใช้ของ
สาธารณะร่วมกัน แนะนำใช้ แอลกอฮอลเจ หรือล้างด้วยสบู่นาน 20 วินาที การไม่ใช้มือขยี้ตา

หรือแคะจมูกก่อนที่จะไปล้างมือ การอยู่ต้นลม การหลีกเลี่ยงเข้าไปในที่ชุมนุม การกินของร้อน
ใช้ช้อนกลาง ยังเป็นวิธีพื้นฐานสาหรับการป้องกันโรคติดเชื้ออื่น ๆ ด้วย

ี่
คำแนะนำที่จะให้แก่คนขับรถแท็กซี่หรือรถสาธารณะทรับผู้โดยสารจากสนามบินหรือ
ด่านเข้าเมือง มีให้พิจารณาอย่างไรบ้าง?


เริ่มจาก ให้เตรียมแอลกอฮอลเจลเช็ดมือ หน้ากากอนามัยจานวนเพยงพอให้แก่ตนเอง
และผู้โดยสาร ถ้าทำได้จัดการเรื่องการระบายอากาศภายในรถ แยกการไหลเวียนของอากาศในส่วน

ของตนและผู้โดยสาร และหาเครื่องกรองอากาศและทำลายเชื้อในอากาศติดตัวไว้ในรถ ให้เช็ดทำ

ความสะอาดภายในรถ(ที่นั่งและประตูด้านใน)ด้วยน้ำยาทำลายเชื้อ povidone iodine หรือแอลกอ

ฮอลในส่วนที่นั่งและตรงราวประตูส่วนที่มือของผู้โดยสารจะไปจับ

ี่
คำแนะนำที่จะให้แก่คนขับรถแท็กซี่หรือรถสาธารณะทรับผู้โดยสารจากสนามบินหรือ
ด่านเข้าเมือง มีให้พิจารณาอย่างไรบ้าง?
เมื่อจะรับผู้โดยสารขึ้นรถ ให้สอบถามก่อนว่า มาจากประเทศใด หากมาจากประเทศจีน

ญี่ปุ่น สิงคโปร์ต้องเข้มงวดในการให้ข้อมูล ให้สอบถามว่า มีผู้ใดมีไข้ ไอ เจ็บคอ หากมีผู้โดยสาร

ดังกล่าว แนะนำให้คุยกับผู้โดยสารเพอส่งไปรักษาตัวที่โรงพยาบาล ส่วนผู้โดยสารท่านอนที่ไม่มีไข้ ไอ
ื่
ื่
ให้แจกหน้ากากอนามัยเพื่อสวมใส่และตนเองก็สวมใส่หน้ากากอนามัยด้วย ให้ผู้โดยสารเช็ดมือด้วยแอ
ลกอออลเจลก่อนขึ้นรถ หากอากาศไม่ร้อนและผู้โดยสารยินยอม อาจจะเปิดหน้าต่างระบายลมในส่วน

ห้องผู้โดยสาร แล้วเชิญผู้โดยสารขึ้นรถ เมื่อถึงจุดหมายปลายทาง ก็รับหน้ากากอนามัยจากผู้โดยสาร
เพอนำไปทำลายต่อไป ให้ผู้โดยสารเช็ดมือด้วยแอลกอฮอลเจลอกครั้ง เมื่อผู้โดยสารลงจากรถ ให้ทำ
ื่


ความสะอาดภายในรถและประตูด้านในทันทีและรอให้แห้งสัก 5นำทีกอนจะไปรับผู้โดยสารรายต่อไป
แล้วล้างมือตนเองหรือเช็ดมือด้วยแอลกอฮอลเจลเป็นขั้นตอนสุดท้าย

วัคซีนป้องกันโรค COVID-19 จะมีให้ประชาชนได้ใช้เมื่อไร?
ถึงแม้จะมีเทคโนโลยีรองรับในการผลิตวัคซีนอยู่แล้ว แต่การผลิตวัคซีนป้องกันโรค

COVID-19จะต้องมีขั้นตอนเพอตรวจสอบว่า ป้องกันการติดเชื้อได้จริงและใช้ได้อย่างปลอดภัยใน
ื่
มนุษย์ คาดว่า จะผลิตและการทดสอบจนผ่านการรับรองให้ใช้ได้ทั่วไปอย่างเร็วที่สุดในปี พ.ศ 2564

10






ื่

มาตรการอน ๆ ในการป้องกันการติดเชื้อ ที่ยังอยู่ในขั้นทดลองหรือมค่าใช้จ่ายสูง ยังม ี
ไหม?
นอกจากหน้ากากอนามัยแล้ว อาจจะทำลายเชื้อไวรัสในช่องปากกอนจะขึ้นรถโดยสารรถ

ร่วมกัน โดยเตรียมน้ายาอมกลั้วคอและช่องปากที่มี povidoneiodine (PVP-I)ร้อยละ 7ไว้ในรถด้วย
(ในเมืองไทย มีสินค้าขายเป็นน้ายาเบตาดีน การ์เกิลบ้วนปาก ปริมาณ 30มล. มี PVP-I70มก.ต่อ มล.

หรือใช้แบบ "เบตาดีน(R)โทรตสเปรย์ คือพนใส่ช่องปากให้เลยซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกมากในการนำมาใช้

มีคำแนะนำว่า หากจะใช้ป้องกันการติดเชื้อไวรัส แนะนำให้พนช่องปากทุกวัน ๆ ละครั้งก่อนจะออก

จากบ้านไปยังที่มีฝูงชนหนำแน่นและให้สวมหน้ากากอนามัยด้วย) การใช้เครื่องกรองและทำลายเชื้อ

ไวรัสในอากาศในห้องที่ทางาน ในสถานที่ที่เป็นที่ชุมนุมชน ในห้องประชุม เป็นต้น เพอลดทั้งฝอย
ื่
ละอองขนาดเล็กที่มีเชื้อโรคและ PM2.5ในอากาศด้วย



2.วิธีการทำเจลล้างมือ

สูตรที่ 1

สูตรเจลล้างมือแอลกอฮอล์จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสูตรนี้จะได้เจลล้างมือ
ปริมาณ 500 กรัม ส่วนผสมและวิธีทำ ดังนี้

