The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปี2564กศน.อำเภอเกาะจันทร์ สำนักงานกศน.จังหวัดชลบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2021-01-28 04:20:39

แผนปฏิบัติการประจำปี2564กศน.อำเภอเกาะจันทร์

แผนปฏิบัติการประจำปี2564กศน.อำเภอเกาะจันทร์ สำนักงานกศน.จังหวัดชลบุรี

Keywords: แผนปฏิบัติการ,กศน.อำเภอเกาะจันทร์





สารบญั

หนา้

ส่วนที่ ๑ ขอ้ มูลสถานศกึ ษา ๓

๑. ความเปน็ มาสถานศึกษา...........................................................................................................๓
๒. สภาพปัจจุบัน .........................................................................................................................๙
๓. หลักสตู รอาชีพเพ่ือการมีงานทา............................................................................................. ๑๔
สว่ นท่ี ๒ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม........................................................................................... ๑๕
๑. ผลการดาเนินงานย้อนหลงั ๓ ปี............................................................................................ ๑๕



สว่ นท่ี ๑
ขอ้ มูลสถานศกึ ษา

ส่วนที่ ๑ ข้อมลู สถานศกึ ษา
๑. ความเป็นมาสถานศึกษา
๑.๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ประวตั ิ ท่ตี งั้
ข้อมลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา
ชอื่ สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งนครปฐม

Muang-nakornpathom District Non-Formal and Informal Education Centre

สังกดั สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดนครปฐม
สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

ท่ตี งั้ /การตดิ ต่อ เลขที่ ๑๔๐ หม่ทู ี่ ๗ ตาบล ธรรมศาลา อาเภอเมืองนครปฐม
จังหวดั นครปฐม รหัสไปรษณีย์ ๗๓๐๐๐
โทรศพั ท์ ๐๓๔-๓๐๕๖๘๓ , ๐๓๔-๓๐๖๑๙๑ โทรสาร ๐๓๔-๓๐๖๑๙๑
ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ : npk.nfe๑๘๐๒@gmail.com
Facebook : กศน.อาเภอเมืองนครปฐม
Website : http://nkp.nfe.go.th/๗๓๐๑

ประวัตสิ ถานศึกษา
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม ประกาศจดั ตั้งตาม

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ โดยใช้ช่ือ “ศูนย์บริการการศึกษานอก
โรงเรยี น อาเภอเมอื งนครปฐม” โดยใชอ้ าคารฝึกอาชีพของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม ซึ่งเดิมเรียกว่า ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนครปฐม
เป็นสานักงานจนถึงปัจจุบัน และเปล่ียนชื่อเป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม” เมื่อวันท่ี ๔ เมษายน ๒๕๕๑ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ



และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ทีต่ ัง้ และอาณาเขต

อาเภอเมืองนครปฐม จังหวดั นครปฐม เป็นอาเภอชั้นพเิ ศษ มพี น้ื ท่ีรวมท้ังหมด ๔๑๗.๔๔ ตาราง

กโิ ลเมตร หรอื ๒๖๐,๙๐๐ ไร่ อยหู่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๕๖ กิโลเมตร ตัง้ อยู่ทางทศิ ตะวันตก

ของจังหวัด ท่ีต้ัง เลขท่ี ๓๐ ถนนเทศา ตาบลพระปฐมเจดีย์ อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดนครปฐม

ประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคยี ง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับ อาเภอกาแพงแสน และอาเภอดอนตมู จงั หวดั นครปฐม

ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอนครชยั ศรี จังหวัดนครปฐม

ทิศใต้ ติดต่อกับ อาเภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม และอาเภอบางแพ จังหวัด

ราชบุรี

ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอโพธาราม และอาเภอบา้ นโป่ง จังหวัดราชบุรี



❖ อาเภอเมอื งนครปฐม แบง่ การปกครองส่วนภูมภิ าค เปน็ ๒๔ ตาบล ๒๑๔ หมูบ่ า้ น ๗๖ ชุมชน

(๑ เทศบาลนคร และ ๓ เทศบาลตาบล) มีจานวน หลังคาเรือน ๘๒,๐๑๔ หลังคาเรือน มีประชากร

จานวน ๒๓๐,๑๗๐ คน เปน็ ชาย ๑๑๐,๖๔๑ คน เป็นหญงิ ๑๑๙,๕๓๒ คน มรี ายละเอยี ดดังนี้

ท่ี ตาบล จานวน จานวนครัวเรือน จานวนประชากร (คน)

หม่บู า้ น (บ้าน) ชาย หญิง รวม

๑ โพรงมะเดอื่ ๑๖ ๒,๕๔๗ ๔,๗๒๕ ๔,๘๘๑ ๙,๖๐๖

๒ สระกระเทยี ม ๑๔ ๒,๒๙๑ ๓,๕๑๖ ๓,๗๔๒ ๗,๒๕๘

๓ หนองปากโลง ๑๐ ๒,๙๗๐ ๔,๐๔๑ ๔,๓๕๖ ๘,๓๙๗

๔ ตากอ้ ง ๑๐ ๑,๘๑๖ ๓,๒๓๘ ๓,๔๘๙ ๖,๗๒๗

๕ สามควายเผือก ๘ ๓,๒๕๙ ๕,๐๖๓ ๕,๕๖๙ ๑๐,๖๓๒

๖ ธรรมศาลา ๗ ๑,๗๐๙ ๓,๐๒๗ ๒,๕๑๘ ๕,๕๔๕

๗ ดอนยายหอม ๙ ๑,๙๒๐ ๒,๓๘๖ ๓,๐๓๘ ๕,๔๒๔

๘ วงั ตะกู ๘ ๒,๙๕๓ ๒,๙๒๘ ๓,๒๘๑ ๖,๒๐๙

๙ หว้ ยจรเข้ ๗ ๒,๐๔๓ ๒,๓๗๘ ๒,๕๓๗ ๔,๙๑๕

๑๐ วงั เย็น ๖ ๘๐๓ ๑,๕๕๖ ๑,๖๘๗ ๓,๒๔๓

๑๑ สวนปา่ น ๖ ๑,๐๓๖ ๑,๖๓๑ ๑,๗๖๑ ๓,๓๙๒

๑๒ ถนนขาด ๖ ๒,๕๘๗ ๓,๗๔๒ ๔,๑๒๙ ๗,๘๗๑

๑๓ ทัพหลวง ๑๔ ๓,๒๕๕ ๔,๙๒๐ ๕,๓๗๙ ๑๐,๒๙๙

๑๔ บ้านยาง ๑๑ ๒,๕๓๑ ๔,๔๒๓ ๔,๕๕๕ ๘,๙๗๘

๑๕ บางแขม ๑๐ ๔,๑๐๙ ๕,๐๙๐ ๕,๘๓๘ ๑๐,๙๒๘

๑๖ หนองงูเหลือม ๑๑ ๒,๗๕๓ ๔,๙๖๕ ๕,๔๑๔ ๑๐,๓๗๙

๑๗ นครปฐม ๑๐ ๕,๗๖๗ ๖,๖๓๔ ๖,๙๒๖ ๑๓,๕๖๐

๑๘ ทงุ่ นอ้ ย ๗ ๑,๗๘๐ ๒,๗๖๗ ๒,๙๔๑ ๕,๗๐๘

๑๙ พระประโทน ๘ ๑,๒๗๖ ๑,๗๐๐ ๑,๘๕๑ ๓,๕๕๑

๒๐ ลาพยา ๘ ๓,๗๒๕ ๓,๘๘๙ ๔,๓๒๘ ๘,๒๑๗

๒๑ หนองดนิ แดง ๘ ๑,๖๒๗ ๒,๔๗๗ ๒,๖๔๕ ๕,๑๒๒

๒๒ สนามจันทร์ ๓ ๒,๑๖๑ ๒,๑๘๐ ๒,๔๙๐ ๔,๖๗๐

๒๓ บ่อพลับ ๘ ๔,๔๖๓ ๔,๓๙๒ ๔,๙๔๕ ๙,๓๓๗



เทศบาล ๗ แห่ง ประกอบดว้ ย

ท่ี ชื่อเทศบาล ครอบคลุมพื้นที่
๑ เทศบาลนครนครปฐม ตาบลพระปฐมเจดยี ์ทั้งตาบล และบางสว่ นของตาบลบาง
แขม ตาบลพระประโทน ตาบลสนามจันทร์ ตาบลบอ่ พลับ
๒ เทศบาลเมอื งนครปฐม ตาบลนครปฐม ตาบลหนองปากโลง ตาบลลาพยา และ
๓ เทศบาลตาบลดอนยายหอม ตาบลหว้ ยจรเข้
๔ เทศบาลตาบลธรรมศาลา ตาบลนครปฐม (เขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลนครปฐมเดมิ )
๕ เทศบาลตาบลโพรงมะเด่อื บางส่วนของตาบลดอนยายหอม
๖ เทศบาลตาบลบ่อพลบั บางส่วนของตาบลธรรมศาลา
๗ เทศบาลตาบลมาบแค บางสว่ นของตาบลหนองดินแดงและตาบลโพรงมะเด่ือ
ตาบลบอ่ พลบั (นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม)
ตาบลมาบแคทั้งตาบล



