The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย (อช31001)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-27 03:16:33

ช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย (อช31001)

ช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย (อช31001)

Keywords: ช่องทางการขยายอาชีพ,อช31001

หนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชพี

รายวชิ าชอ งทางการขยายอาชพี (อช31001)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554)

หลักสูตรการศึกษานอกระบบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551

หา มจําหนาย
หนงั สอื เรยี นเลม น้ีจัดพมิ พด วยงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การสึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน

ลขิ สิทธ์ิเปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชพี

รายวิชาชอ งทางการขยายอาชีพ (อช31001)
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554)

เอกสารทางวิชาการหมายเลข 26/2555



สารบัญ

คาํ นํา 1
สารบัญ 7
โครงสรา งรายวชิ า ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 9
บทท่ี 1 การงานอาชพี 12
26
เร่ืองท่ี 1 ความสําคัญและความจําเปนในการครองชีพ 32
เร่ืองท่ี 2 การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และโลก 36
เร่ืองท่ี 3 การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน
เร่ืองท่ี 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 54
เร่ืองท่ี 5 การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในการขยายอาชีพ 55
56
ในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวปี เอเซีย ทวปี ออสเตรเลีย 58
ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวีปอัฟริกา
บทท่ี 2 ชอ งทางการขยายอาชีพ 70
เร่ืองท่ี 1 ความจําเปนในการมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพ 71
เร่ืองท่ี 2 ความเปนไปไดของการขยายอาชีพ 76
เร่ืองท่ี 3 การกาํ หนดวิธีการ ขั้นตอนการขยายอาชีพ 93
และเหตุผลของการขยายอาชีพ
บทท่ี 3 การตดั สนิ ใจเลือกขยายอาชพี
เร่ืองที่ 1 ภารกิจเพื่อความมั่นคงการทําในธุรกิจอาชีพ
เรื่องท่ี 2 การวัดผลและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ
เรื่องท่ี 3 การตัดสินใจขยายอาชีพดวยการวเิ คราะหศ ักยภาพ

ภาคผนวก 98
คณะผจู ดั ทํา

คาํ แนะนําในการใชห นงั สอื เรยี น

หนังสือสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปน
แบบเรียนท่ีจัดทาํ ข้นึ สําหรับผเู รยี นที่เปน นักศกึ ษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการขยายอาชีพ ผูเ รียนควรปฏิบัติ
ดงั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั และขอบขายเนื้อหา
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียดและทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลวตรวจสอบกับ
ผูร ู ครู หรอื แนวตอบกจิ กรรมทก่ี าํ หนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหาใหมให
เขาใจกอนทจี่ ะศึกษาเร่อื งตอไป
3. ผูเ รียนทําความเขาใจลักษณะการประกอบอาชีพในชุมชน ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีป
เอเซีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปอัฟริกา เพื่อสามารถ นํามาใชเปนพืน้ ฐานในการ
จัดการเรียนรูเ พือ่ การขยายอาชีพได จากการศึกษาในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรนี้
หรือถาผูเ รียนใด มิไดผานการศึกษาตามหลักสูตรนีม้ ากอนสามารถ กลับไปทบทวนหนังสือเรียนใน ระดับ
ประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนตน โดยเฉพาะ (อช11001) ชองทางการเขาสูอ าชีพ และ (อช21001) ชองทาง
พัฒนาอาชีพ
4. หนังสือเรียนเลมนีเ้ นนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญจะยกตัวอยางอาชีพ
เกษตรกรรมแตอาชีพอนื่ ๆ ก็สามารถนํากระบวนการไปใชได
5. หนงั สอื เรียนเลม นม้ี ี 4 บท คอื

บทที่ 1 การงานอาชีพ
บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชีพ
บทที่ 3 การตัดสินใจเลือกขยายอาชีพ

โครงสรางรายวชิ า
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สาระสาํ คญั

1. เหตุผลความจําเปนในการขยายอาชีพ
2. ปจ จัยจําเปน เพอ่ื นาํ อาชพี ไปสูความมั่นคง
3. การปฏิบัติการตรวจสอบระบบการสรางความมั่นคง
4. การประเมินความเปนไปไดในการนําแนวทางขยายอาชีพไปใชจริง

ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ วิเคราะหลักษณะงาน ขอบขายงาน

อาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเซีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี
อเมรกิ า ทวีปยุโรป และทวปี อัฟริกา ที่จะนําไปสูความมั่นคงที่

เหมาะสมกับศักยภาพของตน และสอดคลองกับชุมชน สงั คม
2. อธิบายเหตุผลปจจัยความจําเปนในการนําอาชีพไปสูความมั่นคงที่

เหมาะสมกับศักยภาพของตนเองได
3. ตรวจสอบระบบการสรางความมั่นคง
4. ปฏิบัติการวิเคราะหเพื่อการสรางความมั่นคงในอาชีพได

ขอบขา ยเนื้อหา การงานอาชีพ
ชองทางการขยายอาชีพ
บทที่ 1 การตัดสินใจเลือกขยายอาชีพ
บทที่ 2
บทที่ 3

สื่อการเรยี นรู

1. ใบงาน
2. ใบความรู

7

บทที่ 1
การงานอาชพี

สาระสาํ คญั

การประกอบอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเซีย ทวปี ออสเตรเลยี
ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปอัฟริกา ที่เหมาะสมกับศักยภาพของตนและสอดคลองกับชุมชนเพื่อชอง

ทางการขยายอาชีพ



ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง

ผูเ รยี นมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดีในงานอาชีพ สามารถอธิบายลักษณะ ขอบขายกระบวนการ
ผลิตงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเซยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา
ทวีปยโุ รป และทวปี อัฟรกิ าได และสามารถนํามา วิเคราะหในการขยายอาชีพบนฐานของการมีคุณธรรม
จริยธรรม และการอนุรักษพลังงาน และสง่ิ แวดลอ ม



ขอบขายเน้ือหา

เร่ืองท่ี 1 ความสําคัญและความจําเปนในการขยายอาชีพ
เร่ืองที 2 การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเซีย

ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวีปอัฟริกา เชน งานอาชีพดาน
เกษตรกรรม งานอาชีพดานอุสาตหกรรม งานอาชีพดานพาณิชยกรรม งาน
อาชีพดานความคิดสรางสรรค และงานอาชีพดานอํานวยการและอาชีพเฉพาะ
เร่ืองท่ี 3 การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และ ภูมภิ าค
5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเซยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวปี อัฟรกิ า

