The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผล โคก หนอง นา โมเดล ปณัฐตา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2021-01-27 02:10:20

รายงานผล โคก หนอง นา โมเดล ปณัฐตา

รายงานผล โคก หนอง นา โมเดล ปณัฐตา

บทสรุปผบู้ ริหาร

โครงการพัฒนาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอ
บางละมุง มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาครู กศน.แกนนา กศน.อาเภอบางละมุงให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีส่วนร่วม
ในการขยายผลท่ีได้จากการอบรมสู่ นักศึกษา กศน.และประชาชนผู้สนใจในพื้นท่ี ท้ังน้ีเพ่ือนามามาปรบั ใช้ในการ
แกไ้ ขปัญหาและสรา้ งความสมบรู ณ์ ความกินดี อย่ดู ี มงี านทาใหก้ ับชุมชน โดยมผี ู้เขา้ ร่วมโครงการจานวน 28 คน
โดยมี วิทยากรแกนนาท่ีผา่ นการอบรมวิทยากรแกนนาระดับจงั หวัด จานวน 5 คน เป็นผรู้ ับผดิ ชอบ

โครงการพัฒนาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ดำเนินกำรจัด
กจิ กรรมในวนั ที่ 20 มกรำคม 2564 ณ ห้องประชุมเล็กจติ ตภาวันวทิ ยาลยั อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบรุ ี ซึ่งการ
อบรมดังกล่าวสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย ในมาตรฐานที่ 3
คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ประเด็นท่ี 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา และประเด็น
ที่ 3.4 การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่ือสนับสนนุ การ บรหิ ารจัดการ ของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

นางประพิศ นพประชา
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบางละมงุ



คานา

นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินการของ สานักงาน กศน. 2564 ดา้ นการนอ้ มนาพระบรมราโชบายด้าน
การศึกษาสู่การปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
โครงการภายใต้แผนงานสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นในการขับเคล่ือนการพัฒนางานทางด้าน
การศกึ ษาทจี่ ดั ขนึ้ ให้กบั บคุ ลากร นกั ศกึ ษา ประชาชน ผรู้ บั บริการของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอบางละมุง ที่ได้ดาเนินงานตามภารกิจของสานักงานส่งเสริมนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดชลบุรี ในการดาเนินการพัฒนาบุคลากรครูแกนนา ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” นามาขยายผลต่อให้กับบุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง
เพอ่ื นาความรู้ที่ไดไ้ ปขยายผลให้กับนกั ศึกษาและประชาชนในพน้ื ที่ต่อไป

เพื่อเป็นการประเมินผลถึงระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินโครงการพัฒนาครู กศน.แกน
นา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอบางละมุง จึงได้ดาเนินการสรุปผลการ
ดาเนนิ ดงั กลา่ วขน้ึ เพือ่ เปน็ แนวทางในการพัฒนาการศึกษาขององค์กรต่อไป

ผจู้ ัดทา



สารบญั

คานา ....................................................................................................................................................................ก
สารบญั .................................................................................................................................................................ข
สว่ นที่ 1 บทนา.................................................................................................................................................... 1
สว่ นท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้อง................................................................................................................................. 3
ส่วนท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินงาน.................................................................................................................................12
ส่วนที่ 4 ผลการปรเมิน......................................................................................................................................19
ส่วนท่ี 5 สรุปผลการประเมิน.............................................................................................................................19
ภาคผนวก ...........................................................................................................................................................20

บทที่ 1
บทนา

1. หลักการและเหตุผล
ตามท่ีสานักงาน กศน. มีนโยบายและจุดเน้นประจาปีงบประมาณ 2564 ด้านการน้อมนาพระบรม

ราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ “หนึ่งชุมชน หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถิ่นไทยงาม” เพื่อความกินดี อยู่
ดี มีงานทา เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้าใส ,พลังงานทดแทน(แสงอาทิตย์), จิตอาสาพัฒนาชุมชน ซึ่ง
สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ตามแผนฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โครงการภายใต้แผนงานสร้าง
ความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพอื่ ฟน้ื ฟเู ศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019

สานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เล็งเห็นถึงความสาคัญของนโยบายดังกล่าว และได้จัดทาโครงการ
พัฒนาครู กศน.แกนนาเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ข้ึน ระหว่างวันท่ี 8 - 9 ธันวาคม
2563 ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง ตาบลสองสลึง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาและสร้างความสมบูรณ์ ความกินดี อยู่ดี มีงาน
ทาให้กบั ชุมชน โดยพฒั นาครู กศน.แกนนาเพ่ือเปน็ ตน้ แบบและขยายผลให้กบั ครู กศน. บคุ ลากรในสถานศึกษาใน
สังกดั นักศกึ ษา กศน. และประชาชนผู้สนใจในพื้นท่นี ั้น

ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง จึงได้ขานรับพร้อม
ขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว และดาเนินการขยายผลเพ่ือพัฒนาบุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง ให้มคี วามรู้ดา้ นเกษตรทฤษฎใี หม่ “โคก หนอง นา โมเดล”สาหรับไปถ่ายทอดความรู้
ให้กับกลมุ่ เป้าหมายต่อไป

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง ใน

การขยายผลสู่ นกั ศกึ ษา กศน.และประชาชนผสู้ นใจในพ้ืนท่ี
2.2 เพ่ือน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่