ประวตั ศิ าสตร์อาเภอเมืองนครปฐม
➢ ประวัติความเป็นมา
อาเภอเมืองนครปฐม เป็นอาเภอหน่ึงในจังหวัดนครปฐม ได้รับการยกฐานะเป็นอาเภอเมือง

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ (ร.ศ. ๑๑๔) แต่เดิมเรียกว่า “อาเภอพระปฐมเจดีย์” ขึ้นอยู่กับเมืองนครชัยศรีใน
ขณะนั้น ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงโปรดพระราชทานพระ
บรม ราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อ อาเภอพระปฐมเจดีย์ เป็น “อาเภอเมืองนครปฐม” ต้ังแต่ พ.ศ.
๒๔๕๖ เป็นต้นมาได้รับการยกฐานะเป็นอาเภอเมือง พ.ศ. ๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๔) แต่เดิมเรียกว่า "อาเภอ
พระปฐมเจดีย์ " ข้ึนอยู่กับเมืองนครชัยศรีในขณะนั้น ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เปล่ียนชื่อ อาเภอพระ
ปฐมเจดีย์เป็น "อาเภอเมืองนครปฐม" ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๕๖ ได้รับการยกฐานะเป็นอาเภอ
เมือง พ.ศ. ๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๔) แต่เดิมเรียกว่า "อาเภอพระปฐมเจดีย์ " ขึ้นอยู่กับเมืองนครชัยศรีใน
ขณะนั้น ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อ อาเภอพระปฐมเจดีย์ เป็น " อาเภอเมือง
นครปฐม " ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๖ เป็นวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๔๕๖ ได้มีพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยน
ช่ืออาเภอเมืองนครปฐม ตามพระราชกฤษฎีกา มีการจัดต้ังเทศบาลเมืองนครปฐม ราชกิจจานุเบกษา
๕๒๕. ๑๖๖๖-๑๖๗๐. ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๘

- วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๔๗๘ จดั ตง้ั เทศบาลเมอื งนครปฐม ในพนื้ ทีต่ าบลพระปฐมเจดยี ์
- วันที่ ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๔๙๐ มกี ารโอนพ้ืนทบี่ ้านตากแดด หมู่ ๑๐ ตาบลบางแขม(ในขณะ
น้ัน) ไปข้ึนกบั ตาบลดอนยายหอม โดยกาหนดเปน็ หมู่ท่ี ๑๕ (ในขณะนน้ั )
- วันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ ไดโ้ อนพ้ืนท่ีบางหมู่บ้านของตาบลธรรมศาลา ไปรวมกบั
ตาบลตาบลพระประโทน และโอนบางหมู่บ้านของตาบลพระประโทนไปรวมกบั ตาบลธรรมศาลา
- วนั ที่ ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๐๑ ต้งั ตาบลหนองงูเหลือม แยกออกจากตาบลทัพหลวง
- วนั ท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๐๖ จดั ต้ังสุขาภิบาลธรรมศาลา ในท้องที่บางสว่ นของตาบลธรรม
ศาลา
- วันที่ ๒ สงิ หาคม ๒๕๐๘ จดั ต้ังสุขาภิบาลโพรงมะเดื่อ ในทอ้ งท่ีบางส่วนของตาบล
โพรงมะเดื่อ และบางสว่ นของตาบลหนองดนิ แดง
- วันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๑๕ จัดตั้งสุขาภิบาลดอนยายหอม ในท้องท่ีบางส่วนของ
ตาบลดอนยายหอม
- วันท่ี ๒๑ กนั ยายน ๒๕๒๔ โอนพ้นื ที่ หมู่ท่ี ๑๐ บ้านหนองแก ตาบลโพรงมะเด่ือ (ในขณะน้นั )
ไปขน้ึ กับตาบลหนองงูเหลอื ม โดยกาหนดเป็น หมู่ที่ ๘ (ในขณะน้นั )



- วนั ที่ ๕ ธนั วาคม ๒๕๓๔ ขยายเขตเทศบาลเมืองนครปฐม ให้ครอบคลุมพื้นท่บี างสว่ นของ
ตาบลบางแขม ตาบลพระประโทน ตาบลสนามจนั ทร์ ตาบลบ่อพลับ ตาบลนครปฐม ตาบลลาพยา
ตาบลหนองปากโลง และตาบลหว้ ยจรเข้

- วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ยกฐานะจากสขุ าภิบาลธรรมศาลา สุขาภิบาลโพรงมะเด่ือ
และสขุ าภบิ าลดอนยายหอม เป็นเทศบาลตาบลธรรมศาลา เทศบาลตาบลโพรงมะเดื่อ และเทศบาล
ตาบลดอนยายหอม ตามลาดับ

- วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ยกฐานะจากเทศบาลเมืองนครปฐม เปน็ เทศบาลนคร
นครปฐม

๑.๒ สภาพชุมชน (สภาพเศรษฐกิจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรม ความร่วมมือของชุมชน
ทม่ี ตี ่อสถานศกึ ษา) ศาสนสถานในอาเภอเมืองนครปฐม

ศาสนา
อาเภอเมืองนครปฐม ประชาชนนับถือศาสนาพุทธมากท่ีสุด รองลงมานับถือศาสนา
ครสิ ต์ และนับถือศาสนาอสิ ลาม ตามลาดับ
อาเภอเมืองนครปฐม มีพระอารามหลวง ๔ แห่ง ได้แก่ วัดพระปฐมเจดีย์ราช
วรมหาวหิ าร วัดพระประโทณเจดียว์ รวิหาร วดั เสนหา และวัดพระงาม
ศาสนสถานของศาสนาอิสลาม ในจังหวัดนครปฐมมีเพียงแห่งเดียว คือ มัสยิดปากีสถาน
(ปาทาน) ประเทศไทย จังหวดั นครปฐม ตงั้ อยู่ตาบล หว้ ยจรเข้ โดยตัง้ เป็นทางการ เม่อื พ.ศ. ๒๕๔๑
ศาสนาคริสต์ เป็นศาสนสถานนกิ ายโปรเตสเตนท์ ๙ แหง่ นิกายโรมนั คาธอลกิ ๕ แห่ง
ประเพณีและวัฒนธรรม
อาเภอเมืองนครปฐม มีขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และการละเล่นพื้นเมือง
สาคัญท่ีนิยมปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ งานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ งาน
เทศกาลอาหารผลไม้และของดีนครปฐม ประเพณีลอยกระทง ประเพณีการแห่ผ้าห่มองค์พระปฐม
เจดีย์ ประเพณีการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระพุทธเจ้า และประเพณีแห่ธงสงกรานต์ตาบลโพรง
มะเดือ่
แหลง่ ท่องเท่ียว
อาเภอเมืองนครปฐม จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการท่องเที่ยว และสืบสานวฒั นธรรมประเพณี
ของไทยอย่างต่อเนื่อง แหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญในอาเภอเมืองนครปฐม ได้แก่ องค์พระปฐมเจดีย์
พระราชวงั สนามจันทร์ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พิพิธภัณฑว์ ิถีชาวนาไทย วัดพระประโทณเจดยี ์



๑.๓ ปรชั ญา/ปณิธานของสถานศึกษา
ปรชั ญา : อตฺตา หิ อตฺตาโน นาโถ ตนน้ันแล เปน็ ท่ีพึง่ แห่งตน

วิสยั ทศั น์ : ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ผูเ้ รียน/ผ้รู ับบรกิ าร ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม เป็นผู้ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ควบคู่คุณธรรมตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างสร้างสรรค์และย่ังยืน โดยใช้การบริหารงานด้วยระบบการดาเนินงานท่ีมี
คณุ ภาพ มีสว่ นร่วมของภาคเี ครือข่ายและชุมชน

อัตลักษณ์ : ใฝเ่ รยี น ใฝ่รู้
เอกลกั ษณ์ : ระบบการดาเนนิ งานทีม่ ีคุณภาพ

พนั ธกจิ
๑) จดั สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือยกระดับให้