- การจัดการทางผลิต ไดแ ก การวางแผน การจัดทําโครงการ การ
ใชวัสดอุ ปุ กรณ การใชแรงงาน การใชสถานที่ การใชทุน เปน ตน

- การจดั การการตลาด ไดแ ก การกําหนดทิศทาง การตลาด การหา
ความตองการของตลาด เชน การขนสง การขาย การกําหนดราคา
ขาย การทําบัญชีประเภทตาง ๆ เปน ตน

เร่ืองท่ี 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ไดแ ก ความรับผิดชอบ ความประหยัด การอดออม
ความสะอาด ความประณีต ความขยัน ความซอ่ื สตั ย เปน ตน

8

เร่ืองท่ี 5 การอนุรกั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอมในการขยายอาชีพในชุมชน สังคม
ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวปี เอเซีย ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา
ทวีปยโุ รป และทวีปอัฟริกา



ส่อื การเรียนรู

- หนงั สือเรยี น
- ใบงาน

9

เรอื่ งท่ี 1 : ความสาํ คัญและความจําเปนในการครองชพี

การขยายขอบขายอาชีพ

หมายความถึง กิจกรรมอาชีพที่มีอยูสามารถขยายกิจกรรมที่เกีย่ วของและสัมพันธออกไปเปน
ขอบขายอาชีพที่สรางรายได ใชทุน ทรัพยากรจากอาชพี หลักใหเ กิดคุณคา สรางความเขมแข็งยั่งยืนในอาชีพได
เชน

1. การขยายขอบขยายอาชีพจากการหมุนเวียนเปลี่ยนรูปผลผลิตภัณฑ หรือผลพลอยไดไปสูก ิจกรรม
ใหม เชน

1.1 สรางธุรกิจแปรรูปหมูจากฟารมหมูของตนเอง
1.2 สรางธรุ กิจปุยหมักจากขห้ี มู
1.3 สรางธุรกิจขนมหวานเยลลี่จากหนังหมู
2. การขยายขอบขายอาชีพจากการสรางและพัฒนาเครือขายจากอาชีพ เชน
2.1 เฟรนชาย ชายสบ่ี ะหม่เี ก๊ยี ว
2.2 การสรางเครือขายนาขาวอินทรีย
3. การขยายขอบขายอาชีพจากการตลาด เชน
3.1 สวนมะพรา วนาํ้ หอมแมต มุ ศูนยกลางรับซื้อและขายสงมะพราวน้ําหอม

ภายใตการควบคุมคุณภาพของตนเอง

4. การขยายขอบขายอาชีพ จากการสงเสริมการทองเที่ยว เชน
4.1 จดั บริการทอ งเทยี่ วพักผอน กินอาหารเกษตรอนิ ทรยี ทไ่ี รส ดุ ปลายฟา
4.2 ทองเที่ยวชิมผลไม ชมสวนชาวไรจันทบุรี

5. การขยายขอบขายอาชีพกับการสงเสริมสุขภาพและอนามัย เชน
5.1 พักฟนรับประทานอาหารธรรมชาติไรสารพิษ ปฏบิ ตั ิธรรมกบั Home stay
ครองรางจระเข

6. การขยายขอบขายอาชีพกับการเรียนรู เชน
6.1 เรียนรูร ะบบนเิ วศ ความพอเพยี งท่ีไรนาสวนผสมคณุ พชิ ิต

10

กิจกรรมที่ 1
ความสาํ คญั และความจาํ เปน ในการขยายอาชพี

คาํ ชีแ้ จง : ใหค รแู ละนกั เรยี นรวมกนั นําผลการวเิ คราะหของกลุม มาเทยี บเคยี งกับสาระ ความหมายความสําคัญ
และความจําเปนในการขยายอาชีพ แลวรวมกันคิดใหความหมายตอคําตาง ๆ ทีก่ ําหนดไวในแบบบันทึกนี้
เพื่อสรางความเขาใจรวมกันของชุมชนใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

ขอบขายของการขายอาชีพ หมายความถึง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

กิจกรรมอาชพี ที่ทําอยู หมายความถึง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

การสรางรายได หมายความถึง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การใชทุน ใชทรัพยากร หมายความถึง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ความเขมแข็งและความยั่งยืน หมายความถึง................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

11

การหมนุ เวยี นเปลย่ี นรปู หมายความถึง
..........................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การสรางและพัฒนาเครือขายจากอาชีพหลัก หมายความถึง.................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการตลาด หมายความถึง..............................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการสงเสริมการทองเที่ยว หมายความถึง...............................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการสงเสริมสุขภาพ อนามัย หมายความถึง...........................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
อ่นื ๆ ยังมีอะไรบางที่ควรจะนิยามเอาไว................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

12

เรอ่ื งที่ 2 : การขยายอาชพี ในชมุ ชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแก
ทวปี เอเซยี ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวปี อฟั รกิ า

กลุม อาชีพใหม
จากการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกทั้งในสวนการรวมกลุมทางการเงิน การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยาง

รวดเรว็ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค การรวมกลุม
ทางเศรษฐกิจ และประการสําคัญคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรทางสังคม ดังนั้น อาชีพในปจจุบัน
จะตองมีการพัฒนาวธิ ีการและศกั ยภาพในการแขงขนั ไดใ นระดบั โลก ซึ่งจะตอ งคํานึงถึงบริบทภูมิภาคหลักของ
โลก หรือ “รูศกั ยภาพเขา” หมายถึงทวีปเอเซยี ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป ทวีปออสเตเลยี และทวปี แอฟรกิ า และ
จะตอ ง “รูศกั ยภาพเรา” หมายถึงรูศักยภาพหลักของพื้นที่ประเทศไทย คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต
ละพืน้ ที่ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแตละพืน้ ท่ี และศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ย
ในแตละพนื้ ท่ี ดังนน้ั เพื่อใหก ารประกอบอาชีพสอดคลองกับศักยภาพหลกั ของพื้นทีแ่ ละสามารถแขง ขันในเวที
โลก จึงไดกาํ หนดกลุมอาชพี ใหม 5 กลมุ อาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดา นการเกษตร กลมุ อาชีพใหมด า นพาณิชยก
รรม กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค และกลุมอาชีพใหมดานบริหาร
จัดการและบริการ

1. กลุม อาชพี ใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเกี่ยวกับการปลูกพืช
เลี้ยงสัตว การประมง โดยนํา องคความรูใหม เทคโนโลยี/นวัตกรรม มาพัฒนาใหสอดคลอ งกบั ศักยภาพหลัก
ของพื้นที่ คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ
และทาํ เลทตี่ ้ังของแตล ะพื้นที่ ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ขี องแตละพ้นื ทแี่ ละศักยภาพของ
ทรพั ยากรมนุษยในแตละพื้นท่ี อาชีพใหมดานการเกษตร เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎี
ใหม วนเกษตร ธุรกจิ การเกษตร เปน ตน