อุปกรณ์

1. เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ประมาณ 2 ใน 3 ส่วน หรือ 370 มิลลิลิตร
2. น้ำต้มสุก 1 ใน 3 ส่วน หรือประมาณ 125.5 มิลลิลิตร

3. กลีเซอรีน 2.5 มิลลิลิตร

4. คาร์โบพอล 940 ประมาณ 1 กรัม
5. ไตรเอทาโนลามีน 1 กรัม



วิธีทำ
1. ละลายผงคาร์โบพอลในน้ำต้มสุก คนจนเข้ากันดี จากนั้นตั้งพักไว้ ให้สาร

พองตัวเต็มที่

2. ค่อย ๆ เติมส่วนประกอบที่เหลือ โดยเริ่มจากแอลกอฮอล์ก่อน แล้วคน
ทุกอย่างให้เข้ากันดี

3. นำเจลล้างมือบรรจุลงในภาชนะที่สะอาด แห้ง จากนั้นปิดฝาให้สนิท

11






ทั้งนี้ คนที่หาซื้อเคมีภัณฑ์ไม่ได้ สามารถใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ประมาณ 2 ใน 3
ส่วน ผสมกับน้ำต้มสุก 1 ใน 3 ส่วน ให้เข้ากัน แล้วใช้เป็นน้ำยาฆ่าเชื้อสำหรับทำความสะอาดมือก็ได้


เช่นกัน
สูตรที่ 2
อุปกรณ์

1. เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ปริมาณ 68 กรัม

2. น้ำสะอาด 28 กรัม
3. กลีเซอรีน 4 กรัม

4. คาร์โบพอล 0.4 กรัม

5. ด่างไตรเอทาโนลามีน ปริมาณ 2 หยด

วิธีทำ

1. เทน้ำสะอาดลงในภาชนะผสม แล้วค่อย ๆ โรยผงคาร์โบพอลลงไป

ละลายในน้ำทีละน้อย จนหมด
2. เทกลีเซอรีนลงไปผสม คนให้เข้ากัน

3. เติมแอลกอฮอล์ลงไปผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน

ื่
4. เติมด่างไตรเอทาโนลามีนเพอปรับความหนืดของเนื้อเจล โดยค่อย ๆ คน

ส่วนผสมทุกอย่างอย่างช้า ๆ จนเข้ากนดี
5. บรรจุแอลกอฮอล์เจลลงในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท แล้วนำไปใช้ได้ทันท ี


สูตรที่ 3

อุปกรณ์

1. เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ปริมาณ 340 กรัม
2. น้ำสะอาด 140 กรัม

3. โพรไพลีน ไกลคอล 20 กรัม

4. คาร์โบพอล 2 กรัม
5. ด่างไตรเอทาโนลามีน ปริมาณ 10 หยด

วิธีทำ

1. เทน้ำสะอาดลงในภาชนะผสม
2. เติมผงคาร์โบพอล 2 กรัม ลงไป

3. เติมโพรไพลีน ไกลคอลลงไป ผสมให้เป็นเนื้อเดียวกัน

4. เทแอลกอฮอล์ลงไปผสม คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน

12






5. เติมไตรเอทาโนลามีน 10 หยด เพื่อปรับความหนืดของเจล จากนั้นคน
ให้ทุกอย่างเข้ากันดี จนได้เนื้อเจ

6. บรรจุเจลล้างมือแอลกอฮอล์ลงในขวดที่เตรียมไว้ ปิดฝาให้สนิท แล้วใช้ได้

ทันที


สูตรที่ 4

อุปกรณ์
1. เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ปริมาณ 833.3 มิลลิลิตร

2. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้น 3% ปริมาณ 41.7 มิลลิลิตร

3. กลีเซอรีน 14.5 มิลลิลิตร
4. น้ำต้มสุก

5. ภาชนะความจุ 1,000 มิลลิลิตร

วิธีทำ
1. เทเอทิลแอลกอฮอล์ลงในภาชนะบรรจุ 1,000 มิลลิลิตร

2. เทไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ตามลงไป

3. เติมกลีเซอรีนลงไป
4. เทน้ำต้มสุกที่เย็นแล้วตามลงไป จนเต็มปริมาณ 1,000 มิลลิลิตร

5. คนส่วนผสมทุกอย่างให้เข้ากันดี

6. บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ที่เตรียมไว้


สูตรที่ 5

อุปกรณ์
1. ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ 75% ปริมาณ 751.5 มิลลิลิตร

2. ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้น 3% ปริมาณ 41.7 มิลลิลิตร

3. กลีเซอรีน 14.5 มิลลิลิตร
4. น้ำต้มสุก

5. ภาชนะความจุ 1,000 มิลลิลิตร


วิธีทำ

1. เทแอลกอฮอล์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และกลีเซอรีน ลงในภาชนะ
บรรจุ 1,000 มิลลิลิตร

13






2. เติมน้ำต้มสุกที่เย็นแล้วตามลงไปจนเต็มปริมาณ 1,000 มิลลิลิตร
3. คนทุกอย่างให้เข้ากันดี

4. บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ที่เตรียมไว้



*ข้อควรระวัง
หลังจากทำเจลล้างมือเสร็จแล้ว ให้ถูมือไป-มาจนกว่าแอลกอฮอล์จะแห้งไปจนหมด

พยายามหลีกเลี่ยงประกายไฟในกรณีที่แอลกอฮอล์ตามตัวยังระเหยไม่หมด และอย่าเป่ามือที่ยังมี

แอลกอฮอล์บนผิวกับเครื่อง Hand Dryer ในห้องน้ำเด็ดขาด เพราะแอลกอฮอล์อาจเป็นเชื้อเพลิงที่ก่อ
ประกายไฟได้นะคะ

นอกจากนี้ก็ควรใช้เจลล้างมือแอลกอฮอล์ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ทำ เพราะหลังจาก

30 วัน ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อของแอลกอฮอล์อาจจะลดลง จนทำให้ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ
โรคลดน้อยลงไปด้วย

14






3.วิธีการล้างมือ 7 ขั้นตอน
การล้างมือแบบเอามือผ่านน้ำใครๆ ก็ทำได้ แต่คุณรู้ไหมว่าการล้างมือให้สะอาดหมดจด