ประชาชน มีความรคู้ ู่คณุ ธรรม
๒) สง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมของภาคเี ครือข่าย
๓) พัฒนาส่ือ และเทคโนโลยีทางการศึกษา
๔) พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การที่มีคุณภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล
๕) พัฒนาบคุ ลากรดา้ นการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ หลักสูตร สอ่ื และเทคโนโลยี

ทางการศึกษา
๒. สภาพปจั จบุ ัน

๒.๑ บทบาทหนา้ ท่ขี องสถานศกึ ษา
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม เปน็

สถานศึกษาในราชการบริหารสว่ นกลาง สังกดั สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั จังหวดั นครปฐม มีบทบาทหน้าทตี่ ามพระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังตอ่ ไปนี้

๑. จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

๒. สง่ เสริม สนับสนุน และประสานภาคเี ครือข่าย เพอื่ การจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย

๓. ดาเนินการตามนโยบายพิเศษของรฐั บาลและงานสง่ เสริมความม่ันคงของชาติ

๔. จดั สง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอัน
เนือ่ งมาจากพระราชดาริในพ้ืนที่

5. จัด สง่ เสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหล่งการเรียนร้แู ละภมู ิปญั ญาท้องถิ่น

๑๐

6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษา
นอกระบบ

7. ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์
8. กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการ
ดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
9. พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
10. ระดมทรัพยากรเพ่ือใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย
11. ดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กาหนด
๑๒. ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

๑๑

๒.๒ โครงสร้างการบริหาร
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แบ่งการ

บริหารงานตามโครงสรา้ ง ออกเป็น ๓ กลุ่มงาน รายละเอียด ดังน้ี

ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองนครปฐม

คณะกรรมการสถานศึกษา

กลมุ่ อานวยการ กลุม่ ส่งเสริมปฏบิ ตั ิการ กล่มุ ภาคีเครอื ขา่ ยและ
กจิ การพเิ ศษ

1. งานธรุ การและงานสาร 1. งานส่งเสรมิ การรหู้ นงั สือ 1. งานสง่ เสริมสนับสนนุ
บรรณ 2. งานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เครอื ขา่ ย
2. งานการเงนิ และบัญชี 3. งานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง 2. งานกจิ การพิเศษ
3. งานพัสดุ
4. งานบคุ ลากร/สวสั ดิการ 3.1 งานการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ 2.1. งานโครงการอันเน่ือง
5. งานอาคารสถานที่และ 3.2 งานการศึกษาเพือ่ พัฒนา มาจากพระราชดาริ
ทกั ษะชวี ิต
ยานพาหนะ 3.3 งานการศึกษาเพ่อื พัฒนา 2.2. งานป้องกัน แกไ้ ข
6. งานแผนงานและโครงการ สงั คมและชุมชน ปญั หายาเสพติด
7. งานประชาสมั พนั ธ์ 3.4 งานกิจกรรมการเรยี นรตู้ าม
8. งานข้อมูลสารสนเทศและ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.3. งานส่งเสรมิ กิจกรรม
4. งานการศึกษาตามอัธยาศยั ประชาธิปไตย
การรายงาน 4.1. งานจัด พัฒนาแหล่งเรียนรู้
9. ศูนยร์ าชการใสสะอาด และ ภมู ิปัญญาฯ 2.4. งานสนบั สนนุ
10. งานนเิ ทศภายใน ติดตาม 4.2. งานจัดและพัฒนา ส่งเสริม

และประเมินผล ศูนย์การเรยี นชมุ ชน นโยบายจังหวัด/
11. งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ 4.3. งานห้องสมุดประชาชน อาเภอ
4.4. งานการศกึ ษาเคล่อื นที่
สถานศึกษา 5. งานพฒั นาหลกั สตู ร
12. งานประกันคณุ ภาพ 6. งานทะเบียนและวัดผล
ภายใน 7. งานศนู ยบ์ รกิ ารใหค้ าปรึกษา
แนะแนว
สถานศกึ ษา

๑๒

๒.๓ ทาเนียบผบู้ ริหาร

นายประชาลกั ณ์ ศรีคณุ าภรณ์
ผูอ้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองนครปฐม

กศน.อาเภอเมอื งนครปฐม มีผดู้ ารงตาแหนง่ ผูบ้ รหิ าร ตามลาดับดงั น้ี

ท่ี ช่อื -สกุล ผู้บรหิ าร ปที ี่ดารงตาแหน่ง
พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๕
๑ นางอญั ชลุ ี จนั ทรมณี พ.ศ. ๒๕๔๖ - กันยายน ๒๕๕๒
๖ ตุลาคม ๒๕๕๒ - ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
๒ นางปราณี มหาชน ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๕
๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ - ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
๓ นายธนติ บุญประเสริฐ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘ ถึงปจั จุบัน

๔ นางชตุ ิมณฑน์ เรอื งกาญจนสุรีย์

๕ นางรชั นี จันทรอมั พร

๖ นายประชาลกั ณ์ ศรีคณุ าภรณ์

๒.๔ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
กศน.อาเภอเมืองนครปฐม มีจานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวนท้ังสน้ิ ๕๘ คน ดังน้ี

ประเภท/ตาแหน่ง ต่ากว่า ป.ตรี จานวน (คน) รวมจานวน
ป.ตรี ป.โท ป.เอก ๓
๑. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา และขา้ ราชการครู - ๑๒- ๑
๑-- ๖
๒. บคุ ลากรทางการศกึ ษา - ๒๔- ๒๑
๑๗ ๔ - ๔
๓. พนักงานราชการ ตาแหน่ง ครูอาสาสมคั ร - ๓๑-

๔. พนักงานราชการ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล -

๕. ครูศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน -

๑๓

๒.๕ หลักสูตรการเรียนการสอน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม

ดาเนินการจัดการเรยี นการสอน ประกอบด้วย
๑. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน
สามารถนาสาระการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม
และสรา้ งเสริมสมรรถนะการประกอบอาชพี ทสี่ ามารถสรา้ งรายได้ อยา่ งม่ันคง

๒. หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ได้แก่
๒.๑ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการศึกษาท่มี ุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนมี

ความรู้ เจตคติ และมีทักษะในอาชีพตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประกอบด้วย ทักษะ เกี่ยวกับ
การปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐาน การคิดแก้ปัญหา การสื่อสาร และทักษะเก่ียวกับ
ความปลอดภัยในอาชีพ มีคุณลักษณะที่สาคัญในเรื่องความซ่ือสัตย์สุจริต ความคิดเชิงบวก
ความม่งุ มัน่ ในการทางาน การทางานร่วมกับผู้อ่ืน การรักษาสง่ิ แวดล้อม และการคานึงถึงประโยชน์ สว่ น
ร่วมมากกวาส่วนตน การจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติจรงิ และการเรียนรู้จากวิทยากร หรือผ้รู ู้
ที่ประกอบอาชีพนนั้ ๆ

๒.๒ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ใ ห้
ความสาคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต
ใน สังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
และ เตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ใน อนาคต โดยเน้นการฝึกปฏิบัติให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวิต ๑๐ ประการ คือ ทักษะการ
ตัดสินใจ ทักษะการ แก้ปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการสื่อสารท่ีมี
ประสิทธิภาพ ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ ทักษะการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง ทักษะ
ความเหน็ ใจผอู้ ืน่ ทกั ษะการจัดการกับอารมณต์ า่ งๆ และทักษะการจดั การกับความเครียด

๒.๓ การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการจัดกระบวนการให้
บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน
ในการพัฒนาสังคมและชมชนอย่างย่ังยืน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปฏิบัติ
ตลอดจนการเรยี นรู้การใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม โดยเนน้ การจดั การเรียนรผู้ า่ นกิจกรรม ดังน้ี

๒.๓.๑ การส่งเสริมการดาเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- หมู่บ้านเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท
- การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎี

ใหม่

๑๔

- การทาบญั ชคี รวั เรอื น
- วิสาหกจิ ชุมชน/สหกรณ์
๒.๓.๒ การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เป็นการจัดกระบวนการ
เรียนรเู้ พื่อเนน้ การแกป้ ญั หาการดารงชีวติ การประกอบอาชีพ สิ่งแวดล้อม และวกิ ฤต พลังงาน โดยเนน้
การประหยดั พลังงาน การใชพ้ ลังงานทดแทน และการใชเ้ ครื่องทุ่นแรง โดยให้ผเู้ รยี นนาองค์ความรู้จาก
ภูมปิ ญั ญา จากการศกึ ษาค้นคว้านวัตกรรมท่ีมีอยหู่ รืออาจประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา เพ่อื ปรับใชใ้ นครวั เรือน
เช่น การนาขยะหรือมูลสัตว์มาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ การถนอมอาหารโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ การ
จดั การขยะ การสรา้ งเตาเผาขยะ การปลูกพชื น้าหยด เปน็ ตน้
๒.๔ การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการจัด
กระบวนการเรียนรู้โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่กับหลักคุณธรรมในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงสามารถจัดทาแผนชีวิต
และส่งเสรมิ ใหน้ าหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปปรับประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต
๓. หลกั สตู รอาชพี เพือ่ การมงี านทา ดาเนินการจดั ๔ ประเภท ได้แก่
๓.๑ หลกั สูตรกลุม่ สนใจ ไม่เกนิ ๓๐ ชวั่ โมง
๓.๒ หลักสตู รพฒั นาอาชพี ชน้ั เรยี นวิชาชีพ ๓๑ ชัว่ โมงข้นึ ไป
๓.๓ หลักสตู รช่างพื้นฐาน ๗๑ ชั่วโมงข้ึนไป
๓.๔ หลกั สูตรภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสารด้านอาชีพ ๓๐ ชัว่ โมง

๑๕

ส่วนท่ี 2
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม

ส่วนที่ ๒ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม

๑. ผลการดาเนนิ งานยอ้ นหลัง ๓ ปี
ตารางท่ี ๑ แผน / ผลการดาเนินการจดั การศกึ ษาทุกหลักสตู ร

ปี งปม. กิจกรรม แผน ผล ร้อยละ สภาพ
๒๕๕๙
การศกึ ษาพ้นื ฐาน ๕,๒๐๐ ๕,๒๐๔ >๐.๐๗ บรรลตุ ามแผน
๒๕๖๐ การศกึ ษาต่อเนื่อง ๔,๗๔๓ ๔,๙๓๒ >๓.๙๘ บรรลตุ ามแผน
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๕๙,๒๐๐ ๕๑,๕๕๘ ๘๗.๐๙ ไม่บรรลตุ ามแผน
๒๕๖๑ การศกึ ษาพนื้ ฐาน ๕,๒๐๔ ๔,๗๒๕ ๙๐.๗๙ ไมบ่ รรลุตามแผน
การศึกษาต่อเนอ่ื ง ๔,๙๖๘ ๕,๙๓๓ >๑๙.๔๒ บรรลตุ ามแผน
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๔๕,๗๐๒ ๔๔,๕๖๗ ๙๗.๕๑ ไมบ่ รรลตุ ามแผน
การศกึ ษาพ้นื ฐาน ๔,๗๒๕ ๔,๙๐๖ >๓.๘๓ บรรลุตามแผน
การศึกษาต่อเน่อื ง ๔,๔๖๗ ๕,๓๖๒ >๒๐.๐๓ บรรลุตามแผน
การศกึ ษาตามอัธยาศัย ๔๔,๕๖๗ ๕๗,๑๔๑ >๒๘.๒๑ บรรลุตามแผน

จากตารางท่ี ๑ แผน / ผลการดาเนินการจัดการศึกษาทุกหลักสูตรของศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เห็นว่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มีการ
ดาเนินงานจัดการศึกษาพ้ืนฐาน และการศึกษาต่อเน่ือง บรรลุตามแผนท่ีกาหนดไว้ และมีการจัด
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ีไมบ่ รรลผุ ล ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ มกี ารดาเนินงานจัด
การศึกษาต่อเน่ือง บรรลุ ตามแผนท่ีกาหนดไว้ และมีการจัดการศึกษาพื้นฐาน และการศึกษาตาม
อัธยาศัย ท่ีไม่บรรลุผล ตามแผนที่กาหนดไว้ สาหรับ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีการดาเนินงานจัด
การศึกษาพืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั บรรลตุ ามแผนที่กาหนดไว้

๑๖

ตารางที่ ๒ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนปลายภาค (คา่ เฉลี่ย)

ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

รายวชิ า สถานศกึ ษา สว่ นกล สภา สถานศึก สว่ นกล สภา สถานศกึ สว่ นกลา สภาพ

าง พ ษา าง พ ษา ง

ทักษะการ ๒๗.๕๖ ๓๑.๐๔ ตา่ ๒๐.๕๐ ๒๗.๙๕ ตา่ ๒๑.๓๗ ๓๐.๘๘ ต่ากวา่

เรียนรู้ กวา่ กวา่

ภาษาไทย ๒๗.๓๙ ๒๓.๐๔ สงู ๒๖.๕๔ ๓๐.๕๓ ตา่ ๒๒.๔๕ ๓๒.๐๗ ตา่ กว่า

กว่า กวา่

ภาษาองั กฤษ ๑๖.๕๕ ๒๐.๕๗ ตา่ ๑๙.๐๙ ๑๙.๘๔ ตา่ ๑๓.๖๙ ๒๐.๓๑ ต่ากว่า

กวา่ กวา่

คณิตศาสตร์ ๓๑.๙๐ ๑๗.๐๒ สงู ๑๗.๘๙ ๒๔.๗๐ ตา่ ๑๘.๒๐ ๒๐.๒๙ ตา่ กว่า

กว่า กวา่

วิทยาศาสตร์ ๒๗.๔๔ ๓๑.๖๐ สูง ๑๗.๑๖ ๒๓.๓๒ ตา่ ๑๗.๕๖ ๒๓.๕๙ ต่ากว่า

กว่า กว่า

ชอ่ งทางอาชีพ ๒๔.๙๑ ๒๒.๑๙ สูง ๒๐.๘๕ ๑๙.๙๒ สูง ๑๙.๙๒ ๑๘.๘๐ สงู กว่า

กวา่ กว่า

ทกั ษะอาชีพ ๑๘.๑๖ ๓๑.๑๖ ตา่ ๒๐.๐๐ ๒๕.๖๖ ตา่ ๒๕.๐๘ ๓๐.๕๖ ตา่ กว่า

กว่า กว่า

พัฒนาอาชีพ ๒๔.๒๙ ๒๑.๖๐ สูง ๑๘.๔๕ ๑๖.๗๕ สงู ๑๘.๙๔ ๑๖.๓๙ สงู กว่า

กวา่ กวา่

เศรษฐกิจ ๒๗.๒๗ ๒๑.๖๖ สูง ๒๖.๓๔ ๒๓.๗๒ สูง ๒๕.๑๙ ๒๑.๙๙ สูงกวา่

พอเพียง กวา่ กว่า

สุขศึกษา พล ๒๑.๙๔ ๒๓.๑๑ ตา่ ๒๖.๗๘ ๒๓.๒๓ สงู ๒๗.๘๖ ๒๓.๖ สงู กว่า

ศึกษา กว่า กว่า ๓

ศิลปศกึ ษา ๒๔.๘๒ ๒๑.๗๙ สูง ๑๘.๒๒ ๑๗.๖๙ สูง ๑๙.๒๙ ๑๗.๘๐ สงู กว่า

กว่า กวา่

๑๗

จากตารางที่ ๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาค หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอเมอื งนครปฐม แสดงใหเ้ ห็นว่า ระดบั ประถมศึกษา มีรายวิชาทผี่ ลสัมฤทธ์ขิ องสถานศึกษา สงู กว่า
ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางอาชีพ พัฒนา
อาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง ศิลปศึกษา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมือง และการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
และมีรายวิชาท่ีผลสัมฤทธ์ิของสถานศึกษา ต่ากว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ทักษะการ
เรียนรู้ ภาษาอังกฤษ ทักษะอาชีพ สุขศึกษา พลศึกษา และสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มีรายวิชาที่ผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษาสูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ช่องทางอาชีพ
พัฒนาอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง
และการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และมีรายวิชาท่ีผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษา ต่ากว่า ผลสัมฤทธิ์
ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และทักษะ
อาชีพ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีรายวิชาที่ผลสัมฤทธ์ิของสถานศึกษา สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์
ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ช่องทางอาชีพ พัฒนาอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา
ศิลปศกึ ษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง และการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม และมีรายวิชาท่ี
ผลสมั ฤทธิ์ของสถานศึกษา ต่ากวา่ ผลสมั ฤทธิร์ ะดับชาติ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และทักษะอาชพี

จากข้อมูลดังกลา่ ว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมือง
นครปฐม มีการดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ได้แก่ การพัฒนาผู้เรียนเพ่ือให้
ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง
และสามารถไปประยุกต์ในการดารงชีวิต โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาใหผ้ ้เู รียนสูค่ วามเปน็ คน “คดิ เป็น”