“โคก หนอง นา โมเดล”ในการปรับประยกุ ต์ใชแ้ ก้ไขปัญหาและสรา้ งความสมบรู ณ์ ความกนิ ดี อยูด่ ี มงี านทาใหก้ ับ
ชมุ ชน

3. เปา้ หมาย
3.1 เชิงปริมาณ บุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง

จานวน 28 คน
3.2 เชิงคุณภาพ บุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง ท่ี

ผ่านการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจสามารถนาไป-ขยายผลได้

2

4. การติดตามและประเมินผลโครงการ
- แบบทดสอบก่อน-หลงั เข้ารบั การอบรม

- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
- รายงานผลการจดั โครงการ

3

บทที่ 2
เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง

รายงานโครงการพัฒนาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.
อาเภอบางละมงุ คร้ังนี้ ผ้จู ดั ทาได้ทาการคน้ ควา้ เนือ้ หาเอกสารการศกึ ษาและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง ดงั น้ี

1. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. แนวคดิ และการดาเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดาริ
3. การดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. โคก หนอง นา โม เดล

1. หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ความหมายและความเป็นมา
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ปรัชญาช้ีถงึ แนวการดารงอยู่ และปฏิบัตติ นของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่อื ใหก้ ้าวทันต่อโลกยุคโลกาภวิ ัตน์

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภมู ิคมุ้ กนั
ในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทัง้ ภายนอก และภายใน ทง้ั นี้จะตอ้ งอาศัย
ค ว า ม ร อ บ รู้ ค ว า ม ร อ บ ค อ บ แ ล ะ ค ว า ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร น า วิ ช า ก า ร ต่ า ง ๆ ม า ใ ช้
ในการวางแผน และการดาเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต
และใหม้ คี วามรอบร้ทู ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพอื่ ให้
สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ ส่ิงแวดล้อม และ
วฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยา่ งดี
ความเป็นมาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราช
ดารัสช้ีแนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี เพ่ือนาไปปฏิบัติ
ในการดาเนินชีวติ ในยามท่ีประเทศประสบปัญหาวิกฤตทิ างเศรษฐกิจใน พ.ศ.2540 ภายหลังเม่อื ได้ทรงเนน้ ย้าแนว
ทางการแก้ไขเพื่อให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์
จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดช ในวนั ท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 ว่า
“…การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน
ส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐานจากมั่นคง
พร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นท่ีสูงโดยลาดับ
ต่อไป…”ใน พ.ศ. 2540 เกิดปัญหาวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระราช

4

ดารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอีกครั้ง เพื่อแนวทางแก้ปัญหาให้กับประเทศ “…การเป็นเสือนั้นไม่สาคัญ สาคัญอยู่ท่ีเรา
มเี ศรษฐกจิ แบบพอมพี อกนิ แบบพอมีพอกนิ น้ัน หมายความวา่ อุ้มชตู นเองไดใ้ หม้ ีพอเพียงกบั ตนเอง อนั น้ีกเ็ คยบอก
ว่าความพอเพียงไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างน้ันมัน
เกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างท่ีผลิตได้มากกว่า
ความตอ้ งการ ก็ขายได้ แต่ขายในทีไ่ มห่ ่างไกลเทา่ ไร ไมต่ ้องเสียค่าขนส่งมากนัก…”คาว่า “พอเพียง” จากพระราช
ดารัสของพระบาทสมเด็จพระเต้าอยู่หัวฯ เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541
ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา พระราชทานความหมายของคาว่า “พอเพียง” ไว้ว่า “…คาว่าพอเพียง
มีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่าน้ัน แต่มี
ความหมายว่า พอมีพอกิน พอมีพอกินน้ีแผลว่าเศรษฐกิจพอเพียงน้ันเอง…” “…ให้เพียงพอน้ีหมายความว่ามีกิน
มีอยู่ ไมฟ่ ุ่มเฟอื ยไม่หรูหราก็ได้แต่วา่ พอ แมบ้ างอยา่ งอาจจะดูฟุ่มเฟือยแต่กท็ าให้มคี วามสุข ถา้ ทาไดก้ ็สมควรจะทา
สมควรท่ีจะปฏิบัติ…” “…Self-sufficiency นั้นหมายความว่า ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่นอยู่ได้
ดว้ ยตนเอง…”

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับ

ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ทั้งน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิง
ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง
พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกจิ ในทุกระดับ ใหม้ สี านึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ
ความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ
สงั คม สิง่ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบไปดว้ ย 5 ส่วน ดงั นี้
สว่ นท่ี 1. กรอบแนวคดิ
เป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิต

ด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และ
วิกฤต เพอ่ื ความม่นั คง และความยง่ั ยืนของการพัฒนา

สว่ นท่ี 2. คุณลักษณะ
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทาง
สายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขัน้ ตอน

5

สว่ นที่ 3. คานิยาม
ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผู้อ่ืน เชน่ การผลติ และการบริโภคท่อี ยูใ่ นระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ
การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ ยนแปลงด้าน
ต่าง ๆ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ โดยคานงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ข้นึ ในอนาคตทัง้ ใกลแ้ ละไกล
สว่ นที่ 4. เงื่อนไข
การตดั สนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั ท้ังความรู้ และคณุ ธรรม
เป็นพนื้ ฐาน 2 เงอ่ื นไข ดังน้ี
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง
ในขั้นปฏบิ ตั ิ
เง่อื นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสรา้ งประกอบด้วย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต และ
มีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ
ส่วนท่ี 5. แนวทางปฏบิ ตั ิ / ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาท่ีสมดุล และยั่งยืน พร้อมรับ
ตอ่ การเปล่ยี นแปลงในทกุ ด้าน ทง้ั ด้านเศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี
2. แนวคดิ และการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวพระราชดาริ
แนวพระราชดารใิ นการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง

1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ า่ ยในทกุ ด้าน ลดละความฟมุ่ เฟือยในการใชช้ ีวติ
2. ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความถูกต้อง ซือ่ สัตย์สจุ รติ
3. ละเลิกการแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแข่งขนั กนั ในทางการคา้ แบบตอ่ สู้กนั อย่างรนุ แรง
4. ไม่หยุดน่ิงท่ีจะหาทางให้ชีวิตหลดุ พ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความร้ใู ห้มีรายได้
เพ่มิ พูนข้นึ จนถึงข้ันพอเพยี งเปน็ เป้าหมายสาคญั
5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิง่ ช่วั ประพฤตติ นตามหลกั ศาสนา

แนวทางการทาเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
ระบบเกษตรกรรมท่ีจะนาไปสู่การเกษตรยั่งยนื โดยมีรูปแบบท่ีดาเนินการมีลักษณะใกล้เคียงกัน และ

ทาให้ ผ้ปู ฏบิ ัติมคี วามสบั สนในการให้ความหมายและวธิ ีปฏบิ ัติท่ีถูกต้อง ได้แกร่ ะบบเกษตรผสมผสานและระบบไร่
นาส่วนผสม ในทนี่ ้จี งึ ขอใหค้ าจากดั ความรวมทัง้ ความหมายของคาทั้ง 2 คา ดังต่อไปน้ี

ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เป็นระบบการเกษตรที่มีการเพาะปลูกพืช
หรือการเล้ียงสัตว์ต่างๆ ชนิดอยู่ในพื้นที่เดียวกันภายใต้การเกื้อกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ
สูงสุด โดยอาศัยหลักการอยู่รวมกันระหว่างพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อมการอยู่รวมกันอาจจะอยู่ในรูปความสัมพันธ์

6

ระหว่างพืชกับพืช พืชกับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ก็ได้ ระบบเกษตรผสมผสานจะประสบผลสาเร็จได้ จะต้องมีการ
วางรูปแบบ และดาเนินการ โดยให้ความสาคัญต่อกิจกรรม แต่ละชนิดอย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม มีการใช้แรงงาน เงินทุน ท่ีดิน ปัจจัย การผลิตและทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรู้จักนาวัสดุเหลือใช้จากการผลิตชนิดหน่ึงมาหมุนเวียนใช้ประโยชน์กับการผลิต
อีกชนิดหน่ึงกับการผลิตอีกชนิดหน่ึงหรือหลายชนิดภายในไร่นาแบบครบวงจร ตัวอย่างกิจกรรมดังกล่าว เช่น
การเลี้ยงไก่ หรอื สกุ รบนบ่อปลา การเลย้ี งปลาในนาข้าว การเล้ียงผึ้งในสวนผลไม้ เป็นตน้
ตามแนวคิดดังกล่าวมีหลักการพน้ื ฐานท่ีสาคัญ 2 ประการ คอื

1) ต้องมีกจิ กรรมการเกษตรตง้ั แต่ 2 กจิ กรรมขน้ึ ไป
2) ต้องเกดิ การเก้อื กลู ประโยชน์ระหว่างกจิ กรรมต่างๆ

ระบบไร่นาสวนผสม (Mixed/Diversefied/Polyculture Farming System) เป็นระบบการเกษตร
ที่มีกิจกรรมการผลิตหลาย ๆ กิจกรรมเพ่ือตอบสนองต่อการบริโภคหรือลดความเสี่ยงจากราคา ผลิตผลที่มีความ
ไม่แน่นอนเท่าน้ัน โดยมิได้มีการจัดการให้กิจกรรมการผลิตเหล่านั้นมีการผสมผสานเกื้อกูลกันเพื่อ ลดต้นทุน
การผลิต และคานึงถึงสภาพแวดล้อมเหมือนเกษตรผสมผสานการทาไร่นาสวนผสมอาจมีการเก้ือกูลกัน
จาก กิจกรรมการผลิตบ้าง แต่กลไกการเกิดข้ึนน้ันเป็นแบบ “เป็นไปเอง” มิใช่เกิดจาก “ความรู้ ความเข้าใจ”
อย่างไร ก็ตามไร่นาสวนผสม สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของเกษตรกรผู้ดาเนินการให้เป็นการดาเนินการ
ในลกั ษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานไดเ้ หตุผลทมี่ าของรปู แบบการเกษตรผสมผสานได้ ปรับดินให้มีคณุ ภาพดว้ ย
การรับแสงแดดไม่ต้องฟุ่มเฟือยเพ่ือบารงุ ใหม่ หากพบว่าสภาพดินในสวนไม่เอ้ืออานวยให้ปลูกพืชเท่าไร แนะนาให้
พรวนดินและเปิดหน้าดินรับแสงแดดโดยตรง เพราะแสงแดดจะช่วยปรับสภาพดินให้มีสารอาหารท่ีเหมาะสม
กบั พืชหรือจะทาการผสมดินในข้ันตอนไปพร้อมๆ กัน
ความชุม่ ช้นื ของดินคือสิ่งที่ต้องรักษา