2. กลุมอาชีพใหมดานพาณชิ ยกรรม คือการพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดานพาณิชยกรรม
เชน ผใู หบรกิ ารจําหนา ยสินคาทัง้ แบบคาปลกี และคา สง ใหแ กผบู ริโภคทงั้ มีหนา รานเปนสถานที่จัดจําหนา ย เชน
หา งรา น หางสรรพสินคา ซุปเปอรส โตร รา นสะดวกซ้ือ และการขายท่ีไมม หี นารา น เชนการขายผานสอื่
อเิ ลคทรอนกิ ส

13

3. กลมุ อาชพี ใหมดา นอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู เทคโนโลยี/
นวัตกรรม อาชีพเกี่ยวกับงานชาง ซึ่งไดแกชางไฟฟา ชางไม ชางยนต ชางประปา ชางปูน และชางเชื่อมให
สอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพหลักของพื้นที่ เชน ผูผลิต
ชนิ้ สวนอเิ ลคทรอนกิ สเ คร่ืองใชไฟฟา หรอื อุปกรณอเิ ลคทรอนกิ สโดยท่วั ไป เชน IC PCB ผูประกอบรถยนต
และยานยนตประเภทตาง ๆ ผูผลิต ตวั แทนจาํ หนายหรือผูประกอบชิ้นสว นหรืออะไหลรถยนต ผูใหบรกิ ารซอ ม
บาํ รุงรถยนต ผจู ดั จําหนายและศูนยจ ําหนา ยรถยนตท ง้ั มือหน่งึ มือสอง ผผู ลติ และจาํ หนายเคร่ืองจักรและ
เครื่องมอื ทุกชนิด เชน เคร่ืองจกั รกลหนกั เคร่อื งจกั รกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสว นประกอบพน้ื ฐานของ
เคร่ืองใชไ ฟฟาตา ง ๆ เชนสายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอรเตอรตา ง ๆ การผลิตอลูมเิ นย่ี ม ผลิตและตัวแทน
จําหนา ยผลติ ภณั ฑเหล็ก สเตนเลส ผผู ลติ จําหนายวสั ดุกอสราง วสั ดุตกแตง สขุ ภัณฑ การกอ สรา ง อาคาร หรือที่
อยูอ าศัย

4. กลมุ อาชพี ใหมดานความคิดสรางสรรค
ทามกลางกระแสการแขงขันของโลกธุรกิจที่ไรพรมแดนและการพัฒนาอยางกาวกระโดด

ของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม การแลกเปลี่ยนสินคาจากที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่ที่อยูหางไกลนั้น
เปนเรื่องงายในปจจุบันเมื่อขอจํากัดของการขามพรมแดนมิใชอุปสรรคทางการคาตอไปจึงทําใหผูบริโภคหรือผู
ซือ้ มสี ิทธเิ ลอื กสินคาใหมไ ดอยางเสรีทัง้ ในดานคุณภาพและราคา ซึง่ การเรียนรูและพัฒนาสนิ คาและบริการตา ง
ๆทม่ี ีอยใู นตลาดอยแู ลวในยคุ โลกไรพรมแดนกระทําไดง าย ประเทศที่มตี น ทุนการผลติ ต่ํา เชน ประเทศจีน
อนิ เดยี เวียดนาม และประเทศในกลุมยุโรปตะวันออก จะมีความไดเปรียบในการแขงขันดานราคา ดวยเหตุนี้
ประเทศผูนําทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหันมาสงเสริมการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรคเพื่อพัฒนา
สนิ คา และบริการใหม ๆ และหลีกเลี่ยงการผลิตสนิ คาทีต่ อ งตอสดู า นราคา โดยหลักการของเศรษฐกิจสรางสรรค
คือแนวคิดหรือแนวปฏิบตั ิที่สราง/เพิ่มมูลคาของสินคาและบริการไดโดยไมตองใชทรัพยากรมากนัก แตใช
ความคิด สติปญญา และความสรางสรรคใหมากขึ้น

ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ไดก าํ หนด
ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเจริญเติบโตอยางคุณภาพและยั่งยืน ใหความสําคัญกับการปรับ
โครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรคและภูมิปญญา ภายใตปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยและ
ระบบการแขงขันที่เปนธรรมเพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลอง
กับความตองการของตลาดทั้งภายในและตางประเทศ สรางมูลคาเพิ่มใหกับสาขาบริการที่มีศักยภาพบนพื้นฐาน

14

ของนวัตกรรมและความคิดสรางสรรค พัฒนาธุรกิจสรางสรรคและเมืองสรางสรรค เพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตร
และสรางมูลคาเพิ่มดวยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เปน มติ รกบั ส่งิ แวดลอม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู
อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโรจิ
สติกส สรางความมั่นคงดานพลังงานควบคูไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆทางเศรษฐกิจและการ
บรหิ ารจดั การเศรษฐกจิ สวนรวมอยา งมีประสทิ ธิภาพเพอื่ ใหเปนฐานเศรษฐกจิ ของประเทศท่ีเขมแข็งและ
ขยายตัวอยางมีคุณภาพ

กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค จึงเปนอาชีพที่อยูบนพื้นฐานของการใชองคความรู
(Knowledge)การศึกษา(Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสนิ ทางปญญา(Intellectual
Property) ท่ีเชือ่ มโยงกบั พนื้ ฐานทางวัฒนธรรม(culture) การสั่งสมความรูของสังคม(Wisdom) และเทคโลโลยี/
นวตั กรรมสมยั ใหม (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ,2553) ดังนน้ั กลุมอาชีพใหมด าน
ความคิดสรางสรรค จึงเปนการตอยอดหรือการพฒั นาอาชีพในกลมุ อาชีพเดมิ คอื กลมุ อาชีพเกษตรกรรม กลมุ
อาชีพอุตสาหกรรม กลุมอาชีพพาณิชยกรรม กลุมอาชีพคหกรรม กลุมอาชีพหัตถกรรม และกลุมอาชีพ
ศลิ ปกรรม

กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค เชน แฟช่นั เสือ้ ผา เคร่ืองประดับ เคร่ืองสําอาง ทรงผม
สปาสมนุ ไพร การออกแบบสือ่ /ภาพยนตร/โทรทัศน เคร่ืองใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วสั ดุกอสรางแบบประหยัด
พลงั งาน เซรามิก ผาทอ จักสาน แกะสลัก รถยนตพ ลงั งานทางเลอื ก ขากลอัตโนมตั ิเพอื่ ผูพิการ การทอ งเที่ยว
เชิงวฒั นธรรม ตลาดนาํ้ อโยธยา เปน ตน