ท้ังนี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม มีแนวทางในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิของรายวิชาต่าง ๆ
ที่ต่ากว่าผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ (ส่วนกลาง) ให้สูงขึ้น โดยการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่
โครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ โครงการปรับพื้นฐานการเรียนรู้ โครงการสอนเสริม เพื่อพัฒนาให้
ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถทางด้านวชิ าการเพ่ิมมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดแ้ ก่ วชิ า ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และวชิ า
อื่น ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยผู้สอนหรือวิทยากรควรเป็นผู้ที่มีความรู้ หรือ
ประสบการณ์ในการ

๑๘

สอนวิชาน้ัน ๆ โดยเฉพาะ นอกจากนย้ี ังมรี ะบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี นโดยใช้กระบวนการเพื่อนช่วย
เพื่อน โดยให้เพ่ือนที่เรียนเก่งกวา่ ชว่ ยเพ่ือนท่ีเรยี นออ่ นกวา่ การสอนซ่อมเสรมิ ในรายวิชาทีอ่ ่อน
ในการน้ี เพื่อให้การดาเนนิ การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์มิ เี ป้าหมายคณุ ภาพในการดาเนนิ งาน ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพ
ผลสัมฤทธ์สิ งู สดุ ของรายวชิ าต่าง ๆ มรี ายละเอียดดังน้ี

รายวชิ า ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
เป้าหมายคณุ ภาพ เป้าหมายคณุ ภาพ เป้าหมายคุณภาพ
ทกั ษะการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธสิ์ งู สุด ผลสัมฤทธิ์สูงสดุ ผลสมั ฤทธิส์ ูงสุด
ภาษาไทย ๒๒.๐๐
ภาษาองั กฤษ ๓๐.๐๐ ๒๒.๐๐ ๒๔.๐๐
คณิตศาสตร์ ๒๘.๐๐ ๒๘.๐๐ ๑๕.๐๐
วทิ ยาศาสตร์ ๑๘.๐๐ ๒๑.๐๐ ๒๐.๐๐
ชอ่ งทางอาชีพ ๓๓.๐๐ ๑๙.๐๐ ๑๙.๐๐
ทักษะอาชพี ๒๙.๐๐ ๑๙.๐๐ ๒๑.๐๐
พัฒนาอาชีพ ๒๖.๐๐ ๒๒.๐๐ ๒๖.๐๐
เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๙.๐๐ ๒๑.๐๐ ๒๐.๐๐
สุขศกึ ษา พลศึกษา ๒๕.๐๐ ๒๐.๐๐ ๒๗.๐๐
ศิลปศึกษา ๒๘.๐๐ ๒๘.๐๐ ๒๙.๐๐
สงั คมศึกษา ๒๓.๐๐ ๒๘.๐๐ ๒๑.๐๐
ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง ๒๖.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๙.๐๐
การพัฒนาตนเอง ชมุ ชนสงั คม ๒๐.๐๐ ๒๓.๐๐ ๒๒.๐๐
๒๖.๐๐ ๒๑.๐๐ ๒๕.๐๐
๒๘.๐๐ ๒๓.๐๐

๑๙

ค่าเป้าหมายสงู สดุ
จานวนผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้การศกึ ษาต่อในระดับที่

สูงข้ึน

จานวน ๑๘ คน

คุณลักษณะของผู้เรียนที่เปน็ ตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนาความรูไ้ ปใช้ในการศึกษาต่อใน
ระดับที่สูงข้ึน

๑. มีเป้าหมายในการศึกษาตอ่ ที่ชัดเจน
๒. มีความใฝร่ ูใ้ ฝ่เรยี น และขยนั หมัน่ เพียร
๓. มีความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒๐

ตารางท่ี ๓ ผลการทดสอบ N-Net เปรยี บเทียบภาคเรียนท่ี ๒ / ๒๕๖๐ กบั ภาคเรยี นท่ี ๑ /
๒๕๖๑ ของปงี บประมาณที่ผ่านมา

ระดับประถมศกึ ษา

รายวิชา ภาคเรียน ๒ / ๒๕๖๐ ภาคเรยี น ๑ / ๒๕๖๑

ทักษะการเรยี นรู้ สถานศกึ ษา ระดับชาติ สภาพ สถานศึกษา ระดับชาติ สภาพ
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ๔๓.๓๓ ๓๘.๖๕ สงู กว่า ๔๕.๕๖ ๓๗.๒๘ สงู กว่า
คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ๕๗.๕๐ ๔๗.๔๔ สงู กว่า ๕๑.๖๗ ๕๐.๒๐ สูงกว่า
ชอ่ งทางอาชพี
ทักษะอาชีพ ๓๐.๐๐ ๓๕.๗๗ ต่ากว่า ๒๖.๖๗ ๓๕.๓๓ ต่ากว่า
พฒั นาอาชีพ
เศรษฐกจิ ๒๓.๓๓ ๒๙.๗๘ ตา่ กว่า ๒๐.๐๐ ๒๙.๕๙ ต่ากวา่
พอเพยี ง
สุขศึกษา พล ๒๖.๖๗ ๒๘.๘๔ ต่ากวา่ ๓๒.๒๒ ๓๒.๐๒ สูงกวา่
ศกึ ษา
ศิลปศกึ ษา ๖๐.๐๐ ๔๗.๕๓ สงู กว่า ๕๖.๖๗ ๕๔.๗๔ สงู กวา่
สงั คมศึกษา
ศาสนาและ ๓๒.๕๐ ๓๕.๐๒ ตา่ กว่า ๓๘.๓๓ ๓๖.๐๖ สงู กวา่
หน้าทีพ่ ลเมือง
การพัฒนา ๓๕.๐๐ ๓๗.๗๒ ต่ากว่า ๕๐.๐๐ ๓๖.๑๗ สูงกวา่
ตนเอง ชุมชน
สงั คม ๓๕.๐๐ ๕๘.๘๐ ตา่ กวา่ ๘๐.๐๐ ๖๓.๒๓ สงู กวา่

๒๕.๐๐ ๔๔.๘๔ ตา่ กว่า ๔๘.๓๓ ๔๑.๐๖ สงู กวา่

๒๕.๐๐ ๓๗.๙๘ ตา่ กวา่ ๔๖.๖๗ ๔๒.๖๙ สูงกวา่
๕๕.๐๐ ๔๗.๙๘ สูงกว่า ๔๘.๓๓ ๔๕.๗๕ สูงกวา่
๒๐.๐๐ ๒๙.๘๑ ต่ากวา่ ๓๑.๖๗ ๒๙.๗๑ สงู กว่า

๖๐.๐๐ ๔๘.๗๑ สูงกวา่ ๔๑.๖๗ ๔๕.๖๐ ต่ากว่า

๒๑

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

รายวชิ า ภาคเรยี น ๒ / ๒๕๖๐ ภาคเรยี น ๑ / ๒๕๖๑

สถานศึกษา ระดับชาติ สภาพ สถานศกึ ษา ระดบั ชาติ สภาพ

ทักษะการเรยี นรู้ ๔๐.๕๗ ๓๖.๙๑ สงู กว่า ๓๘.๔๒ ๓๗.๑๒ สูงกว่า

ภาษาไทย ๔๖.๕๕ ๔๑.๒๔ สงู กวา่ ๕๔.๓๔ ๕๐.๔๒ สูงกว่า

ภาษาองั กฤษ ๒๔.๖๔ ๒๕.๖๘ ตา่ กว่า ๒๕.๐๘ ๒๗.๑๗ ตา่ กวา่

คณิตศาสตร์ ๒๘.๙๗ ๒๘.๙๑ สูงกวา่ ๒๕.๒๕ ๒๖.๙๑ ตา่ กว่า

วิทยาศาสตร์ ๒๔.๔๘ ๒๖.๕๘ ตา่ กวา่ ๓๐.๔๙ ๓๐.๖๖ ตา่ กว่า

ชอ่ งทางอาชพี ๕๓.๕๘ ๔๗.๘๗ สูงกวา่ ๖๖.๒๗ ๕๙.๒๕ สงู กวา่

ทกั ษะอาชพี ๔๔.๑๕ ๓๘.๖๓ สูงกวา่ ๔๓.๘๑ ๓๘.๓๒ สูงกวา่

พฒั นาอาชีพ ๓๓.๙๖ ๓๑.๔๑ สงู กวา่ ๓๘.๑๔ ๓๗.๓๐ สูงกวา่

เศรษฐกิจ ๖๒.๘๓ ๕๔.๓๐ สูงกว่า ๕๙.๐๖ ๕๖.๐๙ สงู กวา่

พอเพียง

สขุ ศกึ ษา ๕๕.๔๗ ๔๘.๐๖ สูงกวา่ ๕๔.๐๗ ๔๘.๔๓ สงู กวา่

พลศกึ ษา

ศลิ ปศึกษา ๓๘.๖๘ ๓๖.๙๒ สงู กวา่ ๓๑.๖๙ ๒๘.๒๗ สงู กวา่

สังคมศึกษา ๔๑.๔๕ ๓๘.๐๑ สูงกวา่ ๓๖.๓๙ ๓๘.๑๒ ต่ากว่า

ศาสนาและ ๓๘.๙๑ ๓๓.๑๕ สูงกวา่ ๓๓.๒๘ ๓๒.๔๘ สูงกว่า

หน้าท่พี ลเมือง

การพฒั นา ๓๙.๖๔ ๓๖.๘๓ สงู กวา่ ๓๕.๒๕ ๓๖.๔๑ ตา่ กว่า

ตนเองชุมชน

สงั คม

๒๒

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชา ภาคเรียน ๒ / ๒๕๖๐ ภาคเรยี น ๑ / ๒๕๖๑