การรักษาความชุ่มชื้นของดินเอาไว้ จะช่วยกักเก็บน้าไว้ในดินได้อย่างเหมาะสมและส่งผลให้พืชพรรณ
เจริญเติบโตออกดอกออกผลอย่างสวยงามจากการทาเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอย่างย่ิงการทาเกษตรเชิงเดี่ยว
หรือการผลติ สินค้า เกษตรชนดิ เดียว เกิดปญั หาหลายๆดา้ นคอื

1) รายได้ของครวั เรอื นไมม่ เี สถยี รภาพ
2) เศษวัสดจุ ากพืชและมลู สัตวไ์ มไ่ ด้นาไปใช้ประโยชน์
3) การผลติ สนิ คา้ เด่ียวบางชนดิ ใช้เงินลงทนุ มาก
4) ครวั เรอื นตอ้ งพ่ึงพงิ อาหารจากภายนอก
ดงั นน้ั จงึ เกดิ แนวคดิ ในการที่หาระบบการผลติ ในไรน่ า ท่สี ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากพ้นื ทีท่ ากินขนาดเล็ก
เพื่อลดความเสี่ยงจากการผลิต ลดการพง่ึ พงิ เงินทนุ ปัจจัยการผลิตและอาหารจากภายนอก เศษพืชและมูลสัตว์ ซ่ึง
เป็นผลพลอยได้จากกจิ กรรมการผลติ ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในไร่นาและทาให้ผลผลติ และรายไดเ้ พิ่มข้ึน
วัตถปุ ระสงค์ของการเกษตรผสมผสาน
1. เพือ่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั คงด้านรายได้
2. เพื่อลดการพึ่งพาดา้ นเงนิ ทนุ ปัจจัยการผลติ และอาหารจากภายนอก
3. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การประหยัดทางขอบขา่ ย
4. เพมิ่ รายได้จากพน้ื ท่ีเกษตรขนาดยอ่ ยทจ่ี ากัด

7

นอกจากนี้ยังมี การเพ่ิมพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ลดการทาลายส่ิงแวดล้อม
ทาใหเ้ กษตรกรมคี วามเป็นอสิ ระในการดารงชวี ติ

วิธกี ารแบ่งสัดส่วนกจิ กรรมเกษตรระบบผสมผสาน
เกษตรผสมผสานเป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการท่ีดินและน้าเพ่ือการเกษตรในที่ดิน

ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน
พระราชดาริน้เี พอื่ เปน็ การชว่ ยเหลอื เกษตรกร การจดั การพนื้ ที่แบ่งได้เปน็ 4 ส่วน คือ 30:30:30:10 ดังนี้

ขุดสระเกบ็ กักนา้
พื้นที่ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้า เพื่อให้มีน้าใช้ สม่าเสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้าฝนในฤดูฝน

และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรือระยะฝนท้ิงช่วง ตลอดจนการเล้ียงสัตว์ และพืชน้าต่างๆ เช่น ผักบุ้ง
ผักกระเฉด โสน ฯลฯ

ปลกู ข้าว
พ้ืนที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพ่ือใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครัวเรือนให้เพียงพอ

ตลอดปี โดยไม่ต้องซือ้ หาในราคาแพง เปน็ การลดคา่ ใชจ้ ่าย และสามารพ่ึงตนเองได้

ปลกู ผลไม้ ไม้ยนื ต้น พชื ไร่ พชื ผกั
พ้ืนที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน

และหลากหลายในพื้นที่เดียวกัน เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือจากการบริโภคก็นาไปขายได้
เปน็ ที่อยู่อาศัย และอื่นๆ

พ้ืนท่ีประมาณ 10 % ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เล้ียงสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ
รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะชา ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ นี่เป็นทฤษฎีปฏิบัติจริง พื้นท่ีเป็นนาทั้งหมด
หรือไร่สวนดว้ ย
จดุ เด่นของการเกษตรผสมผสาน

1)การลดความเสี่ยงและความไม่แนน่ อนของรายได้
2)รายได้สมา่ เสมอ
3)การประหยัดทางขอบขา่ ย ค่าใชจ้ ่ายในไรน่ าลดลง มีรายไดส้ ทุ ธเิ พมิ่ มากข้ึน
4) ลดการพง่ึ พงิ จากภายนอก
5) ลดการว่างงานตามฤดูกาล มงี านทาทัง้ ปี ทาใหล้ ดการอพยพแรงงาน
สรปุ
เกษตรผสมผสาน คือ ระบบการเกษตรที่มีการปลูกพืชและหรือมีการเลี้ยงสัตว์หลายชนิด ในพื้นที่
เดียวกัน โดยท่ีกิจกรรมแต่ละชนิด จะต้องเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการใช้ทรัพยากร
ทม่ี ีอยู่อย่างเหมาะสมเพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสดุ มีความสมดลุ ของสภาพแวดลอ้ มและเพมิ่ พนู ความอดุ มสมบูรณ์

8

ของทรัพยากรธรรมชาติ เป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างมีระบบสามารถนาไปบูรณาการใช้ได้กับทุกพ้ืนที่
และทุกภมู ศิ าสตร์ เป็นแนวคิดที่ทาไดจ้ รงิ แกป้ ญั หาไดจ้ ริงและสามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้เป็นอย่างดี

3.การดารงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง จงึ ประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิ ดังน้ี
1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีที่ไมน่ ้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบยี ดเบียนตนเองและ