5.กลมุ อาชีพใหมดา นบรหิ ารจัดการและบรกิ าร เชน ธรุ กจิ บริการทองเที่ยว ธุรกจิ บรกิ ารสขุ ภาพ
ธรุ กจิ บรกิ ารโลจสิ ติกส ธุรกิจภาพยนต ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนทิ รรศการ บรกิ ารทป่ี รกึ ษาดาน
อสงั หาริมทรพั ย ทีป่ รึกษาทางธรุ กิจ

งานอาชีพใหมทั้ง 5 กลุม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากขึน้ จงึ มีความตองการ
เจาหนาที่ บุคคล พนักงาน เพื่อควบคุมและปฏิบัติงานที่มีความรู ความสามารถ และทักษะฝมือเปนจํานวนมาก

15

การขยายขอบขายอาชีพระดับประเทศ

ธุรกิจที่มีการขยายขอบขายอาชีพในระดับประเทศ มักจะเปนธุรกิจทีส่ รางประสิทธิภาพในระบบการ
จัดการใชทรัพยากรที่เกีย่ วของกับการจัดการกําลังคนทั้งระดับบริหารจัดการ และแรงงาน การจัดการเงินทุน
การจัดการวัสดุนําเขา การผลิต และกระบวนการผลิตใหไดผลผลิตสูงสุด และมีของเสียหายนอยทีส่ ุดเปน
เรื่องสําคัญในงานอาชีพดานเกษตรกรรม งานอาชีพดานอุตสาหกรรม งานอาชีพดานพาณิชยกรรม
งานอาชีพดานความคิดสรางสรรค และงานอาชีพดานอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ดังนัน้ การจัดตัง้ ธุรกิจ
รองลงมา ที่มีความสัมพันธสอดคลองกับการลดปริมาณการเสียหายใหนอยทีส่ ุดจนเหลือศูนยรองรับธุรกิจหลัก
จึงเกิดการขยายขอบขายอาชีพขึ้น
ตัวอยา งท่ี 1 การขยายขอบขายจากอาชีพผลิตกระเปาถือสุภาพสตรี

การขยายอาชพี ระดบั โลก

16

การขยายอาชพี ระดบั โลก

หากเราจะมองไปทีป่ ระเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจ ไดแก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝร่ังเศส
เยอรมนั ญ่ีปุน ซ่งึ เปนนักคดิ นกั พฒั นาอตุ สาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมเคมี
อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส และอืน่ ๆ ลวนแตทําลายสิง่ แวดลอมประเทศมหาอํานาจเหลานีจ้ ึงขยายขอบขาย
การผลิตออกไปยังประเทศที่คาจางแรงงานต่ํา และหันกลับมาอนุรักษศิลปวัฒนธรรม สิง่ แวดลอม สรางความ
สวยงามใหกับบานเมือง และชนบท สรางเศรษฐกิจจากการทองเทีย่ ว หันมาพัฒนาการผลิตอาหาร พืช ผัก
ผลไม เน้ือสัตว ในระบบเกษตรอินทรียทีม่ ีความปลอดภัยและคุณภาพสูง เพือ่ สรางพืน้ ฐานสุขภาพชีวิต
ประชาชนของเขาใหอยูดีมีสุขสูการมีปญญาอันล้ําเลิศ

ตวั อยา งที่ 1 การขยายขอบขา ยอาชพี จากเกษตรอินทรยี 

จากตวั อยา งเราจะเห็นวา อาชีพปลูกพืชอินทรียเปนอาชีพหลักทีส่ ามารถขยายขอบขายออกไปเปน
อาชีพปศุสัตวและประมง อาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาชีพทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และอาชีพ
จัดการเรียนรูเกยี่ วขอ งกบั เกษตรอินทรีย

17

กจิ กรรมท่ี 2
การขยายอาชพี ในชมุ ชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเซีย
ทวปี ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี อฟั รกิ า

แบบบันทึกผลการวิเคราะหเปรียบเทียบหาความแตกตางและเหมือนกันระหวางการขยายอาชีพระดับชุมชน
ระดับประเทศ และตางประเทศ

18

กิจกรรมท่ี 3
การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเซีย ทวปี ออสเตรเลีย
ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยุโรป และทวปี อฟั ริกา

คําชี้แจง : ใหผูเ รียนคิดจากประสบการณของตนเองวาการประกอบอาชีพของทานควรจะมีขอบขาย
อะไรบางทจี่ ะนาํ ไปสกู ารขยายอาชพี เพื่อสรา งความเขมแข็งยั่งยนื ใหกับตนเองไดดวยการคิดวิเคราะหจาก
องคประกอบในตารางน้ี แลวระบขุ อบขายอาชพี ท่ีควรจะเก่ียวของ

1. อาชพี ของผเู รยี นที่ประกอบการอยูคอื ......................................................................
2. ผลการวิเคราะหขอบขายอาชีพที่ควรจะเกีย่ วของเพือ่ สรางความเขมแข็งยัง่ ยืนใหกับตนเองและ
สมั พนั ธก ับอาชพี ท่ที าํ อยูได

19

คําชีแ้ จง : ใหกลุม ผูเ รียนและครูรวมกันนําผลการวิเคราะหของตนเองมาบูรณาการเปนขอบขายการขยายอาชีพ
ของกลมุ

1. กลมุ ผเู รยี นหมทู ี่..........ตําบล...............อาํ เภอ...................จงั หวัด.........................
2. ผลการวิเคราะหขอบขายอาชีพที่ควรจะเกี่ยวของเพื่อสรางความเขมแข็งยั่งยืนใหกับชุมชน

20

กจิ กรรมท่ี 4
การขยายอาชพี ในชมุ ชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเซยี
ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี อัฟริกา

คาํ ชีแ้ จง : ขอใหผ เู รยี นไดใ ชเ วลาทบทวนนึกคิดบนฐานประสบการณตรงวา สภาวะแวดลอมตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ
กับตัวเรามีอิทธิพลทําใหอาชีพทีเ่ คยทําอยูต องขยายขอบเขตออกไปมีลักษณะเหตุผลความจําเปนอยางไร เมื่อ
วเิ คราะหแ ลว ขอใหบ นั ทกึ ลงในแบบบนั ทกึ น้ี

21

22

23

คําชีแ้ จง : ใหกลุมผูเ รียนรวมกันทําบันทึกผลการคิดหาเหตุผลในการขยายอาชีพจากประสบการณจริงของ
ตวั ผูเรยี นมาสรุปจดั เปนความคดิ ของกลุม