จนปราศจากเชื้อโรคได้นั้น ต้องทำตามวิธีที่ถูกต้อง 7 ขั้นตอนต่อไปนี้

1. ฝ่ามือถูฝ่ามือ เริ่มต้นการล้างมือง่ายๆ ด้วยการถูสบู่ขึ้นมาเล็กน้อยพอขึ้นฟอง

ก่อนนำฝ่ามือทั้งสองข้างประกบกนและถูให้ทั่ว จนรู้สึกสะอาด
2. ฝ่ามือถูหลังมือ ปาดฟองสบู่มาที่หลังมือ แล้วล้างมือต่อโดยการใช้ฝ่ามือถูหลัง

มือและซอกนิ้วให้สะอาด จากนั้นสลับข้าง วิธีนี้จะทำให้ฆ่าเชื้อโรคบริเวณหลังมือที่เรามักลืมกันไป
3. ประกบฝ่ามือถูซอกนิ้ว พลิกมือกลับมาประกบกัน ก่อนจะล้างมือให้สะอาดด้วย

การถูซอกนิ้วด้วยสบู่ให้สะอาดหมดจด

4. ฝ่ามือขัดหลังนิ้ว กำกำปั้นข้างหนึ่งขึ้นล้างมือต่อ โดยใช้ฝ่ามืออกข้างหนึ่งขัด

บริเวณหลังนิ้ว สลับข้างทำแบบเดียวกันจนรู้สึกว่ามือสะอาด

5. ถูนิ้วหัวแม่โป้ง กางนิ้วหัวแม่โป้งก่อนใช้ฝ่ามืออีกข้างกำรอบแล้วหมุนวนด้วย

ฟองสบู่เป็นวงกลม ทำให้สะอาดทั้งสองด้าน
6. ขัดฝ่ามือด้วยปลายนิ้ว แบมือข้างหนึ่ง แล้วใช้ปลายนิ้วมืออีกข้างขัดฟองสบู่ตาม

แนวขวางจนทั่ว แล้วสลับข้างทำวิธีเดียวกัน

7. ถูรอบข้อมือ กำมือรอบข้อมือข้างหนึ่ง แล้วถูวนไปรอบๆ จากนั้นเปลี่ยนข้าง ทำ
เช่นเดียวกัน วิธีนี้จะช่วยให้ข้อมือสะอาด

15

16

บทที่ 3

วิธีดำเนินงาน





ื่


การจัดกิจกรรมการศึกษาเพอพฒนาอาชีพ วชาการทำเจลล้างมอ ระหว่างวันที่ 27-28
เมษายน 2563 ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู หมู่ที่ 1 , ศาลาประชาคมบ้านเนินดินแดง หมู่ที่ 2,
บ้านหนังสือชุมชนบ้านคลองตะเคียน หมู่ที่ 3 และศาลาประชาคมบ้านเขามดง่าม หมู่ที่ 4
ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี

มีขั้นตอนดังนี้

1. ประสานงานกับภาคีเครือข่าย/สำรวจความต้องการ
2. เสนอโครงการ

3. ดำเนินการจัดกิจกรรม

4. การวิเคราะห์ข้อมูล/สรุปผลการดำเนินงาน

1.ประสานงานกับภาคีเครือข่าย/สำรวจความต้องการ


กศน.ตำบลคลองพลู ได้ดำเนินการประสานผู้นำชุมชนและผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพอเข้าร่วม
ื่
กิจกรรม


2. เสนอโครงการ

โดยดำเนินการขออนุมัติการจัดกิจกรรมการศกษาเพื่อพฒนาอาชีพ วิชาการทำเจล


ล้างมือ
3. ดำเนินการจัดกิจกรรม




กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ วชาการทำเจลล้างมอ ระหว่างวันที่ 27-28
เมษายน 2563 ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู หมู่ 1 , ศาลาประชาคมบ้านเนินดินแดง หมู่ 2,
บ้านหนังสือชุมชนบ้านคลองตะเคียน หมู่ 3 และศาลาประชาคมบ้านเขามดง่าม หมู่ที่ 4

ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้เข้าร่วมกจกรรม จำนวน 28 คน


4. การวิเคราะห์ข้อมูล/สรุปผลการดำเนินงาน

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละ ในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัด
ความสำเร็จของโครงการตามแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อ แล้วนำไปแปรความหมายตามค่า

ระดับเกณฑ์

18






เกณฑ์การประเมิน
ค่าสถิติน้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับปรุง

ค่าสถิติร้อยละ 50-74 พอใช้

ค่าสถิติร้อยละ 75-84 ดี
ค่าสถิติร้อยละ 85 ขึ้นไป ดีมาก

การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละ ในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัด

ความสำเร็จของโครงการตามแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อ แล้วนำไปแปรความหมายตามค่า
ระดับเกณฑกำหนดค่าลำดับความสำคัญของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้

มากที่สุด ให้คะแนน 5

มาก ให้คะแนน 4
ปานกลาง ให้คะแนน 3

น้อย ให้คะแนน 2

น้อยที่สุด ให้คะแนน 1

ในการแปลผล ผู้จัดทำได้ใช้เกณฑ์การพจารณาจากคะแนนเฉลี่ยตามแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด
และบุญส่ง นิลแก้ว (2535, หน้า 22-25)

4.51-5.00 หมายความว่า ดีมาก
3.51-4.50 หมายความว่า ดี

2.50-3.50 หมายความว่า ปานกลาง

1.50-2.50 หมายความว่า น้อย
1.00-1.50 หมายความว่า ต้องปรับปรุง

ผู้เข้าร่วมโครงการจะต้องกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพื่อนำไปใช้ในการประเมินผลของการจัด

กิจกรรมดังกล่าว และจะได้นำไปเป็นข้อมูล ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจัดทำแผนการ
ดำเนินการในปีต่อไป

บทที่ 4


ผลการวิเคราะห์ข้อมูล






ื่
การจัดกิจกรรมการศึกษาเพอพฒนาอาชีพ กลุ่มสนใจ วิชาการทำเจลล้างมือ เพอให้

ื่
ประชาชนตำบลคลองพลู มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ื่
สามารถทำเจลล้างมือได้ด้วยตนเอง นำความรู้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันกับตนเองเพอ
ช่วยลดภาวะค่าใช้จ่ายของครอบครัว โดยได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ระหว่างวันที่ 27-28 เมษายน