ผู้อน่ื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคทอี่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถงึ การตดั สินใจเก่ียวกับระดับความพอเพยี งน้ัน จะตอ้ งเป็นไปอย่างมีเหตผุ ล โดย

พิจารณาจากเหตปุ ัจจัยที่เก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ
3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดขึ้น

โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี เง่ือนไขของการตัดสินใจ
และดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี ง 2 ประการ ดงั นี้

1. เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู ก่ียวกับวชิ าการต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่
จะนาความรูเ้ หล่าน้ันมาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั เพือ่ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏบิ ัติ

2. เงือ่ นไขคณุ ธรรม ทีจ่ ะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยส์ จุ ริต
และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ
การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เพอ่ื การดารงชีวติ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เง่ือนไข" ที่
คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

9

นามาใชใ้ นการรณรงค์เผยแพรป่ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อตา่ ง ๆ อยู่ในปัจจุบนั ซง่ึ ประกอบด้วย
ความ "พอประมาณ มเี หตุผล มีภมู ิคมุ้ กัน" บนเงอื่ นไข "ความร"ู้ และ "คุณธรรม"

การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้นัน้ ขั้นแรก ต้องยึดหลกั "พง่ึ ตนเอง" คือ พยายามพ่งึ ตนเองให้ได้ก่อน
ในแต่ละครอบครัวมีการบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรจู้ ัก เช่น
ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็นหน้ี และรู้จักดึง
ศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยส่ีให้ได้ในระดับหน่ึง การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ
ดาเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขท่ีแท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้อง
เบียดเบยี นตนเอง หรอื ดาเนินชีวติ อย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบยี นผ้อู น่ื หรอื เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม

4. โคก-หนอง-นา โมเดล

โคก-หนอง-นา โมเดล คือ การจัดการพื้นที่ซึ่งเหมาะกับพื้นที่การเกษตร ซึ่งเป็นผสมผสานเกษตร
ทฤษฎีใหม่ เข้ากับภมู ปิ ญั ญาพืน้ บ้านทอ่ี ยู่อยา่ งสอดคล้องกับธรรมชาติในพื้นทนี่ ั้นๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เป็นการ
ท่ใี ห้ธรรมชาติจัดการตัวมันเองโดยมี มนษุ ย์เป็นสว่ นส่งเสรมิ ใหม้ ันสาเรจ็ เร็วขึน้ อยา่ งเปน็ ระบบ
โคก-หนอง-นา โมเดล ซึ่งเปน็ แนวทางทาเกษตรอนิ ทรยี แ์ ละการสรา้ งชวี ติ ทย่ี ่ังยนื โดยมีองคป์ ระกอบดังนี้
1. โคก: พ้นื ทส่ี ูง

– ดินที่ขุดทาหนองน้าน้ันให้นามาทาโคก บนโคกปลูก “ป่า 3อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทาง
พระราชดาริ

10

– ปลูกพืช ผัก สวนครัว เลี้ยงหมู เล้ียงไก่ เล้ียงปลา ทาให้พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเย็น
เป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพ้ืนฐาน ก่อนเข้าสู่ข้ันก้าวหน้า คือ ทาบุญ ทาทาน เก็บรักษา ค้าขาย และเชื่อมโยง
เป็นเครอื ขา่ ย

– ปลกู ที่อยู่อาศัยให้สอดคลอ้ งกับสภาพภูมปิ ระเทศ และภมู อิ ากาศ
2. หนอง: หนองน้าหรือแหลง่ นา้

– ขุดหนองเพ่อื กักเก็บนา้ ไวใ้ ช้ยามหนา้ แลง้ หรอื จาเป็น และเปน็ ทรี่ ับน้ายามนา้ ท่วม (หลมุ ขนมครก)
– ขุด “คลองไส้ไก่” หรือคลองระบายน้ารอบพ้ืนท่ีตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยขุดให้คดเคี้ยวไปตาม
พื้นท่เี พอื่ ใหน้ ้ากระจายเตม็ พืน้ ทีเ่ พ่ิมความชุ่มชื้น ลดพลังงานในการรดน้าตน้ ไม้
– ทา ฝายทดน้า เพ่ือเก็บน้าเข้าไว้ในพื้นที่ให้มากที่สุด โดยเฉพาะเม่ือพ้ืนที่โดยรอบไม่มีการกักเก็บน้า
นา้ จะหลากลงมายังหนองน้า และคลองไส้ไก่ ใหท้ าฝายทดนา้ เกบ็ ไว้ใชย้ ามหน้าแลง้
– พัฒนาแหล่งน้าในพ้ืนท่ี ท้ังการขุดลอก หนอง คู คลอง เพื่อกักเก็บน้าไว้ใช้ยามหน้าแล้ง และเพิ่ม
การระบายน้ายามนา้ หลาก
3. นา:
– พื้นท่ีนานั้นให้ปลูกข้าวอินทรีย์พื้นบ้าน โดยเร่ิมจากการฟ้ืนฟูดิน ด้วยการทาเกษตรอินทรีย์ยั่งยืน
คืนชีวิตเล็กๆ หรือจุลินทรีย์กลับคืนแผ่นดินใช้การควบคุมปริมาณน้าในนาเพ่ือคุมหญ้า ทาให้ปลอดสารเคมีได้
ปลอดภัยทั้งคนปลูก คนกิน
– ยกคันนาให้มีความสูงและกว้าง เพื่อใช้เป็นที่รับน้ายามน้าท่วม ปลูกพืชอาหารตามคันนา โดย
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้มีการขับเคลื่อนโครงการ ตามแนวทาง “โคก หนอง นา โมเดล”
ทกุ หมู่บ้าน ดังภาพประกอบ