24

กิจกรรมท่ี 5
การขยายอาชพี ในชมุ ชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเซีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปอฟั รกิ า

คําชแี้ จง : ใหค ณะครแู ละผูเรียนรว มกนั ทําความเขาใจในการพิจารณาคิดตัดสินใจวาประเด็นเหตุผลความจําเปน
ในแตละตัว มีปฏิสัมพันธในทางเดียวกันกับตัวแปรดานคุณคานแตละตัวหรือไม ถาสัมพันธใหคะแนน 1
ไมสมั พันธให 0 แลว รวมคะแนนในแตล ะประเดน็ เมื่อพิจารณาครบทุกประเดน็ แลว ใหจัดลําดับความสําคัญจาก
คะแนนมากไปนอ ย ดงั ตวั อยาง

อภิปรายผลการวิเคราะห จากตารางสามารถอธิบายไดวา ประเด็นเหตุผลขยายอาชีพการปลูกไมใชงาน
และการเลี้ยงปลานิลกินใบมันเทศ เปนประเด็นทม่ี คี วามสําคญั ทสี่ ดุ

25

คําชี้แจง : ใหผูเ รียนรวมกันพิจารณาคิดตัดสินใจจัดลําดับความสําคัญของเหตุผลความจําเปนของการขยาย
ขอบขายอาชีพของกลุมหรือชุมชน

26

เรือ่ งที่ 3 : การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน

1. การกําหนดแนวทางขยายอาชีพ

1.1 เหตผุ ลการขยายขอบขา ยอาชีพ
เหตุผลความจําเปนในอาชีพทีก่ ลาวไวในเบื้องตนสามารถสรุปเหตุผลของการขยายขอบขายอาชีพได
ดงั น้ี
1. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ
2. สภาพแวดลอมทางสังคม
3. สภาพแวดลอ มทางวฒั นธรรม
4. สภาพแวดลอ มทางสง่ิ แวดลอ ม
ในการปฏิบัติเหตุผลในการขยายขอบขายอาชีพ ในแตละสภาพแวดลอมนัน้ ไมอิสระตอกัน แตมี
ความเชื่อมโยงผูกพันกนั และเปนไปเพื่อการเพิ่มรายไดของอาชีพหลักทีจ่ ะผลิตผลมาหมุนเวียนเปลีย่ นรูปสราง

มูลคาเพมิ่ ดังตวั อยา งตามแผนภูมิน้ี

1.2 ความคดิ รวบยอดของหลกั การขยายอาชพี
ในการกําหนดแนวทางขยายอาชีพ เราควรสรุปกิจกรรมหลักของการขยายอาชีพใหมองเห็นชัดเจน
เปนความคิดรวบยอดทีป่ ระกอบดวย ปจจัยนําเขาเพือ่ การขยายอาชีพ คืออะไร กระบวนการผลิตทําอยางไร
และสุดทายจะเกดิ อะไรขน้ึ ดงั ตัวอยา งน้ี

27

จากแผนภูมิสามารถอธิบายไดวา ความคิดรวบยอดของการขยายขอบขายอาชีพ เปนการขยายอาชีพมาจากการ
ใชยอดและหัวมันเทศไมไดมาตรฐาน มาแปรรูปเปน อาหารใหห มกู นิ ใชเวลาเลีย้ งไมเกิน 4 เดือนจะไดนํ้าหนัก
เฉลีย่ ตวั ละ 90 กก.

1.3 วเิ คราะหพ อเพยี งในการดาํ เนนิ งาน
เปนกิจกรรมตอเนือ่ งจากผูเรียน สามารถหาเหตุผลและสรางความคิดรวบยอดได แลวนําความเขาใจ
มาวิเคราะหหาปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรการผลิต ประกอบดวย ผลผลิตทีจ่ ะทําการลดตนทุน และตัวแปร
ความพอเพียงทีป่ ระกอบดวยความมีเหตุผล ความพอเพียง ภูมิคุม กัน ความรอบรูและคุณธรรม ผลการ
วิเคราะหจ ะทําใหมองเห็นสงิ่ ทเี่ กดิ และสิ่งที่จะตองทําในขอบเขตของความพอเพียง ดงั น้ี
ตัวอยาง : ตารางแสดงผลการวิเคราะหหาปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรกิจกรรมขยายอาชีพกับตัวแปรเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

28

29

1.4 การกําหนดแนวทางขยายอาชีพ
หลังจากนําความคิดรวบยอดการขยายขอบขายอาชีพมาวิเคราะหความพอเพียงในการดําเนินการจะทํา

ใหเราเห็นสภาพปฏิสัมพันธ ระหวางตัวแปรการผลิตกับตัวแปรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่จะบอกใหเรารูว า
ความคิดการขยายอาชีพเหมาะสมทีจ่ ะทําหรือไมจากตัวอยางการวิเคราะหเราจะพบวาตัวแปรทางปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงจะควบคุมความคิดของเราใหอยูใ นขอบขายทีเ่ หมาะสมมีภูมิคุม กัน โอกาสประสบ
ความสําเร็จมีสูง

การกาํ หนดแนวทางของอาชีพ จึงอาศัยความรูท ี่ไดจากผลการวิเคราะหมากําหนดโดยใชวงจร I-P-O
(ปจ จยั นําเขา -กระบวนการ-ผลได) เปน ฐานในการกาํ หนดแนวทางขยาย อาชีพดงั ตวั อยางน้ี

จากแนวทางการขยายอาชีพดังกลาวนี้ จะทําใหเรามองเห็นภาพชีวิตของงานอยาง แจมชัดดวยตนเอง
สามารถนาํ ไปสกู ารเรยี นรเู พือ่ การขยายขอบขายอาชีพสูความเขมแข็ง ยงั่ ยืนตอไป

30

1.5 การจัดการความรู
กรอบความคิดการจัดการความรู

จากรูปสามารถอธิบายไดวา การจัดการความรูเปนรูปแบบที่มีองคประกอบรวม คือองคกรหรือบุคคล
ในการประกอบอาชีพ กรอบความรูของอาชีพ และการปฏิบัติการอาชีพที่มี เปาหมายสรางความเขมแข็ง มัน่ คง

ยั่งยืน ใหกับอาชีพ ดังนัน้ การประกอบอาชีพจึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองพัฒนากรอบความรูข องตนเองให
ยกระดับความรูพอเพยี งท่ีจะใชปฏิบตั ิการ สรางอาชีพ สูความเขมแข็ง ยงั่ ยนื ของกลุม อาชพี