2563 ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู หมู่ที่ 1 , ศาลาประชาคมบ้านเนินดินแดง หมู่ที่ 2, บ้านหนังสือ
ชุมชนบ้านคลองตะเคียน หมู่ที่ 3 และศาลาประชาคมบ้านเขามดง่าม หมู่ที่ 4 ตำบลคลองพลู

อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 28 คน ซึ่งได้สรุปรายงานจากแบบสอบถาม

ความคิดเห็น ข้อมูลที่ได้สามารถวิเคราะห์และแสดงค่าสถิติ ดังนี้
1. วันที่ 27 เมษายน 2563 เวลา 09.00 น.- 12.00 น. จัด ณ รพ.สต.บ้านคลองพลู

หมู่ที่ 1 ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 7 คน

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศตอนที่ 1
ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ

การศึกษา และอาชีพ ผู้จัดทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูลดังกล่าวดังปรากฏตามตารางดังต่อไปนี้


ควำมคิดเห็น
เพศ
จ ำนวนคน ร้อยละ
ชาย 0 0.00

หญิง 7 100.00
รวม 7 100.00

จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพศหญิง จำนวน

7 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00

20






ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ

ควำมคิดเห็น
ช่วงอำยุ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ

ต ากว่า 15 ปี 0 0 0 0.00

16 - 39 ปี 0 1 1 14.29
40 - 59 ปี 0 5 5 71.43

60 ปีขึนไป 0 1 1 14.29


รวม 0 7 7 100.00

จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุ

ปรากฏว่า อายุ 16-39 ปี อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 จำนวน 1 คน

คิดเป็นร้อยละ 14.29 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศึกษา

ควำมคิดเห็น
กำรศึกษำ ชำย หญิง

ประถม 0 2 รวม ร้อยละ
28.57
2

ม.ต้น 0 2 2 28.57

ม.ปลาย 0 3 3 42.86

ปวส. 0 0 0 0.00

ป.ตรี 0 0 0 0.00

รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม

การศึกษาปรากฏว่าระดับ ม.ปลาย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 ระดับประถม จำนวน
2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 และ ระดับ ม.ต้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57


ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ


ควำมคดเหน



อำชพ ชำย หญง รวม รอยละ


รบจาง 0 2 2 28.57


แมบาน 0 4 4 57.14



เกษตรกร 0 0 0 0.00

คาขาย 0 1 1 14.29
รวม 0 7 7 100.00

21






จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
อาชีพปรากฏว่าอาชีพแม่บ้าน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อาชีพรับจ้าง จำนวน 2 คน คิด

เป็นร้อยละ 28.57และอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อย 14.29


ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม

จากแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 7 ชุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความคิดเห็น ดังปรากฏใน

ตาราง

ข้อ N = 7
ที่ เนื้อหากิจกรรม ระดับผล

x ˉ S.D. อันดับที่ การ

ประเมิน
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 4.71 0.49 3 ดีมาก

2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 4.71 0.49 3 ดีมาก
3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 4.71 0.49 3 ดีมาก

4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนา ดีมาก

คุณภาพชีวิต 4.86 0.38 2
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.86 0.38 2 ดีมาก

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 5.00 0.00 1 ดีมาก
7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.86 0.38 2 ดีมาก

8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 5.00 0.00 1 ดีมาก

9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 5.00 0.00 1 ดีมาก
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร

10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 4.71 0.49 3 ดีมาก

11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 5.00 0.00 1 ดีมาก
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 4.71 0.49 3 ดีมาก

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก

13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 4.86 0.38 2 ดีมาก
14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการ 4.86 0.38 2 ดีมาก
ื่

22






เรียนรู้
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 4.86 0.38 2 ดีมาก

รวม 4.85 0.20 ดีมาก



จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
อยู่ในระดับ ดีมาก

เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,การจัด
กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,วิทยากรมี

เทคนิคการถายทอดใช้สื่อเหมาะสม (xˉ=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการ

พัฒนาคุณภาพชีวิต,การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,สถานที่ วัสดุ
อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก,การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้,การบริการ

ˉ
การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา (x=4.86) เป็นอันดับ 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ,
เนื้อหาตรงตามความต้องการ,เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,วิทยากร

มีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด (xˉ=4.71) เป็นอันดับสุดท้าย

23






ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของระดับความพึงพอใจที่ได้รับต่อการเข้าร่วมกิจกรรม
ระดับการประเมิน







ข้อที ประเด็นทประเมิน มากทสุด มาก ปานกลาง น้อย นอยทสุด

จ่านวน ร้อยละ จ่านวน ร้อยละ จ่านวน ร้อยละ จ่านวน ร้อยละ จ่านวน ร้อยละ


ตอนท 1 ความพึงพอใจด้านเนอหา




1 เนอหาตรงตามความต้องการ 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00


2 เนอหาเพียงพอต่อความต้องการ 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00

3 เนอหาปัจจุบันทนสมัย 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00





เนือหามีประโยชนต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา
4 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00
คุณภาพชีวิต
ตอนที 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00
6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00

8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเป้าหมาย 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเรืองทีถ่ายทอด 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00




11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สือเหมาะสม 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00
ตอนท 4 ความพึงพอใจด้านการอ่านวยความสะดวก




13 สถานท วัสดุ อุปกรณ์และสิงอ่านวยความสะดวก 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00



14 การสือสาร การสร้างบรรยากาศเพือให้
เกิดการเรียนรู ้ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00
(1) รวม 89 16 0 0 0
(2) = (1) Xคะแนนเต็มของแต่ละช่อง 445 64 0 0 0
(3) = ผลรวมของความพึงพอใจ 509
(4) = (3) / จ่านวนคน 72.71
(5) = (4) X 100 ¸
96.95
จ่านวนข้อXคะแนนเต็มสูงสุด
สรุป บรรลุ

24







จากตารางที่ 6 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพงพอใจกับประเด็น
ที่ประเมิน ดังต่อไปนี้