ทกั ษะการเรยี นรู้ สถานศึกษา ระดบั ชาติ สภาพ สถานศกึ ษา ระดับชาติ สภาพ
ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ ๓๘.๖๕ ๓๕.๓๔ สูงกว่า ๔๐.๑๖ ๓๗.๗๒ สูงกวา่
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๔๖.๘๑ ๔๓.๐๘ สูงกว่า ๓๘.๒๘ ๓๖.๒๐ สงู กวา่
ช่องทางอาชพี
ทักษะอาชีพ ๒๐.๖๙ ๒๑.๑๙ ต่ากวา่ ๒๔.๔๖ ๒๕.๐๑ ต่ากวา่
พฒั นาอาชีพ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒๖.๔๖ ๒๕.๕๙ สูงกวา่ ๒๓.๖๓ ๒๒.๘๖ สูงกวา่
สุขศกึ ษา พลศึกษา
ศิลปศึกษา ๑๙.๕๔ ๒๐.๑๓ ตา่ กว่า ๒๒.๑๘ ๒๒.๖๒ ตา่ กวา่
สังคมศึกษา
ศาสนาและหนา้ ที่ ๕๑.๔๕ ๔๖.๐๔ สูงกว่า ๕๙.๙๓ ๕๕.๕๒ สูงกว่า
พลเมือง
การพฒั นาตนเอง ๔๐.๐๐ ๓๕.๓๒ สูงกวา่ ๔๐.๒๓ ๓๕.๘๓ สูงกว่า
ชุมชนสงั คม
๔๕.๗๓ ๓๘.๘๐ สูงกวา่ ๔๗.๕๒ ๔๒.๑๔ สงู กวา่

๔๖.๖๔ ๔๑.๕๒ สูงกว่า ๔๕.๐๓ ๔๐.๑๘ สงู กวา่

๕๙.๑๖ ๕๓.๐๐ สงู กว่า ๖๐.๒๗ ๕๔.๓๔ สูงกว่า

๒๘.๖๓ ๒๕.๗๔ สูงกวา่ ๓๑.๘๘ ๒๘.๕๔ สูงกว่า

๒๙.๖๙ ๒๘.๑๑ สงู กว่า ๓๔.๔๙ ๓๒.๒๔ สูงกวา่

๒๒.๓๘ ๒๓.๐๐ ต่ากวา่ ๔๐.๔๑ ๓๕.๗๒ สูงกวา่

๒๐.๐๐ ๑๙.๕๕ สูงกว่า ๒๖.๑๒ ๒๒.๕๘ สูงกว่า

๒๓

จากตารางที่ ๓ ผลการทดสอบ N-Net หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอเมืองนครปฐม

ระดับประถมศึกษา มีรายวิชาที่ผลการทดสอบ N-Net ของสถานศึกษา ภาคเรียน
๒/๒๕๖๐ และภาคเรียน ๑/๒๕๖๑ สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติต่อเนื่อง ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้
ภาษาไทย ช่องทางอาชีพ สังคมศึกษา และต่ากว่าผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ และ
คณติ ศาสตร์

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีรายวิชาทีผ่ ลการทดสอบ N-Net ของสถานศึกษาภาค
เรียน ๒/๒๕๖๐ และภาคเรียน ๑/๒๕๖๑ สูงกว่า ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติต่อเนื่อง ได้แก่ ทักษะการ
เรียนรู้ ภาษาไทย ช่องทางอาชีพ ทักษะอาชีพ พัฒนาอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษาพลศึกษา
ศิลปศึกษา และ ศาลนาและหน้าที่พลเมือง และต่ากว่าผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ
วทิ ยาศาสตร์

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีรายวิชาท่ีผลการทดสอบ N-Net ของสถานศึกษา
ภาคเรียน ๒/๒๕๖๐ และภาคเรียน ๑/๒๕๖๑ สูงกว่า ผลสัมฤทธ์ริ ะดับชาติต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ ทกั ษะการ
เรยี นรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ชอ่ งทางอาชีพ ทักษะอาชีพ พัฒนาอาชพี เศรษฐกจิ พอเพียง สขุ ศึกษา
พลศึกษา ศิลปศึกษา สังคมศึกษา และการพัฒนาตนเองชมุ ชนสังคม และต่ากว่าผลสมั ฤทธ์ิระดับชาติ
ได้แก่ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์

จากข้อมูลดังกล่าว ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมือง
นครปฐม มีการดาเนินการจัดกิจกรรมสนับสนนุ การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ู้เรียน ได้แก่ การจัดตวิ เขม้ เติมเต็ม
ความรู้ และการสอนเสริม คา่ ยวชิ าการ ส่งเสรมิ ทักษะการคิดเป็น และส่งเสรมิ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม

ท้งั นี้ เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม มีแนวทางในการยกระดับผลการทดสอบ N-Net ของรายวิชา
ต่าง ๆ ใหส้ งู ขึน้ โดยการจัดติวเข้มเติมเต็มความรู้ และการสอนเสริม คา่ ยพฒั นาวิชาการ
ในการนี้ เพ่ือให้การดาเนินการยกระดบั ผลการทดสอบ N-Net มีเปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินงาน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งนครปฐมได้กาหนดเปา้ หมายคุณภาพ
ผลการทดสอบ N-Net ของรายวิชาต่าง ๆ

๒๔

เป้าหมายคณุ ภาพผลการทดสอบ N-Net ของรายวชิ าต่าง ๆ สูงสดุ

รายวชิ า ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
เป้าหมายคุณภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพการ
ทกั ษะการเรียนรู้
ภาษาไทย การทดสอบ การทดสอบ ทดสอบ
ภาษาอังกฤษ N-Net สูงสุด N-Net สงู สดุ N-Net สูงสุด
คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ๔๕.๕๐ ๔๐.๕๐ ๔๐.๐๐
ชอ่ งทางอาชพี ๕๗.๕๐ ๕๔.๕๐ ๔๖.๕๐
ทกั ษะอาชีพ ๓๐.๐๐ ๒๕.๐๐ ๒๔.๕๐
พฒั นาอาชีพ ๒๓.๕๐ ๒๘.๕๐ ๒๖.๕๐
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓๒.๕๐ ๓๐.๕๐ ๒๒.๐๐
สุขศึกษา พลศึกษา ๖๐.๐๐ ๖๖.๕๐ ๕๙.๕๐
ศลิ ปศึกษา ๓๘.๕๐ ๔๔.๕๐ ๔๐.๕๐
สงั คมศึกษา ๕๐.๐๐ ๓๘.๕๐ ๔๗.๕๐
ศาสนาและหนา้ ท่พี ลเมือง ๘๐.๐๐ ๖๒.๕๐ ๔๖.๕๐
การพฒั นาตนเองชุมชนสงั คม ๔๘.๕๐ ๕๕.๕๐ ๖๐.๕๐
๔๖.๕๐ ๓๘.๕๐ ๓๒.๐๐
๕๕.๐๐ ๔๑.๕๐ ๓๔.๕๐
๓๑.๕๐ ๓๙.๐๐ ๔๐.๕๐
๖๐.๐๐ ๓๙.๕๐ ๒๖.๐๐

