วนั ฉตั รมงคล
๔ พฤษภาคม
ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหมอ่ มขอเดชะ
ขา้ พระพุทธเจา้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”อาเภอสตั หีบ
กศน.อาเภอสัตหีบ
ภาพจาก : https://www.appdisqus.com/2019/05/06/thailands-rama-x-photo.html
ความหมายของวนั ฉตั รมงคล
วันฉัตรมงคล (อ่านวา่ ฉัด-ตระ-มง-คล) มีความหมายตามพจนานุกรมว่า พระราชพิธี
ฉลองพระเศวตฉัตร ทาในวันซึ่งตรงกบั วันบรมราชาภเิ ษก
ความสาคญั ของวนั ฉตั รมงคล
วนั ฉัตรมงคล เป็นวันทร่ี าลกึ ถงึ พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี 10 แหง่ ราชวงศ์
จักรี และราชอาณาจกั รไทย ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้
เจ้าอย่หู วั หลงั จากเสดจ็ ข้ึนเถลงิ ถวัลยราชสมบตั ิ ตอ่ จากพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร เมอ่ื วันท่ี 13 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 และดารงพระอสิ รยิ ยศเปน็ “พระบาทสมเดจ็ พระวชิร
เกลา้ เจา้ อย่หู วั ”
ดงั น้นั รัฐบาลไทยและพสกนกิ ร จึงไดน้ อ้ มเกล้าน้อมกระหม่อม จัดงานพระราชพิธฉี ลองพระเศวตฉตั รหรือ
รัฐพิธีฉตั รมงคล หรอื อาจเรยี กวา่ พระราชพิธฉี ัตรมงคล ซ่งึ กระทาในวนั บรมราชาภิเษก ถวายเมอ่ื วนั ท่ี 4 พฤษภาคม
พ.ศ. 2562 ทั้งนี้ พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ไดม้ พี ระปฐมบรมราชโองการในพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก
นนั้ วา่ “เราจะสบื สาน รักษา และตอ่ ยอด และครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชน์สุขแหง่ อาณาราษฎรตลอดไป”
ตั้งแต่นัน้ เป็นต้นมา พสกนกิ รชาวไทยจึงได้ถือเอาวันที่ 4 พฤษภาคม ของทกุ ปีเป็นวันฉัตรมงคล
เพ่อื นอ้ มราลกึ ถงึ วนั สาคัญน้ี
ภาพจาก : https://www.prachachat.net/พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก/news-323059
ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
การจัดพระราชพิธบี รมราชาภิเษกนน้ั มหี ลักฐานปรากฏในหลกั ศิลาจารึก วดั ศรีชุมของพญาลไิ ท
ว่าเรม่ิ ตน้ มาตง้ั แต่ครง้ั พ่อขนุ ผาเมอื งได้อภเิ ษกพ่อขนุ บางกลางหาว หรือพ่อขุนบางกลางทา่ ว ใหเ้ ป็น
ผ้ปู กครองเมอื งสุโขทยั
จากนนั้ ในสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ไดท้ รงฟ้นื ฟู
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกให้ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ โดยพระมหากษัตริยท์ ย่ี ังมิได้ทรงประกอบพระราชพธิ บี รม
ราชาภิเษก จะไม่ใช้คาว่า “พระบาท” นาหนา้ “สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ” และคาสั่งของพระองค์ ก็ไม่
เรียกว่า “พระบรมราชโองการ” และอกี ประการหน่ึงคอื จะยงั ไม่มกี ารใช้ นพปฎลเศวตฉตั ร หรือฉตั ร 9
ชนั้
ภาพจาก : https://www.khaosod.co.th/hot-topics/news_2242165
ความเป็นมาของพระราชพธิ ีฉัตรมงคล
ก่อนหน้ารัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีฉัตรมงคลถือเป็น พิธีของเจ้า
พนักงานในพระราชฐาน ที่มีหน้าที่รักษาเครื่องราชูปโภคและพระทวารประตูวัง ได้จัดการสมโภชสังเวยเครื่อง
ราชูปโภคทต่ี นรักษาทุกปีในเดอื นหก และเป็นงานสว่ นตวั ไม่ถือเป็นงานหลวง
จนกระทงั่ สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนครองราชย์ ได้ทรงกระทาพิธีฉัตรมงคลขึ้น
เปน็ ครง้ั แรก ในวนั บรมราชาภเิ ษก เมอ่ื วนั ท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2393 โดยมีพระราชดารวิ ่า วนั บรมราชาภิเษกเป็น
มหามงคลสมัยท่ีควรแก่การเฉลิมฉลองในประเทศที่มีพระเจ้าแผ่นดิน จึงถือให้วันนั้นเป็นวันนักขัตฤกษ์มงคลกาล
และควรที่จะมีการสมโภชพระมหาเศวตฉัตรให้เป็นสวัสดิมงคลแก่ราชสมบัติ แต่เน่ืองจากเป็นธรรมเนียมใหม่ ยาก
ต่อการเข้าใจ อีกท้ังเผอิญท่ีวันบรมราชาภิเษกไปตรงกับวันสมโภชเคร่ืองราชูปโภคท่ีมีแต่เดิม พระบาทสมเด็จพระ
จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั จึงทรงอธบิ ายวา่ วันฉตั รมงคลเปน็ วันสมโภชเครอ่ื งราชปู โภค จึงไม่มีใครตดิ ใจสงสยั
ดังน้ัน จึงได้มีพระราชดาริจัดงานพระราชกุศลพระราชทานช่ือว่า "ฉัตรมงคล" น้ีขึ้น โดยได้มีการเฉลิม
ฉลองด้วยการนิมนต์พระสงฆ์มาสวดเจริญพุทธมนต์ ในวันข้ึน 13 ค่า เดือน 6 รุ่งขึ้นมีการถวายภัตตาหารแด่
พระสงฆ์ที่พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทและพระท่ีน่ังไพศาลทักษิณ ด้วยเหตุน้ีจึงถือว่าการเฉลิมฉลองพระราชพิธีฉัตร
มงคล เร่ิมมีในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเป็นครั้งแรก
ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ี 5 วันบรมราชาภิเษก ตรงกับเดือน 12 จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานฉัตรมงคลในเดือน
12 แต่ไม่ได้รับการยินยอม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงแก้ไขด้วยการออกพระราชบัญญัติว่า
ด้วยตราจลุ จอมเกล้าสาหรับตระกูลข้ึน ให้มีพระราชทานตรานี้ตรงกับวันคล้ายบรมราชาภิเษก ท่านผู้หลักผู้ใหญ่จึง
ยินยอมให้เล่ือนงานฉัตรมงคลมาตรงกับวันบรมราชาภิเษก แต่ยังให้รักษาประเพณีสมโภชเคร่ืองราชูปโภคอยู่
ตามเดิม รปู แบบงานวนั ฉตั รมงคลจงึ เปน็ เช่นนีจ้ นถงึ ปัจจบุ นั
ภาพจาก : https://www.prachachat.net/พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก/news-323059
พระราชพิธีฉตั รมงคลในรัชกาลปัจจบุ นั
ในรัชกาลปจั จบุ ัน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั งาน 3 วัน นั่นคือ
วันฉัตรมงคล ตรงกับวันที่ 4 พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบพระราชพิธี
บรมราชาภิเษก ประกอบดว้ ย สรงพระมุรธาภเิ ษก ณ ชาลาพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ทรงรับน้าอภิเษก
ณ พระที่น่ังอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ทรงรับเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ขัตติยราชวราภรณ์ และ
พระแสง ณ พระทนี่ ่ังภัทรบฐิ เลีย้ งพระ พระสงฆ์ดับเทียนชัย ณ พระทน่ี ง่ั อมรนิ ทรวินิจฉัย
วันท่ี 5 พฤษภาคม เป็นพระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย สถาปนาพระฐานันดรศักดิ์
พระบรมวงศ์ และเสด็จพระราชดาเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราสถลมารค จากพระท่ีน่ัง
อาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท วัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม และวัดพระเชตุพนวิมล
มงั คลาราม
วันท่ี 6 พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออก ณ สีหบัญชร พระท่ีน่ังสุทไธสวรรย
ปราสาท ให้ประชาชนเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล เสด็จออกให้ทูตานุทูตและกงสุลต่างประเทศเฝ้าฯ
ถวายพระพรชัยมงคล ณ พระทนี่ ั่งจักรมี หาปราสาท
กจิ กรรมทค่ี วรปฏิบตั ิในวนั ฉตั รมงคล
1.ประดบั ธงชาติตามอาคารบ้านเรือนและสถานท่ีราชการ
2.ร่วมทาบุญตักบาตร ประกอบพิธที างศาสนา เพอื่ ถวายเปน็ พระราชกุศล
3.น้อมเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายพระพรชยั พร้อมเพรียงกนั กล่าวคาถวายอาศิรวาทราชสดุดี
ถวายชยั มงคลให้ทรงพระเกษมสาราญ ทรงเจรญิ พระชนมพรรษายง่ิ ยืนนาน เป็นมหามงิ่ ขวัญ
แกพ่ สกนิกรชาวไทยไปชัว่ กาลย่งิ ยนื นาน
เมื่อวันฉัตรมงคลเวียนมาบรรจบครบรอบอีกหน่ึงครา ในวันท่ี 4 พฤษภาคม พสกนิกร
ชาวไทยทั้งหลายจึงควรระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้า
เจ้าอยู่หัว ซึ่งได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจอันมีคุณอนันต์แก่ปวงชนชาวไทยอย่าง
หาทสี่ ดุ มิได้
บรรณานุกรม
กระปุก. 2563.วันฉตั รมงคล (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ได้จาก
https://hilight.kapook.com/view/188122. 3 พฤษภาคม 2563