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

ประเด็นที่ 1 “เนื้อหาตรงตามความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 71.43

มีระดับความพงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 2 “เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 71.43

มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 3 “เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 71.43 มีระดับ

ความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 4 “เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนาคุณภาพชีวิต” ผู้ตอบ


แบบสอบถาม ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับ
ความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

ประเด็นที่ 5 “การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 60.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 6 “การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 100.00 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด”

ประเด็นที่ 7 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 8 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย” ผู้ตอบแบบสอบถาม


ร้อยละ 100.00 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด”
ประเด็นที่ 9 “วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 100.00 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด”

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร


ประเด็นที่ 10 “วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถายทอด” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 71.43 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความ
พึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 11“วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 100.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด”

25






ประเด็นที่ 12 “วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 71.43 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพงพอใจ

ในระดับ “มาก”

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
ประเด็นที่ 13 “สถานที่ วัสดุ อปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก” ร้อยละ 85.71

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ื่
ประเด็นที่ 14“การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการเรียนรู้” ร้อยละ 85.71
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 15“การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา” ร้อยละ 85.71 มีระดับ

ความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”


อภิปรายผล

จากการจัดกิจกรรมวิชาการทำเจลล้างมือ สรุปได้ดังนี้


1. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เพศหญิง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100.00
2. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุปรากฏว่า อายุ

16-39 ปี อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
14.29 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

3. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เมื่อจำแนกตามการศึกษาปรากฏว่า

ระดับ ม.ปลาย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 ระดับประถม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ
28.57 และ ระดับ ม.ต้น จำนวน 2 คน คิดเป็น

ร้อยละ 28.57
4. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตามอาชีพปรากฏว่า

อาชีพแม่บ้าน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อาชีพรับจ้าง จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ

28.57 และอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 14.29

5. โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ใน
ระดับดีมาก

เมื่อวิเคราะห์ เป็นรายข้อพบว่า การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,การ
จัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,วิทยากรมี

เทคนิคการถายทอดใช้สื่อเหมาะสม (xˉ=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการ


26






พัฒนาคุณภาพชีวิต,การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,สถานที่ วัสดุ
ื่
อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก,การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการเรียนรู้,การบริการ
ˉ

การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา (x=4.86) เป็นอนดับ 2 เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ,เนื้อหา

ตรงตามความต้องการ,เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,วิทยากรมีความรู้

ความสามารถในเรื่องที่ถายทอด (xˉ=4.71) เป็นอันดับสุดท้าย

สรุปค่าxˉ ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก xˉ=4.85

สรุปค่า S.D. ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจ S.D.=0.20

สรุปค่าเปอร์เซ็นต์ ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ที่ 96.95%
ความพึงพอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดีมาก


ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ

อยากเรียนรู้เกี่ยวกับการทำหน้ากากอนามัย

27






2.วันที่ 27 เมษายน 2563 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. จัด ณ ศาลาประชาคมบ้านเนิน
ดินแดง หมู่ที่ 2 ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 7 คน

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศตอนที่ 1

ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ
การศึกษา และอาชีพ ผู้จัดทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูลดังกล่าวดังปรากฏตามตารางดังต่อไปนี้


ควำมคิดเห็น
เพศ

จ ำนวนคน ร้อยละ
ชาย 0 0.00
หญิง 7 100.00
รวม 7 100.00


จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพศหญิง จำนวน


7 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ


ช่วงอำยุ ควำมคิดเห็น
ชำย หญิง รวม ร้อยละ

ต ากว่า 15 ปี 0 0 0 0.00


16 - 39 ปี 0 0 0 0.00

40 - 59 ปี 0 5 5 71.43

60 ปีขึนไป 0 2 2 28.57


รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุ

ปรากฏว่า อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน
2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57

28






ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศึกษา

ควำมคิดเห็น
กำรศึกษำ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ

ประถม 0 6 6 85.71

ม.ต้น 0 1 1 14.29

ม.ปลาย 0 0 0 0.00

ปวส. 0 0 0 0.00

ป.ตรี 0 0 0 0.00

รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
การศึกษาปรากฏว่า ระดับประถม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 และ ระดับ ม.ต้น

จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ


ควำมคิดเห็น
อำชีพ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ
รับจ้าง 0 1 1 14.29

แม่บ้าน 0 0 0 0.00

เกษตรกร 0 6 6 85.71

ค้าขาย 0 0 0 0.00

รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
อาชีพปรากฏว่า อาชีพเกษตรกร จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.74 อาชีพรับจ้าง จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 14.29

29






ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม
จากแบบสอบถามทงหมด จำนวน 7 ชุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความคิดเห็น ดังปรากฏใน
ั้

ตาราง

ข้อ N = 7

ที่ เนื้อหากิจกรรม ระดับผล
x ˉ S.D. อันดับที่ การ

ประเมิน

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา
1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 4.86 0.38 2 ดีมาก

2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 5.00 0.00 1 ดีมาก

3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 4.86 0.38 2 ดีมาก
4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนา ดีมาก

คุณภาพชีวิต 4.86 0.38 2

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.71 0.49 3 ดีมาก

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.71 0.49 3 ดีมาก

7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.86 0.38 2 ดีมาก
8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 4.86 0.38 2 ดีมาก

9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.86 0.38 2 ดีมาก

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 4.86 0.38 2 ดีมาก

11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 4.71 0.49 3 ดีมาก

12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 5.00 0.00 1 ดีมาก

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 4.71 0.49 3 ดีมาก

14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการ ดีมาก
ื่
เรียนรู้ 4.71 0.49 3
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 5.00 0.00 1 ดีมาก

รวม 4.84 0.18 ดีมาก

30







จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
อยู่ในระดับ ดีมาก

เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ,วิทยากรเปิดโอกาสให้มี


ส่วนร่วมและซักถาม,การบริการ การช่วยเหลือและการแกปัญหา (xˉ=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหาตรง
ตามความต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบเวลา,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิธีการวัดผล/

ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด (xˉ=4.86)
เป็นอันดับ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์


วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม,สถานที่ วัสดุ อปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก,
การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ (xˉ=4.71) เป็นอันดับสุดท้าย
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของระดับความพงพอใจที่ได้รับต่อ


การเข้าร่วมกิจกรรม

31






ระดบการประเมน











ขอท ี ประเดนทประเมน มากทสด ุ มาก ปานกลาง นอย นอยทสด ุ




จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน ร้อยละ










ตอนท 1 ความพงพอใจดานเนอหา




1 เนอหาตรงตามความตองการ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00





2 เนอหาเพยงพอตอความตองการ 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00


3 เนอหาปจจบนทนสมย ั 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00











เนอหามประโยชนตอการนาไปใชในการพฒนา



4 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00

คณภาพชวต ิ






ตอนท 2 ความพงพอใจดานกระบวนการจดกจกรรมการอบรม




5 การเตรยมความพรอมกอนอบรม 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00




6 การออกแบบกจกรรมเหมาะสมกบวตถประสงค ์ 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00



7 การจดกจกรรมเหมาะสมกบเวลา 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00





8 การจดกจกรรมเหมาะสมกบกลมเปาหมาย 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00


9 วธการวดผล/ประเมนผลเหมาะสมกบวตถประสงค ์ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00













10 วทยากรมความรความสามารถในเรองทถายทอด 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00




11 วทยากรมเทคนคการถายทอดใชสอเหมาะสม 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00












12 วทยากรเปดโอกาสใหมสวนรวมและซกถาม 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00





ตอนท 4 ความพงพอใจดานการอานวยความสะดวก









13 สถานท วสด อปกรณและสงอานวยความสะดวก 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00



14 การสอสาร การสรางบรรยากาศเพอให




เกดการเรยนร ู ้ 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00

15 การบรการ การชวยเหลอและการแกปญหา 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00





(1) รวม 88 17 0 0 0



(2) = (1) Xคะแนนเตมของแตละชอง 440 68 0 0 0

(3) = ผลรวมของความพงพอใจ 508

(4) = (3) / จานวนคน 72.57
(5) = (4) X 100 ¸
96.76




จานวนขอXคะแนนเตมสงสด ุ
สรป ุ บรรล ุ

จากตารางที่ 6 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพงพอใจกับประเด็น

ที่ประเมิน ดังต่อไปนี้

32






ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา
ประเด็นที่ 1 “เนื้อหาตรงตามความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71 มี

ระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 2 “เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100.00
มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด”

ประเด็นที่ 3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71 มีระดับ

ความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 4 “เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนาคุณภาพชีวิต” ผู้ตอบ

แบบสอบถาม ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับ
ความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

ประเด็นที่ 5 “การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 71.43

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 6 “การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม


ร้อยละ 71.43 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพงพอใจ

ในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 7 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 8 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อย

ละ 85.71 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ

“มาก”
ประเด็นที่ 9 “วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม



ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพงพอใจ
ในระดับ “มาก”
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร

ประเด็นที่ 10 “วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถายทอด” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพงพอใจ


ในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 11“วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม” ผู้ตอบแบบสอบถาม



ร้อยละ 71.43 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพงพอใจ
ในระดับ “มาก”

33






ประเด็นที่ 12 “วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ
100.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด”

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก

ประเด็นที่ 13 “สถานที่ วัสดุ อปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก” ร้อยละ 71.43

มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 14“การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการเรียนรู้” ร้อยละ 71.43
ื่

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 15“การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา” ร้อยละ 100.00 มีระดับ

ความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด”


อภิปรายผล

จากการจัดกิจกรรมวิชาการทำเจลล้างมือ สรุปได้ดังนี้


1. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เพศหญิง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100.00

2. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุปรากฏว่า อายุ

40-59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อย
ละ 28.57

3. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เมื่อจำแนกตามการศึกษาปรากฏว่า

ระดับประถม จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 และ ระดับ ม.ต้น จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
14.29

4. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตามอาชีพปรากฏว่า

อาชีพเกษตรกร จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.74 อาชีพรับจ้าง จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
14.29

5. โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ใน

ระดับ
ดีมาก

เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ,วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและ

ซักถาม,การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา (xˉ=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหาตรงตามความ
ต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต,

34






การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิธีการวัดผล/
ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด


(xˉ=4.86) เป็นอนดับ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์
วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม,สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก,การ

ˉ
สื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ (x=4.71) เป็นอันดับสุดท้าย
สรุปค่าxˉ ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก xˉ=4.84
สรุปค่า S.D. ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจ S.D.=0.18

สรุปค่าเปอร์เซ็นต์ ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ที่ 96.76%

ความพึงพอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดีมาก

ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ
อยากเรียนรู้เกี่ยวกับการทำหน้ากากอนามัย

35






3.วันที่ 28 เมษายน 2563 เวลา 09.00 น.- 12.00 น. จัด ณ บ้านหนังสือชุมชนบ้าน
คลองตะเคียน หมู่ที่ 3 ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 7

คน

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว
ผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา


และอาชีพ ผู้จัดทำได้นำเสนอจำแนกตามขอมูลดังกล่าวดังปรากฏตามตารางดังต่อไปนี้

ควำมคิดเห็น
เพศ

จ ำนวนคน ร้อยละ
ชาย 0 0.00

หญิง 7 100.00
รวม 7 100.00


จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพศหญิง จำนวน 7 คน คิดเป็น

ร้อยละ 100.00

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ
ควำมคิดเห็น
ช่วงอำยุ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ


ต ากว่า 15 ปี 0 0 0 0.00
16 - 39 ปี 0 2 2 28.57

40 - 59 ปี 0 4 4 57.14

60 ปีขึนไป 0 1 1 14.29


รวม 0 7 7 100.00



จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุ
ปรากฏว่า อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อายุ 16-39 ปี จำนวน 2 คน

คิดเป็นร้อยละ 28.57 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

36






ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศึกษา

ควำมคิดเห็น
กำรศึกษำ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ

ประถม 0 3 3 42.86

ม.ต้น 0 1 1 14.29

ม.ปลาย 0 2 2 28.57

ปวส. 0 0 0 0.00

ป.ตรี 0 1 1 14.29

รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
การศึกษาปรากฏว่า

ระดับประถม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 ระดับ ม.ปลาย จำนวน 2 คน คิด