๒๕

รายวิชา เป้าหมายคณุ ภาพผลสัมฤทธ์ิ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ทกั ษะการเรียนรู้ ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ ๔๔.๐๐ ๓๙.๐๐ ๓๘.๕๐
คณติ ศาสตร์ ๕๖.๐๐ ๕๓.๐๐ ๔๕.๐๐
วิทยาศาสตร์ ๒๘.๕๐ ๒๓.๕๐ ๒๓.๐๐
ชอ่ งทางอาชพี ๒๒.๐๐ ๒๗.๐๐ ๒๕.๕๐
ทกั ษะอาชพี ๓๑.๐๐ ๒๙.๐๐ ๒๐.๕๐
พัฒนาอาชีพ ๕๘.๕๐ ๖๕.๐๐ ๕๘.๐๐
เศรษฐกจิ พอเพียง ๓๗.๐๐ ๓๙.๐๐ ๓๙.๐๐
สขุ ศกึ ษา พลศึกษา ๔๘.๕๐ ๓๗.๐๐ ๔๖.๐๐
ศลิ ปศกึ ษา ๗๘.๕๐ ๖๑.๐๐ ๔๕.๐๐
สังคมศึกษา ๔๗.๐๐ ๕๔.๐๐ ๕๙.๐๐
ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง ๔๕.๐๐ ๓๗.๐๐ ๓๐.๕๐
การพัฒนาตนเองชุมชน สงั คม ๕๓.๕๐ ๔๐.๐๐ ๓๓.๐๐
๓๐.๐๐ ๓๗.๕๐ ๓๙.๐๐
๕๘.๕๐ ๓๘.๐๐ ๒๔.๕๐

ตารางที่ ๔ ผลการประเมนิ คุณธรรมผเู้ รียน

ภาคเรยี น ๒ / ๒๕๖๐ ภาคเรียน ๑ / ๒๕๖๑

ระดับ จานวน พอใช้ ดี ดี ร้อยละ จานวน พอใช้ ดี ดี ร้อยละ
มาก ระดบั มาก ระดับ
ประถม ดีมาก ดมี าก
ม.ตน้
ม.ปลาย ๔๕ ๑๘ ๒๒ ๕ ๑๑.๑๑ ๑๖๕ ๗๗ ๘๑ ๗ ๔.๒๔

๔๐๔ ๑๔๙ ๑๗๓ ๘๒ ๒๐.๓๐ ๕๓๘ ๑๖๔ ๒๔๑ ๑๓๓ ๒๔.๗๒

๖๙๐ ๓๐๔ ๓๑๗ ๖๙ ๑๐.๐๐ ๖๙๕ ๙๗ ๓๐๕ ๒๙๓ ๔๒.๑๖

เฉลีย่ ๑๓.๘๐ เฉลีย่ ๒๓.๗๑

๒๖

จากตารางท่ี ๔ ผลการประเมินคุณธรรมผู้เรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอเมืองนครปฐม แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ รียน ภาคเรยี น ๒/๒๕๖๐ มีร้อยละเฉลีย่ ระดับ ดมี าก ของการ
ประเมินคุณธรรมเท่ากับ ๑๓.๘๐ และ ภาคเรียน ๑/๒๕๖๑ มีร้อยละเฉลี่ยระดับ ดีมาก ของการ
ประเมินคุณธรรม เท่ากบั ๒๓.๗๑

ตารางที่ ๕ ผลการประเมนิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้

ปี ๒/๒๕๖๐ ปี ๑/๒๕๖๑

ระดบั จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ร้อยละ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ร้อยละ
ระดับ ระดับ
ประถม ดีมาก ดมี าก
ม.ตน้
ม.ปลาย ๙๙ ๔๐ ๑๘ ๔๑ ๔๑.๔๑ ๒๐๒ ๑๓ ๓๓ ๑๕๖ ๕๙.๓๒

๘๙๘ ๒๒๓ ๔๓๗ ๒๓๘ ๒๖.๕๐ ๙๔๙ ๑๖๑ ๔๑๘ ๓๗๐ ๓๒.๗๕

๑๓๙๑ ๒๖๒ ๕๘๙ ๕๔๐ ๓๘.๘๒ ๑๓๗๘ ๑๒๙ ๖๓๔ ๖๑๕ ๔๑.๗๓

เฉล่ีย ๓๕.๕๘ เฉลีย่ ๔๔.๖๐

จากตารางที่ ๕ ผลการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ของผู้เรียน
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ของศนู ยก์ ารศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เหน็ วา่ ผู้เรียน ภาคเรียน ๒/๒๕๖๐ มี
ร้อยละเฉลี่ยระดับ ดีมาก ของการประเมนิ ทกั ษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใชเ้ ทา่ กบั ๓๕.๕๘ และ
ภาคเรียน ๑/๒๕๖๑ มีร้อยละเฉล่ียระดับ ดีมาก ของการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้/การ
นาไปใช้ เทา่ กับ ๔๔.๖๐

๒๗

ตารางท่ี ๖ ผลการประเมนิ ทักษะการคดิ /การนาไปใช้

ปี ๒/๒๕๖๐ ปี ๑/๒๕๖๑

ระดับ จานวน พอใช้ ดี รอ้ ยละ ดี ดี รอ้ ยละ
ดมี าก ระดับ จานวน พอใช้ มาก ระดับ
ประถม ดมี าก
ม.ตน้ ดมี าก ๕๙.๓๒
ม.ปลาย
๙๙ ๔๐ ๑๘ ๔๑ ๔๑.๔๑ ๒๐๒ ๑๓ ๓๓ ๑๕๖ ๓๒.๗๕

๘๙๘ ๒๒๓ ๔๓๗ ๒๓๘ ๒๖.๕๐ ๙๔๙ ๑๖๑ ๔๑๘ ๓๗๐ ๔๑.๗๓

๑,๓๙๑ ๒๖๒ ๕๘๙ ๕๔๐ ๓๘.๘๒ ๑,๓๗๘ ๑๒๙ ๖๓๔ ๖๑๕ ๔๔.๖๐

เฉล่ีย ๓๕.๕๘ เฉลยี่

จากตารางท่ี ๖ ผลการประเมินทักษะการคิด/การนาไปใช้ของผู้เรียน หลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียน ภาคเรียน ๒/๒๕๖๐ มีร้อย
ละเฉลี่ยระดับ ดีมาก ของการประเมินทักษะการคิด/การนาไปใช้เท่ากับ ๓๕.๕๘ และภาคเรียน ๑/
๒๕๖๑ มรี ้อยละเฉลยี่ ระดับ ดีมาก ของการประเมนิ ทักษะการคิด/การนาไปใช้ เท่ากบั ๔๔.๖๐

ตารางที่ ๗ ผลการจดั การศึกษาต่อเนอื่ ง (อาชพี ) / การนาไปใช้

การนาไปใช้ จานวนท่ีจัด ปี ๒๕๖๑ รอ้ ยละ
จานวนนาไปใช้

ลดรายจ่าย ๓,๔๕๙ ๒,๔๘๙ ๗๑.๙๖

ประกอบอาชีพ ๘๐๗ ๒๓.๓๓

พฒั นาอาชีพ ๑๖๓ ๔.๗๑

เฉลี่ย ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๗ ผลการจัดการศึกษาต่อเน่ืองของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง (อาชีพ) ปี
๒๕๖๐ มรี ้อยละของผู้ผ่านการเรยี นรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เทา่ กับร้อย
ละ ๑๐๐ ด้านทักษะ เท่ากับร้อยละ ๙๔.๒๘ และปี ๒๕๖๑ มีร้อยละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตรผา่ นเกณฑ์ ดา้ นความรู้ เทา่ กับ รอ้ ยละ ๑๐๐ ด้านทักษะ เทา่ กบั รอ้ ยละ ๑๐๐

๒๘

ตารางท่ี ๘ ผลการจัดการศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/การนาไปใช้

การนาไปใช้ จานวนที่จัด ปี ๒๕๖๑ ร้อยละ
เผยแพร่ความรู้ ๔๕๘ จานวนนาไปใช้ ๑๑.๗๙
การดารงชีวิต ๗๙.๔๘
ประกอบอาชีพ ๕๔ ๘.๗๓
๓๖๔
๔๐

จากตารางท่ี ๘ ผลการจัดการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง
ปี ๒๕๖๐ มีร้อยละของผู้ผ่านการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้
เท่ากับร้อยละ ๑๐๐ ด้านทักษะ เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐ และปี ๒๕๖๑ มีร้อยละของผู้ผ่านการเรียนรู้
ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐ ด้านทักษะ เท่ากับ ร้อย
ละ ๑๐๐

ตารางท่ี ๙ ผลการจัดการศกึ ษาดจิ ิทลั ชุมชน/การนาไปใช้

การนาไปใช้ จานวนที่จดั ปี ๒๕๖๑ รอ้ ยละ
เผยแพร่ความรู้ ๘๔๙ จานวนนาไปใช้ ๑๐.๘๔
การดารงชีวติ ๘๔.๔๕
ประกอบอาชีพ ๙๒ ๔.๗๑
๗๑๗
๔๐