11

12

13

บทที่ 3

วิธีการดาเนินงาน

โครงการพฒั นาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอ
บางละมุง คร้งั นี้ เปน็ การประเมนิ สรปุ ผลการดาเนนิ งานเมื่อสิ้นสดุ โครงการ (Summative Evaluation)

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
การประเมนิ ผลครัง้ นท้ี าการศึกษาท้ังกล่มุ ประชากรคือผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาครู กศน.แกน

นา เกษตรทฤษฎีใหมป่ ระยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอบางละมุง จานวนทง้ั สิน้ 28 คน

เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลคร้งั นี้มีจานวน 3 แบบ คอื

๑. แบบประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจ
๒. แบบประเมินปฏบิ ัติไดน้ าไปใช้ได้
๓. แบบประเมินความพงึ พอใจข้นั ตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้/ดา้ นสงิ่ อานวยความสะดวก /
คณุ ภาพของการจดั กิจกรรม

ประเดน็ คาถามแบบปลายเปิด
ด้านการนาความรูท้ ี่ได้รับจากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมไปใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาตนเอง

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
๑. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เขา้ รับการอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจระดับดมี ากข้นึ ไป
๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารับการอบรมมีความสามารถปฏบิ ัตไิ ดแ้ ละมนั่ ใจระดบั มากข้นึ ไป
๓. ร้อยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความพงึ พอใจระดับมากข้ึนไป

สว่ นที่ ๓
ผลการประเมนิ

14

บทที่ 4
ผลการประเมนิ

ตารางที่ ๑ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม

เพศ จานวน (คน) รอ้ ยละ
ชาย 7 25
หญงิ 21 75
รวม 28 100

จากตารางท่ี ๑ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญิง 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75
ตารางท่ี ๒ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม จาแนกตามอายุ

อายุ จานวน (คน) ร้อยละ
๒๐-๓๐ ปี 4 14
๓๑-๔๐ ปี 14 50
๔๑-๕๐ ปี 3 11
๕๑-๕๙ ปี 7 25
๖๐ ปขี น้ึ ไป - -

จากตารางท่ี ๒ แสดงวา่ ผูเ้ ข้ารับการอบรมส่วนใหญม่ อี ายุ อย่ชู ว่ งอายุ 31-40 ปี จานวน 14 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 50 รองลงมา คอื ชว่ งอายุ 51-59 ปี จานวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25 ช่วงอายุ 20-30 และ ชว่ ง
อายุ 40-50 ปี มจี านวน 4 คน และ 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14 และ รอ้ ยละ 11 ตามลาดับ

15

ตอนท่ี ๒ ประเมนิ ความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม
ผูป้ ระเมนิ ได้แก่ผเู้ ข้าร่วมโครงการทุกคน

ตารางที่ ๓ ส่วนที่ ๑ ด้านความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม

ระดบั ความพงึ พอใจ

ที่ รายการ 54 3 21
(มากทส่ี ดุ ) (มาก) (ปาน (น้อย) (นอ้ ยทีส่ ดุ )
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลาง)
1 ความรูค้ วามสามารถในเร่ืองท่ีจดั กิจรรม --
80 % 20 % - --
--
2 เทคนคิ /วธิ กี ารจัดกิจกรรมของวทิ ยากร 94% 6% -
--
3 การให้เกยี รติและให้ความสาคญั ต่อผเู้ ขา้ รว่ ม 87% 13% - --
11% -
กิจกรรม --

4 พฤติกรรมและบุคลิกภาพของผู้จดั 89% --

5 การชี้แจงวตั ถุประสงค์วธิ กี ารเขา้ ร่วม 79% 21% - --
11% - --
กิจกรรม 6% -
13% - --
6 การชีแ้ จงข้อตกลงและเง่ือนไขตา่ งๆระหว่าง 89%
--
การอบรม
--
7 การเปดิ โอกาสให้ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมได้ 94% --

แสดงออกรว่ มกัน --

8 จานวนวันและระยะเวลาในการจดั กิจกรรม 87% --

9 การติดตามและให้คาแนะนาเพม่ิ เตมิ 78% 22% -
11% -
หลังจากเขา้ ร่วมกิจกรรมของผู้จัด 2% -
5% -
10 การสนบั สนุนเปิดโอกาสใหเ้ ข้าร่วมกิจกรรม 89%

อนื่ ๆอย่างต่อเน่อื ง

11 สถานท่จี ัดมคี วามเหมาะสมสาหรบั จัด 98%

กิจกรรม

12 สถานท่ีจดั กิจกรรมสะดวกต่อการเดนิ ทาง 95%

13 กิจกรรมท่จี ัดมีประโยชน์และสอดคล้องกับ 87% 13% -
ความตอ้ งการของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม 94% 6% -
87% 13% -
14 การบริการส่อื อุปกรณ์ทีเ่ อ้ือประโยชน์และ
สนับสนนุ การเรียนรู้ของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม

15 การบรกิ ารอ่ืนๆของเจา้ หน้าที่ผ้จู ัดกิจกรรม

16

จากตารางที่ ๓ พบว่าการใช้ประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมกจิ กกรมคร้ังนม้ี ีความพึงพอใจใน
ระดับทด่ี ีมาก ในด้านการกิจกรรมการเรยี นรดู้ า้ นขนั้ ตอนกระบวนการจดั กิจกรรมดา้ นจัดส่งิ อานวยความสะดวกแก่
ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมรองลงมา ด้านคุณภาพของการจัดกจิ กรรมรองลงมา คอื ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง
ตามลาดับ

สว่ นที่ ๒ ดา้ นการนาความรู้ท่ไี ด้รับไปใช้ประโยชน์
๑. ท่านไดน้ าความรู้ทไ่ี ดร้ ับจากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเองหรอื ไม่อย่างไร

ได้นาไปใช้ประโยชน์ในเร่ือง
ใชใ้ นการดารงชวี ิตประจาวัน
(ระบุ)...................25 คน / 89 เปอร์เซนต์..............................................................
ใช้ในการถ่ายทอดความรูใ้ หค้ นในครอบครัว
(ระบุ)....................20 คน / 71 เปอร์เซนต์..............................................................
ใช้เป็นพื้นฐานการเรยี นรู้ต่อเน่ือง
(ระบุ).....................20 คน / 71 เปอรเ์ ซนต์..............................................................
ความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ
๒. สงิ่ ดๆี / ความประทับใจท่ีได้รับจากการได้เข้ารว่ มกจิ กรรม

- ผ้รู ่วมกจิ กรรมได้รับความรู้เพื่อไปใช้ได้จริง
- วิทยากรเปน็ กนั เองถ่ายทอดความรไู้ ดช้ ดั เจน
- ไดร้ บั ความรเู้ พิ่มเตมิ
๓. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาปรับปรงุ การจดั กจิ กรรม
-

ตอนที่ 3 ปฏิบตั ิไดน้ าไปใช้ได้
ผู้ประเมนิ ได้แก่ผู้นิเทศ

17

ตารางท่ี 5 ระดับความคิดเห็นในการประเมนิ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ

ระดบั ความพึงพอใจ

ท่ี รายการ 54 3 21
(ดมี าก) (ด)ี (ปาน (พอใช)้ (ปรบั ปรงุ )

กลาง) --
--
1 มีการเตรียมการสอนทาแผนการสอน 89% 11% -
--
2 มกี ารใชเ้ ทคนคิ การถ่ายทอดความร้ทู ี่เหมาะสมกับ 97% 3% - --
--
เน้ือหา
--
3 มกี ารพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของชมุ ชน 84% 16% - --
--
4 มกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตลอดกจิ กรรม 89% 11% - --
--
5 มกี ารนาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ การจัด 84% 16% - --

กระบวนการเรยี นรู้

6 วิทยากรจดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามแผน 85% 15% -

7 มีการใชส้ อ่ื ประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู้ 80% 20% -

8 มกี ารส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนมีการฝึกปฏบิ ัติจริง 88% 12% -

9 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมีความตั้งใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 86% 14% -

10 ผู้เข้ารว่ มโครงการสามารถนาความรูไปใช้ประโยชน์ 85% 15% -

11 สถานท่ี/บรรยากาศ/เหมาะสมและเอ้ือต่อการเรยี นรู้ 87% 17% -

จากตารางท่ี ๖ พบว่าการประเมินการจัดกิจกรรมดังกล่าว ได้ใช้แบบประเมินระดับความคิดเห็นใน
การประเมินครูที่จัดกิจกรรม มีระดับดีมาก ดังน้ี วิทยากรใช้เทคนิคการถ่ายทอดความรู้ที่เหมาะสม มีการ
เตรียมการสอน มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการฝึกปฏิบัติจริง
สถานที่/บรรยากาศ/อบรมเหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้ ผู้เข้าร่วมกิจกกรมมีความต้ังใจ วิทยากรจัด
กระบวนการเรียนรู้ตามแผน มีการนาผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ มีการพัฒนาให้
สอดคลอ้ งกับความต้องการของชุมชนผู้เข้ารว่ มโครงการสามารถนาความรูไปใช้ประโยชน์ มีการใช้ส่ือประกอบการ
จัดกระบวนการเรียนรู้รองลงมา คือ ระดับดี ดังนี้ และมีการใช้สื่อประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผู้เข้ารว่ ม
กิจกรรมสามารถนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ได้

ขอ้ คิดเหน็ / ข้อเสนอแนะในการจดั อบรมคร้งั ต่อไป
- การจัดกจิ กรรมในลกั ษณะดังกล่าวควรมีพืน้ ที่สาหรับสาธิตการจาลองพืน้ ท่ีการปฏบิ ตั จิ ริง
- ระยะเวลามจี ากัด

18

สรุป

ตวั ช้ีวดั เกณฑ์ ผล เปา้ หมายการบรรลุ
1. ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจของผู้เข้ำรบั รอ้ ยละ 94 บรรลุ ไม่บรรลุ
กำรอบรม รอ้ ยละ80มคี วำมรู้ควำมเขำ้ ใจระดบั √
2. ควำมสำมำรถในกำรปฏบิ ตั ิได้ มำกข้นึ ไป รอ้ ยละ 99
รอ้ ยละ80มีควำมสำมำรถปฏิบัติได้ใน √
3. ควำมพงึ พอใจ ระดบั มำกข้นึ ไป ร้อยละ 96
ร้อยละ80พึงพอใจระดบั มำกข้นึ ไป √