เป็นร้อยละ 28.57 ระดับ ม.ต้น จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 และระดับ ป.ตรี จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 14.29


ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ

ควำมคิดเห็น
อำชีพ ชำย หญิง รวม ร้อยละ


รับจ้าง 0 4 4 57.14

แม่บ้าน 0 1 1 14.29

เกษตรกร 0 1 1 14.29

ค้าขาย 0 1 1 14.29
รวม 0 7 7 100.00


จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
อาชีพปรากฏว่า
อาชีพรับจ้าง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อาชีพแม่บ้าน จำนวน 1 คน คิดเป็น

ร้อยละ 14.29

อาชีพเกษตรกร จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 และอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 14.29

37






ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม
จากแบบสอบถามทงหมด จำนวน 7 ชุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความคิดเห็น ดังปรากฏใน
ั้

ตาราง

ข้อ N = 7

ที่ เนื้อหากิจกรรม ระดับผล
x ˉ S.D. อันดับที่ การ

ประเมิน

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา
1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 4.86 0.38 2 ดีมาก

2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 5.00 0.00 1 ดีมาก

3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 5.00 0.00 2 ดีมาก
4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนา ดีมาก

คุณภาพชีวิต 4.86 0.38 2

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.86 0.38 2 ดีมาก

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.86 0.38 2 ดีมาก

7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 5.00 0.00 1 ดีมาก
8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 4.86 0.38 2 ดีมาก

9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.71 0.49 3 ดีมาก

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 4.86 0.38 2 ดีมาก

11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 4.57 0.53 4 ดีมาก

12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 4.57 0.53 4 ดีมาก

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 4.57 0.53 4 ดีมาก

14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการ ดีมาก
ื่
เรียนรู้ 4.86 0.38 2
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 5.00 0.00 1 ดีมาก

รวม 4.83 0.21 ดีมาก

38







จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
อยู่ในระดับ ดีมาก

เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ,การจัดกิจกรรม

ˉ
เหมาะสมกับเวลา,การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา (x=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหาตรง
ตามความต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

,การเตรียมความพร้อมกอนอบรม,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,การจัดกิจกรรม

เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด,การสื่อสาร การสร้าง
บรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ (xˉ=4.86) เป็นอันดับ 2 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ

ˉ
วัตถุประสงค์ (x=4.71) เป็นอันดับ 3 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม,วิทยากรเปิด
โอกาสให้มี ส่วนร่วมและซักถาม,สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก (xˉ=4.57)

เป็นอันดับสุดท้าย

39






ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของระดับความพึงพอใจที่ได้รับต่อการเข้าร่วมกิจกรรม

ระดบการประเมน ิ










ขอท ี ประเดนทประเมน ิ มากทสด ุ มาก ปานกลาง น้อย นอยทสด ุ


จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน รอยละ จานวน ร้อยละ








ตอนท 1 ความพงพอใจดานเนอหา





1 เนอหาตรงตามความตองการ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00








2 เนอหาเพยงพอตอความตองการ 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00


3 เนอหาปจจบนทนสมย ั 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00






เนอหามประโยชนตอการนาไปใชในการพฒนา






4 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00

คณภาพชวต ิ




ตอนท 2 ความพงพอใจดานกระบวนการจดกจกรรมการอบรม





5 การเตรยมความพรอมกอนอบรม 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00





6 การออกแบบกจกรรมเหมาะสมกบวตถประสงค ์ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00


7 การจดกจกรรมเหมาะสมกบเวลา 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00




8 การจดกจกรรมเหมาะสมกบกลมเปาหมาย 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00





9 วธการวดผล/ประเมนผลเหมาะสมกบวตถประสงค ์ 5 71.43 2 28.57 0 0.00 0 0.00 0 0.00





10 วทยากรมความรความสามารถในเรองทถายทอด 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00









11 วทยากรมเทคนคการถายทอดใชสอเหมาะสม 4 57.14 3 42.86 0 0.00 0 0.00 0 0.00












12 วทยากรเปดโอกาสใหมสวนรวมและซกถาม 4 57.14 3 42.86 0 0.00 0 0.00 0 0.00




ตอนท 4 ความพงพอใจดานการอานวยความสะดวก








13 สถานท วสด อปกรณและสงอานวยความสะดวก 4 57.14 3 42.86 0 0.00 0 0.00 0 0.00





14 การสอสาร การสรางบรรยากาศเพอให







เกดการเรยนร ู ้ 6 85.71 1 14.29 0 0.00 0 0.00 0 0.00


15 การบรการ การชวยเหลอและการแกปญหา 7 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00



(1) รวม 87 18 0 0 0
(2) = (1) Xคะแนนเตมของแตละชอง 435 72 0 0 0




(3) = ผลรวมของความพงพอใจ 507
(4) = (3) / จานวนคน 72.43

(5) = (4) X 100 ¸ 96.57




จานวนขอXคะแนนเตมสงสด ุ
สรป บรรล ุ


40







จากตารางที่ 6 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพงพอใจกับประเด็น
ที่ประเมิน ดังต่อไปนี้

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

ประเด็นที่ 1 “เนื้อหาตรงตามความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71
มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 2 “เนื้อหาเพยงพอต่อความต้องการ” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100.00

มีระดับความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด”
ประเด็นที่ 3 “เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100.00 มีระดับ

ความพึงพอใจ ในระดับ “มากที่สุด”


ประเด็นที่ 4 “เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนาคุณภาพชีวิต” ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับ

ความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

ประเด็นที่ 5 “การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 85.71

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 6 “การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพงพอใจใน


ระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 7 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100.00
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด”

ประเด็นที่ 8 “การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อย

ละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ
“มาก”
ประเด็นที่ 9 “วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 71.43 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 28.57 มีระดับความพงพอใจ

ในระดับ “มาก”
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร

ประเด็นที่ 10 “วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถายทอด” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 85.71 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพงพอใจใน


ระดับ “มาก”

41






ประเด็นที่ 11“วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม” ผู้ตอบแบบสอบถาม