จากตารางที่ ๙ ผลการจดั การศึกษาดจิ ิทัลชุมชนของ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม แสดงใหเ้ ห็นว่า ผเู้ รยี นการศึกษาดิจิทลั ชุมชน ปี ๒๕๖๑ มรี ้อยละ
ของผู้ผ่านการเรียนรตู้ ามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรผ่านเกณฑ์ ดา้ นความรู้ เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐ ดา้ น
ทกั ษะ เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐

๒๙

ตารางที่ ๑๐ การศึกษาตามอัธยาศยั

ปี งปม. กจิ กรรม / โครงการ แผน ผล รอ้ ยละ สภาพ

๒๕๖๐ โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ๔๕,๗๐๒ ๔๔,๕๖๗ ๙๗.๕๑ ไมบ่ รรลุ
๒๕๖๑ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย ๔๔,๕๖๗ ๕๗,๑๔๑ > ๒๘.๒๑ บรรลุ

จากตารางท่ี ๑๐ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองนครปฐม แสดงให้เหน็ ว่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ มกี ารดาเนินงานจัด
การศึกษาตามอัธยาศัยไม่บรรลุผลตามแผน เพราะสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมเฉพาะในบริเวณพื้นท่ี
หอ้ งสมดุ โดยยังไม่เข้าถึงผูร้ ับบริการ ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ มกี ารดาเนินงานจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
ไม่บรรลุผลตามแผน เพราะสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมท่ีไม่หลากหลายยังไม่เป็นท่ีสนใจต่อ
ผรู้ ับบรกิ ารและปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีการดาเนนิ งานจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย บรรลุตามแผน เพราะ
สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการและเข้าถึงผู้รับบริการ
เป็นการเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ของผู้รับบริการ คือ การให้บริการห้องสมุดประชาชน หน่วยบริการรถ
โมบายเคล่ือนท่ี ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุด กศน.
ตาบล กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น บา้ นหนงั สือชมุ ชน รวมถึงมีอาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน

ในการนี้ เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี
คุณภาพสูงขึ้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม ได้กาหนด
เป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพสูงขึ้น ได้แก่ ๑)
ผู้เรียนสามารถคิดได้อย่างคล่องแคล่ว ๒) มีความคิดยืดหยุ่น ๓) มีความคิดริเริ่ม และ ๔) มีความคิด
ละเอยี ดลออ

จากการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม ได้วิเคราะห์ข้อมูลและกาหนด
แนวทางการพฒั นาระยะตอ่ ไป มีประเด็นแนวคดิ และแนวทางในการพัฒนางานระยะต่อไป ดังนี้

๓๐

ดา้ นการบริหารสถานศึกษา
๑. สถานศกึ ษาจดั สง่ เสริม พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทท่ี าหน้าที่จดั

การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ีความรู้ความสามารถ และทักษะในการจดั
กิจกรรมการเรยี นรอู้ ย่างครูมืออาชีพ

๒. สถานศึกษาส่งเสริมใหภ้ าคเี ครือข่าย เขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยการมอบโล่ ใบประกาศเกียรตคิ ุณเพื่อยกยอ่ งเชิดชูเกียรติแก่
เครือข่าย

๓. พัฒนาครกู ารศึกษาขนั้ พื้นฐานใหม้ ปี ระสิทธิภาพใน การจัดกระบวนการเรยี นรู้
๔. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับโอกาสในการพัฒนา
ตนเองในทุก ๆ ด้านอยา่ งเสมอภาค
๕. สง่ เสรมิ ใหภ้ าคีเครือข่าย มีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั
๖. กาหนดแนวทางการดาเนินงานตามระบบวงจรคณุ ภาพ (PDCA) ทุกกจิ กรรม/
โครงการของสถานศกึ ษา
ด้านการจดั การศกึ ษา
๑. พัฒนาครกู ารศึกษาขนั้ พื้นฐานในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับ
ผ้เู รยี น
๒. วเิ คราะห์ผู้เรียนเพอ่ื จัดการเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมท้งั รายบุคคล และรายกลุ่ม
๓. พฒั นาครใู หม้ ีความรู้ในการพัฒนาสอื่ และนวตั กรรมในการจดั การเรียนการสอน
๔. สง่ เสรมิ ใหค้ รูนางานวิจยั ในช้ันเรยี นมาเปน็ แนวทางในการพัฒนาการจดั การเรียน
การสอนเพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาผเู้ รียนได้อย่างแท้จรงิ
ดา้ นการควบคุม
๑. สถานศกึ ษามีการ กากับ ตดิ ตาม นเิ ทศ ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยครอบคลมุ ทุกกิจกรรม/โครงการ
๒. สถานศึกษาดาเนินงานประกันคุณภาพตามระบบประกันคุณภาพ โดยพัฒนา
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษา ซ่ึงเป็น
กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๓. สถานศึกษามีการนิเทศ ติดตามประเมินผล สรุปผล รายงานผลการจัดกิจกรรม
ทุกกิจกรรม/โครงการ แล้วนามาพฒั นา ปรบั ปรงุ ในปีต่อไป

๓๑

๒. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม

ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสถานศึกษา (SWOT)

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน

จุดแข็ง (S) จดุ ออ่ น (W)

ดา้ นบคุ ลากร ดา้ นบุคลากร

1. มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ มคี วามพร้อมในการ 1. ครมู คี วามแตกต่างระหว่างวัยวุฒิ

ปฏบิ ตั งิ านท่ีได้รับมอบหมาย มภี าวะผ้นู า และ 2. ขาดการายงานผลความก้าวหน้าในการจัด

มีมนษุ ย์สัมพันธด์ ี กจิ กรรม/โครงการต่าง ๆ

2. บคุ ลากรสามารถปรับตัวในการปฏิบตั ิงานและ 3. ครูมภี าระงานอ่นื ที่ต้องปฏิบัติ จงึ ขาดเวลาการ

เขา้ กับชมุ ชนได้ พัฒนากิจกรรมการเรยี นการสอน
3. มีบุคลากรจัดกจิ กรรมครบทุกตาบล 4. การรายงานผลการดาเนินงานของ ครู กศน.
4. บคุ ลากรมสี ว่ นร่วมในการวางแผนการ
ตาบล ยงั ไม่ต่อเนอื่ ง
ปฏบิ ตั งิ าน 5. บคุ ลากรยงั ขาดทักษะทีจ่ าเป็นต่อการดาเนินงาน
5. บุคลากรมีการพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่องและ
ตามระบบประกนั คณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ได้รับการอบรม 6. ครู กศน.ตาบล ขาดทักษะในการออกแบบการ
6. บคุ ลากรนาเทคโนโลยมี าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์
เรยี นรู้
เพ่ือพัฒนางานให้มปี ระสิทธิภาพดียิ่งขึน้ 7. ในการจดั กิจกรรมเนน้ ปรมิ าณมากกวา่ เนอ่ื งจาก
ด้านบริหารงานทว่ั ไป
1. สนับสนุนส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรพฒั นาตนเองอยู่ ครมู ีภาระงานมากเกนิ ไปในหนา้ ทแี่ ละการ
สนบั สนนุ ภาคเี ครือขา่ ย
เสมอ ด้านบริหารงานทัว่ ไป
2. สถานศกึ ษามีการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1. การสรา้ งระบบงานทดแทนยงั ไมด่ ีพอ
2. ขาดการสรา้ งแรงจูงใจในการทางาน
หลากหลายตอบสนองความต้องการของ 3. ขาดการใหบ้ ริการดา้ นสารสนเทศ
ผู้เรยี น/ผู้รบั บรกิ าร 4. ขาดการนาผลการประเมนิ การนิเทศตดิ ตามผล
3. ผ้บู รหิ ารใหอ้ สิ ระและสนับสนุนในการ มาวิเคราะห์ปรับปรุงในการทางาน
ปฏิบัตงิ านของบุคลากร ด้านงบประมาณ
4. มี กศน.ตาบลกระจายอยู่ทุกพื้นที่ ๒๕ ตาบล 1. การเบิกจา่ ยงบประมารลา่ ช้า มกี ารปรบั เปลยี่ น
สามารถจัดการศกึ ษาใหก้ ับประชาชน แผนบ่อย
กล่มุ เปา้ หมายได้อยา่ งท่ัวถึง 2. งบประมาณมากใช้ไม่ทนั
5. มกี ารนเิ ทศตดิ ตามผล

๓๒

ดา้ นงบประมาณ
1. มกี ารวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณอย่างเป็น

ระบบ
2. มีการใชเ้ งินงบประมาณตามแผนงานทว่ี างไว้

๓๓


Click to View FlipBook Version