จากสาระขางตนดังกลาวอาจจะสรุปรูปแบบการจัดการความรูไดเปน 2 ข้ันตอน คือ
1. การยกระดับความรูของการประกอบอาชีพ
2. การปฏิบัติการใชความรูสรางความเขมแข็ง มั่นคง ยงั่ ยนื ใหอาชีพ (จะกลาวในบทตอไป)
การยกระดับความรูของการประกอบอาชีพ เปนกิจกรรมจัดการกรอบความรูข องการ ประกอบอาชีพ
ใหยกระดับความรูส ูงขึ้นเปนระยะ ๆ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใชปฏิบัติการในระบบ ของธุรกิจอาชีพใหเกิดความ
เขมแข็ง ยงั่ ยนื ซึ่งประกอบดว ยกิจกรรมไมน อยกวา 5 กจิ กรรม คอื
1. กําหนดหัวขอความรู เพือ่ ใชพัฒนาธุรกิจอาชีพวาควรจะมีหัวขอความรูอ ะไรบางทีส่ ามารถ

ครอบคลุมใชพัฒนาการดําเนินสูความเขมแข็งมั่นคงยั่งยืนได

31

2. การแสวงหาความรู เปนกิจกรรมตอเนื่องจากการระบุหัวขอความรู คณะทํางานของกลุม อาชีพ
จะตองปฏิบัติการ สืบคนขอมูลสารสนเทศจากภูมิปญญาในกลุมอาชีพและแหลงความรูต าง ๆ โดยใช
กระบวนการ ดงั น้ี

3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู เพือ่ สรุปแนวทางการพัฒนาเปนกิจกรรมทีใ่ หคณะทํางานทีแ่ ยกกันไป
แสวงหาความรู ทําผลสรุปความรู หลกั ฐานรองรอยตาง ๆ มานําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูและรวมกันสรุปจัดเขา
ระบบงานจัดเปนรูปแบบแนวทางเพื่อการพัฒนา

4. การประยุกตใชความรู เปนกิจกรรมตอเนื่องจากการแลกเปลีย่ นเรียนรูด วยการนํารูปแบบแนวทาง
มาทดลองประยุกตใชความรู ความจริง บันทึกผลการทดลอง ทดลองซํ้า จนม่ันใจในขอมูลผลการทดลองท่ีไดแลว
ประเมนิ สรุปผล

5. การสรุปองคความรู เปนการนําขอมูลสารสนเทศ ผลสรุปการทดลองมาเขียนเปนเอกสารคูม ือ
ดาํ เนนิ งานทป่ี ระกอบดว ย

1) ภาพรวมระบบของงาน
2) ระบุคุณภาพและมาตรฐานของผลผลติ ท่ีตอ งเกิดขน้ึ
3) ระบุกิจกรรมแสดงข้ันตอนการจัดการการปฏิบตั กิ ารใชภ าษาท่ีรัดกมุ สามารถเรียนรูทําตามได

32

4) ระบุปจจัยดําเนินงานและมาตรฐานที่ตองการ
เอกสารคูมือดําเนินงานหรือองคความรู จะเปนเอกสารความรูใ ชดําเนินงานและควบคุมการทํางานให
เกิดคณุ ภาพได จงึ เปนความรูทีถ่ กู ยกระดบั ใหสูงสงข้ึนเปนระยะ ๆ อยางตอเนือ่ ง ใชปฏิบัติการสรางความสําเร็จ
ความเขมแข็ง มนั่ คง ยั่งยืน ใหก ลมุ อาชีพ

เร่อื งท่ี 4 : คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพของตนเองใหมีความมัน่ คงในธุรกิจอาชีพ ผูประกอบอาชีพ
จะตอ งมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม

หลกั การพฒั นาตนเองเพอ่ื พัฒนาอาชพี
1. การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดําริ
1.1 ความรู ความสามารถ ในขอ น้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว ฯ ทรงเนน
วาควรเปนความรูความสามารถที่เบ็ดเสร็จของผูปฏิบัติ ประกอบกับความมี
ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติงาน อันจะเปน ปจ จยั ทีท่ าํ ใหก ารทาํ งานไดผล
1.2 การรูจักการประยุกตใ ชใ นขอ นี้ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ฯ ทรงย้ําวา
การจะทํางานใหสําเร็จ ผูป ฏิบัติตองรจู กั ประยุกตใชดงั น้ี
1) พิจารณาใหรอบคอบกอนที่จะประกอบกิจการใด ๆ
2) พิจารณาใหวางใจเปนกลาง จะชวยใหป ฏบิ ตั ิไดถ ูกตอ งเหมาะสม
3) พิจารณาถงึ สภาพความเปน อยขู องทองที่และผลสะทอนทอ่ี าจเกิดขึ้น
4) พยายามหยิบยกทฤษฎีทางวิชาการมาปรับใชใหเหมาะสม
1.3 การคิดอยางรอบคอบ ในขอ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว ฯ ทรงแนะนาํ วา
1) ใชความคิดใหเปนเครื่องชวยความรู จะไดใชค วามรูใหถูกตอง
2) ใชความจริงใจอันเที่ยงตรงตามเหตุผล และมีความเที่ยงธรรม จะได
สรางสรรคประโยชนไดอยางสมบรู ณแ ละมีประสทิ ธภิ าพ
1.4 การใชปญญา ในขอ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว ฯ ทรงอธิบายวา
“การประมาทหมิน่ ปญญาคนอืน่ ไมยอมทําตามความคิดและความรูของคนอืน่ นีแ่ หละเปนเหตุ

สําคัญที่ทําใหงานอืน่ ๆ หยุดชะงัก ตองเริม่ ใหมอยูร ่าํ ไป จะตองลมเหลวมากกวาครัง้ ที่แลว ผูม ีความคิดควร
จะตองเขาใจวา ปญญาของผูอ ืน่ ทีเ่ ขาคิดมาดีแลว ใชไดมาดีแลว ในงานนัน้ ยอมเปนพืน้ ฐานอยางดีสําหรับเรา

33

ที่จะกอสรางเสริมความรูงอกงามมั่นคงตอไป การประมาทปญญาผูอืน่ เทากับไมไดใชพื้นฐานที่มีอยูแ ลวใหเปน
ประโยชน” นอกจากนี้ยังมีสาระสําคัญพอที่จะสรุปได คอื

1) ปญ ญา คือ ความรูผนวกกับความเฉลียวฉลาด จัดเปนความสามารถ
พิเศษที่มีอยใู นตวั บคุ คล