ร้อยละ 57.14 มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 42.86 มีระดับความพงพอใจ
ในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 12 “วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม” ผู้ตอบแบบสอบถาม

ร้อยละ 57.14 มีระดับความ พงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 42.86 มีระดับความพง


พอใจในระดับ “มาก”
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก

ประเด็นที่ 13 “สถานที่ วัสดุ อปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก” ร้อยละ 57.14

มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 42.86 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 14“การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการเรียนรู้” ร้อยละ 85.71
ื่

มีระดับความพงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 14.29 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นที่ 15“การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา” ร้อยละ 100.00 มีระดับ
ความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด”



อภิปรายผล

จากการจัดกิจกรรมวิชาการทำเจลล้างมือ สรุปได้ดังนี้

1. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เพศหญิง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100.00

2. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุปรากฏว่า อายุ

40 - 59 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อายุ 16-39 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ

28.57 และช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

3. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เมื่อจำแนกตามการศึกษาปรากฏว่า
ระดับประถม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.86 ระดับ ม.ปลาย จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ

28.57 ระดับ ม.ต้น จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 และระดับ ป.ตรี จำนวน 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 14.29


4. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจกรรม เมื่อจำแนกตามอาชีพปรากฏว่า
อาชีพรับจ้าง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 อาชีพแม่บ้าน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ

14.29 อาชีพเกษตรกร จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29 และอาชีพค้าขาย จำนวน 1 คน คิด

เป็นร้อยละ 14.29
5. โดยเฉลี่ยแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ

ดีมาก

42






เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ,การจัดกิจกรรมเหมาะสม
กับเวลา,การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา (xˉ=5.00) เป็นอันดับ 1 เนื้อหาตรงตามความ

ต้องการ,เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย,เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต,

การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์,การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย,วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด,การสื่อสาร การสร้าง

บรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ (xˉ=4.86) เป็นอันดับ 2 วิธีการวัดผล/ประเมนผลเหมาะสมกับ

ˉ
วัตถุประสงค์ (x=4.71) เป็นอันดับ 3 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม,วิทยากรเปิด
โอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม,สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก (xˉ=4.57) เป็น
อันดับสุดท้าย

สรุปค่า xˉ ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก xˉ=4.83

สรุปค่า S.D. ทั้ง 15 ข้อมีความพึงพอใจ S.D.=0.21


สรุปค่าเปอร์เซ็นต์ ทั้ง 15 ข้อมีความพงพอใจอยู่ที่ 96.57%
ความพึงพอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยู่ใน ระดับดีมาก


ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ

อยากเรียนรู้เกี่ยวกับการทำหน้ากากอนามัย

43






4. วันที่ 28 เมษายน 2563 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. จัด ณ ศาลาประชาคมบ้านเขา
มดง่าม หมู่ที่ 4 ตำบลคลองพลู อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี มีผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 7 คน

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว

ผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา
และอาชีพ ผู้จัดทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูลดังกล่าวดังปรากฏตามตารางดังต่อไปนี้


ควำมคิดเห็น
เพศ

จ ำนวนคน ร้อยละ
ชาย 1 14.29
หญิง 6 85.71
รวม 7 100.00


จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพศหญิง จำนวน


6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 เพศชาย จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ



ชวงอำย ุ ควำมคดเหน

ชำย หญิง รวม รอยละ


ตากวา 15 ป ี 0 0 0 0.00



16 - 39 ป ี 0 1 1 14.29
40 - 59 ป ี 1 5 6 85.71


60 ปขนไป 0 0 0 0.00



รวม 1 6 7 100.00


จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อจำแนกตามอายุ

ปรากฏว่า อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 และอายุ 16-39 ปี จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 14.29

44






ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศึกษา

ควำมคิดเห็น
กำรศึกษำ
ชำย หญิง รวม ร้อยละ

ประถม 0 5 5 71.43

ม.ต้น 0 1 1 14.29

ม.ปลาย 1 0 1 14.29

ปวส. 0 0 0 0.00

ป.ตรี 0 0 0 0.00

รวม 1 6 7 100.00


จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
การศึกษาปรากฏว่า

ระดับประถม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ระดับ ม.ต้น จำนวน 1 คน คิดเป็น

ร้อยละ 14.29 และ ระดับ ม.ปลายจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 14.29
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ




ควำมคดเหน

อำชพ ชำย หญง รวม รอยละ





รบจาง 0 3 3 42.86


แมบาน 0 0 0 0.00
เกษตรกร 1 3 4 57.14

คาขาย 0 0 0 0.00
รวม 1 6 7 100.00


จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจำแนกตาม
อาชีพปรากฏว่า
อาชีพเกษตรกร จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 และอาชีรับจ้าง จำนวน 3 คน

คิดเป็นร้อยละ 42.86

45






ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม

จากแบบสอบถามทงหมด จำนวน 7 ชุด ผู้เข้าร่วมกจกรรม มีความคิดเห็น ดังปรากฏใน
ั้
ตาราง

ข้ อ N = 7

ที่ เนื้อหากิจกรรม ระดับผลการ
x ˉ S.D. อันดับที่
ประเมิน

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ 5.00 0.00 1 ดีมาก

2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 5.00 0.00 1 ดีมาก

3 เนื้อหาปัจจุบันทันสมัย 5.00 0.00 1 ดีมาก

4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒนา ดีมาก
1
คุณภาพชีวิต 5.00 0.00

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม 4.86 0.38 2 ดีมาก

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 5.00 0.00 1 ดีมาก


7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบเวลา 5.00 0.00 1 ดีมาก
8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 5.00 0.00 1 ดีมาก

9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ ดีมาก

วัตถุประสงค์ 5.00 0.00 1

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 5.00 0.00 1 ดีมาก

11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 5.00 0.00 1 ดีมาก

12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม 5.00 0.00 1 ดีมาก

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 5.00 0.00 1 ดีมาก

14 การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพอให้เกิดการ ดีมาก
ื่
เรียนรู้ 5.00 0.00 1
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 5.00 0.00 1 ดีมาก

รวม 4.99 0.10 ดีมาก


Click to View FlipBook Version