การประเมนิ การจดั โครงการพัฒนาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎใี หมป่ ระยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กศน.อาเภอบางละมุง มีผลการดาเนนิ กิจกรรมบรรลตุ ามวัตถุประสงค์

19

บทที่ 5
สรุปผลการประเมิน

การประเมินการจัดโครงการพัฒนาครู กศน.แกนนา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กศน.อาเภอบางละมุง วันท่ี 20 มกราคม 2564 จดั โดย ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการจดั การศึกษา
ตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง ซึ่งการประเมินผลสรุปเมื่อส้ินสุดโครงการ (Summative Evaluation) สรุปผลการ
ประเมนิ ดังนี้

วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน
1 เพื่อพัฒนาบุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางละมุง ในการ

ขยายผลสู่ นักศกึ ษา กศน.และประชาชนผสู้ นใจในพนื้ ที่
2 เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยกุ ตส์ ู่“โคก หนอง นา

โมเดล”ในการปรบั ประยกุ ต์ใช้แกไ้ ขปัญหาและสรา้ งความสมบรู ณ์ ความกินดี อยดู่ ี มีงานทาให้กับชุมชน

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
การประเมนิ ผลคร้งั น้ีทาการศึกษาท้ังกลุ่มประชากรคือผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการพัฒนาครู กศน.แกน

นา เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี จานวนทั้งสิน้ 28
คน

เครือ่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ครั้งนี้มีจานวน 3 แบบ คือ
๑. แบบประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจ
๒. แบบประเมนิ ปฏบิ ัติไดน้ าไปใชไ้ ด้
๓. แบบประเมินความพงึ พอใจขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้/ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวก /

คณุ ภาพของการจดั กิจกรรม

การวิเคราะหข์ ้อมูล
๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามเข้าใจระดบั ดมี ากข้ึนไป
๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของผู้เข้ารับการอบรมมีความสามารถปฏิบัติไดแ้ ละมน่ั ใจระดับมากขึน้ ไป
๓. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพงึ พอใจระดับมากขนึ้ ไป

สรุปผลการประเมิน
การจดั กิจกรรมได้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ตามท่ีไดก้ าหนดไว้ โดยเข้ารับการอบรมมีความรคู้ วามเข้าใจ

ระดับดีมากข้นึ ไป คิดเปน็ ร้อยละ ๙๔ ความสามารถปฏบิ ตั ิไดแ้ ละมั่นใจระดบั มากข้นึ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๙ มี
ความพึงพอใจระดับมากข้นึ ไปคิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๖

20

แนวทางการดาเนนิ งานครั้งต่อไป
การจัดอบรมในลักษณะดังกล่าว ผู้เข้าอบรบควรได้รบั ความรู้ทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัตทิ ่ีสอดคล้อง

กันทั้งนี้เพ่ือจะทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น สามารถนาไปปฏิบัติในพื้นท่ีจริงได้ เป็นประโยชน์ในการนาไป
ขยายผลทีช่ ดั เจนมากข้ึน

21

ภาคผนวก

22

23

24

เอกสารอา้ งอิง

โคก หนอง นา โมเดล ทางรอดของคนไทย บันไดสู่ความยั่งยืน สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย https://train.cdd.go.th/cd-talent-copy
นโยบายและจดุ เน้น สานักงาน กศน. 2564
แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงปรชั ญาเศรษฐกิจที่ทาได้จรงิ .สบื ค้นเม่อื 23 ธนั วาคม2563:

https://www.krungsri.com/th/plearplearn/practical-self-sufficient-economy-
philosophy.2563
แนวคดิ และการดาเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดาริ. สบื คน้ เมือ่ 21 มกราคม 2564: http://kanpoly.ac.th
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมอื่ 21 มกราคม 2564 : http://kanpoly.ac.th/
แหลง่ เรยี นรู้.https://nmk.ac.th/maliwan2/page/4_2librarysource.html.เข้าถึง 30 มกราคม 2564.
https://www.google.co.th/search?q

25

ผจู้ ัดทา

ทป่ี รึกษา
1. นายอนชุ า พงษเ์ กษม ผอู้ านวยการ กศน.จงั หวัดชลบุรี
2. นางประพิศ นพประชา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางละมงุ
3. นางสาววาสนา บญุ เสนอ ครอู าสาสมคั รฯ
4. นางสาวบรรยาย ทมิ ธรรม ครอู าสาสมคั รฯ
5. นายประยงค์ แพงน้อย ครอู าสาสมคั รฯ

สรปุ ผล/รายงานผล/รวบรวมขอ้ มลู ครูผูช้ ่วย
1. นางสาวปณัฐตา วลิ าวลั ยบ์ ปุ ผา หวั หน้า กศน.ตาบลตาบลเขาไมแ้ กว้
2. นายประกฤษฎ์ิ อนิ ทวงษ์ หัวหน้า กศน.ตาบลหนองปลาไหล
3. นายอุเทน โชคครองสมทุ ร หวั หนา้ กศน.ตาบลตาบลบางละมงุ
4. นางสาวสลิตตา เฉยศิริ หัวหนา้ กศน.ตาบลตาบลพัทยากลาง
5. นางสาวปรยิ ภัทร จกั รแกว้

พิมพ/์ ออกแบบปก
นางสาวปณฐั ตา วลิ าวัลยบ์ ุปผา ครูผชู้ ว่ ย

26


Click to View FlipBook Version