2) ตองใชปญญาในการคิดอานอยูเสมอ จึงจะมั่นคงแข็งแรง เพราะทุกคน
จาํ เปน ตองใชป ญ ญาตลอดชวี ิต

3) ไมควรประมาทปญญาของตนและผูอ่ืน ดังแนวพระบรมราโชวาทที่
พระราชทานไว

1.5 การมีสติและสงบสํารวม ในขอน้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ฯ ทรงมีพระราชดํารัสกลาว
โดยสรุปวา สติเปนคูกับปญญา และทรงใชความหมายของสติวาเปนความระลึกได ความรู ความไมวิปลาส
ความรูจกั รับผิดชอบ สวนคําวาสงบสํารวม หมายถึงความ เรียบรอยเปนปกติทั้งจิตใจและการกระทํา การรูจ ัก
สํารวมระวังกายใจใหสงบเปนปกตินั้น จะชวยใหมีการยั้งคิดในการทํางานทุกอยาง

1.6 ความจริงใจและการมีสัจจะ ในขอ น้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว ฯ ทรงสอนวา
1) บุคคลผปู รารถนาความสําเร็จและความเจริญ จะตองเปนผูทย่ี อมรับความ
จรงิ และยดึ มน่ั ในความจรงิ มคี วามจริงใจทง้ั ตอ ตนเองและผอู น่ื อยา งมนั่ คง
2) ตอ งมสี จั จะ คือ ความจริงใจในดานคําพูดและการกระทํา และปฏิบัติใหไ ด
โดยเครงครัดครบถวน

1.7 การมีวินัย ในขอน้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ ทรงอธิบายวา บุคคลผูม ีวินัย คือ คนมี
ระเบียบ ไดแก ระเบียบในการคิดและการกระทํา ผูใ ดไมมีระเบียบไว ถึงแมจะมีวิชา มีเรี่ยวแรง มีความ
กระตือรือรนอยูเ พียงไรก็มักทํางานใหเสร็จดีไมได เพราะความคิดอานวาวุน สับสนที่จะทําอะไรก็ไมถูก
ตามลําดับขัน้ ตอน มีแตความลังเล ความขัดแยงในความคิด ทัง้ ในการปฏิบัติงาน การมีวินัย หมายถึงการมี
ระเบียบ จาํ แนกเปน 2 ประเภท

1) วินัยทากาย คอื การปรับกิริยามารยาทใหเปนผูที่รูจักขวนขวายหาความรู
เพ่อื นําไปสูความสาํ เรจ็

2) วินัยทางใจ คือ การเปน ผทู ี่รูจักยง้ั คดิ และคิดอยา งมีเหตผุ ล การรจู กั ประสาน
กับผูอื่น ในขอ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ฯ ทรงแนะนาํ วา
(1) งานแตละช้นิ จะตอ งปฏบิ ัตใิ หประสานสอดคลองกนั และพฒั นาไปพรอม ๆ กัน
ฉะน้ัน ตองมีการเตรียมตัวที่จะปฏิบัติงานประสานกับผอู ืน่ อยางฉลาด

34

(2) ตอ งเปด ใจใหก วา ง หนกั แนน และมเี หตผุ ล มวี จิ ารณญาณ เหน็ แกประโยชน
สว นรวมเปน หลกั

1.8 การสรา งสรรคแ ละพฒั นา ในขอ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ฯ ทรงยํ้าวา
1) การสรางสรรคความเจริญกาวหนา ตอ งเรม่ิ ที่การศึกษาพื้นฐานเดิมมากอ น
รักษาสว นทมี่ ีอยูแลว ใหค งไว และพยายามปรับปรุงสรางเสริมโดยอาศัยหลัก
วชิ า ความคิด พิจารณาตามกําลังความสามารถ
2) การพัฒนาปรับปรุงควรคอย ๆ ทาํ ดว ยสติ ไมต อ งรบี รอ น ผลท่เี กดิ ขน้ึ จะ
แนน อนและไดผ ลดี

1.9 การวางแผนในการทํางาน ในขอ น้ี พระบามทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ ทรง แนะนาํ วา
1) งานทุกอยางจําเปนตองมีโครงการที่แนนอนสําหรับดําเนินงาน
2) ตั้งเปาหมาย ขอบเขต และหลกั การไวอ ยา งแนน อน เพราะจะชว ยใหป ฏิบัติ
ไดร วดเรว็ และถกู ตอ งเหมาะสม
3) ตองมอี ดุ มการณแ ละหลกั ที่มน่ั คง จึงจะทํางานใหญ ๆ ไดส าํ เรจ็
4) ตองมุง มั่นทาํ งานดวยความซ่ือสตั ยและมีคุณธรรม

2. การพฒั นาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา
2.1 ทาน คอื การให เปน หลกั ปฏบิ ัติในการพัฒนาตนเองสําหรับที่จะใชในการเกื้อหนนุ
จุนเจือซึง่ กนั และกนั
2.2 ศลี คือ การรักษา กาย วาจา ใจ ใหต งั้ อยอู ยางปกติ ไมเบียดเบียนกันความสงบสุขยอม
เกดิ ขนึ้
2.3 ปริจาคะ คอื การสละส่ิงทเี่ ปนประโยชนน อย เพ่ือประโยชนท ่มี ากกวา การสละเพื่อ
รกั ษาหนา ท่ี รักษากจิ ทพ่ี ึงกระทาํ รักคุณความดี เพื่อความสุข ความเจริญในการอยู
รวมกนั
2.4 อาชวะ คือ ความเปนผซู ือ่ ตรงตอ ตนเอง บุคคล องคกร มิตรสหาย หนาที่การงาน
2.5 มัทวะ คือ ความออนโยน มีอัธยาศัยไมตรี ออ นโยน มีสัมมาคารวะตอผูใ หญ ไมด ื้อดึง
ถือตนวางอํานาจ
2.6 ตบะ คือ ความเพียร ผูมีความเพียรสามารถปฏิบัติหนาทีใ่ หบรรลุลวงสําเร็จไดดวยดี
มกั เปน ผมู ีความอดทนสูง

35

2.7 อักโกธะ คอื ความไมโกรธ ตลอดจนไมพยาบาทมุงทาํ รา ยผูอื่น ความไมโกรธมขี ึน้ ได
เพราะความเมตตา หวังความสุขความเจริญซึ่งกันและกัน

2.8 อหงิ สา คอื การหลีกเลีย่ งความรนุ แรง และไมเ บียดเบยี นหรอื เคารพในชวี ิตของผอู ่ืน
คําวา “อหงิ สา” เปนภาษาสันสกฤต หมายถึงการหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่เรียกวาหิงสา
อหิงสาเปนแกนในศาสนาพุทธ ศาสนาฮนิ ดู และศาสนาเชน อหิงสามีการกลาวไวใน
ปรชั ญาอนิ เดยี ประมาณ 800 ปก อ นพทุ ธศักราช

2.9 ขนั ติ คือ ความอดทน อดทนตอการตรากตรําประกอบการงานตาง ๆ อดทนตอ ถอ ยคาํ
ไมพึงประสงค หรอื ส่ิงอันไมช อบใจตา ง ๆ ในการอยูรวมกันของคนหมูมาก

2.10 อวโิ รธนะ คอื ความไมผิด ผดิ ในทน่ี ห้ี มายถึง ผิดจากความถกู ตอ ง ทุกอยางทค่ี นทวั่ ไป
ทาํ ผดิ เพราะไมร วู าผิด หรอื รูวาผิดแตยังดอื้ ดึงทาํ ท้งั ๆ ทรี่ ู ถา ปลอ ยเชนน้ีไปเรื่อย ๆ
กไ็ มรูจกั ไมอาจปฏบิ ัติในส่ิงทถี่ กู ตองไดเ ลย

3. คุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
ผูป ระกอบการจะตองมีคุณธรรม จริยธรรม เกีย่ วกับเรือ่ งความรับผิดชอบใน การผลิตสินคา

เชน ความสะอาด ความประณีต ความซือ่ สัตย เขาสูต ลาด โดยเฉพาะ ดานความปลอดภัยตอสุขภาพของ
ผูบรโิ ภค หรอื การใหบ ริการท่ีปลอดภยั แกผ ูร บั บริการ

ในสวนตัวของผูผ ลิต การจะประกอบอาชีพใหมีความมั่นคงได ผูป ระกอบการ จะตองมี
คุณลักษณะ เปนคนขยัน ซื่อสัตย รูจ ักประหยัด อดออม มีความพากเพียร มีอุตสาหะ เพือ่ ความมัน่ คงในการ
พัฒนาอาชีพของตนเองใหมีความมั่นคง

36

เรอ่ื งที่ 5 : การอนุรักษพลงั งานและสิ่งแวดลอมในการขยายอาชีพในชมุ ชน สงั คม และ

ภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเซีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวปี ยโุ รป
และทวีปอฟั รกิ า

การขยายขอบขายอาชีพ ผูป ระกอบอาชีพจําเปนจะตองคํานึงผลกระทบทีเ่ กิดจากการใช
ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม ดิน นํ้า ทรัพยากรมนุษย และตนทุนในการผลิตอยางคุม คา และไมเกิด
ผลกระทบตอสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของคนในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเซีย ทวีป
ออสเตรเลีย ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี อฟั ริกา ดงั กรณีตวั อยาง

ภาพขาวหนงั สอื พมิ พ : ผลกระทบของสารเคมี

37

เชอื้ กอ โรคในของหมักดอง

อาหารหมักดอง เปนภูมิปญญาพืน้ บานของไทยมาชานาน คนสมัยโบราณจึงคิด คนหาวิธีถนอม
อาหารใหเ กบ็ ไวไ ดน าน ๆ จนมคี าํ กลา วที่วา “เกดิ เปน คนไทย อยทู ่ีไหนก็ไมอดตาย”

เพราะทุก ๆ ที่เราสามารถหาสิ่งมีชีวิตใกลตัวนํามาปรับปรุง และประยุกตเปนอาหารใหเขากับลักษณะ
ความเปนอยูไดเปนอยางดี ถาทําทานเองในครอบครัวกไ็ มเปน ไร

แตถาไมมีเวลาทําแลวไปหาซือ้ ตามทองตลาด วันนีข้ อเตือนใหตองระวังกันสักนิด โดยเฉพาะอาหาร
หมกั ดอง

เนือ่ งจากอาหารหมักดองพื้นบานหลายชนิดนัน้ อาจยังไมไดมาตรฐาน เพราะยังขาดการควบคุมใน
เรื่องของความสะอาดของวัตถุดิบ ขัน้ ตอนการทําและภาชนะบรรจุ รวมถึงการปองกันอาหารจากการปนเปอ น
ของเชือ้ กอโรค ซึง่ หากซือ้ อาหารหมักดองทีไ่ มมีการควบคุมความสะอาดมาทาน อาจทําใหเกิดอันตรายแก
รางกายได

เหมือนเชนวันนี้ สถาบันอาหารไดสุม ตัวอยางของหมักดองและหนอไมดอง เพือ่ วิเคราะหหาการ
ปนเปอนของเชื้อที่มีชอ่ื วา คลอสทรเิ ดยี ม เปอรฟ รงิ เจมส (Clostridium pergringens) ซึ่งเปนสาเหตุทีท่ ําใหเกิด
อาหารเปนพิษ เชือ้ น้ีสามารถพบไดในดนิ น้ํา และ อากาศ

หากวัตถุดิบ เชน พืช ผัก ทีน่ ํามาทําเปนของหมักดองมีความสะอาดไมเพียงพอ ก็อาจทําให
รางกายไดร บั เชื้อชนิดน้เี ขาไปโดยไมร ตู วั

สําหรับคนที่ชื่นชอบทานผักกาดดองและหนอไมดองบอย ๆ ลองดูผลวิเคราะหของสถาบันอาหารได
ตามตารางดานลาง กอ นตดั สนิ ใจรับประทานเขาไป

38

ภาพขา วหนังสือพิมพ : อาหารเปน พษิ

ยาฆา แมลงไรก ลิน่ ไมสนิ้ อันตรายสูดดมมีสิทธิ์คลน่ื ไส

อย. ชีย้ าฆาแมลง ไรกลิน่ ไมสิน้ อันตราย สูดดม มีสิทธิค์ ลืน่ ไส เวียนหัว และเปน อันตรายตอ
สขุ ภาพได

เม่ือวันท่ี 3 กพ. ภญ.ศรีนวล กรกชกร รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปดเผยวา
ปจจุบันยังมีผูบ ริโภคทีใ่ ชผลิตภัณฑวัตถุอันตรายที่ใชตามบานเรือน หรือทางสาธารณสุข อาทิ ผลิตภัณฑ
ปองกันกําจัดแมลง และสัตวอืน่ ผลิตภัณฑฆาเชื้อโรค และผลิตภัณฑทําความสะอาด เกิดความเขาใจที่
คลาดเคลื่อนในเรื่องของความเปนอันตรายของ ผลิตภัณฑวัตถุอันตรายวา ผลิตภัณฑวัตถุอันตรายทีม่ ีกลิน่ หอม
ไมมกี ลนิ่ ฉุน หรือมีกลิน่ ออนมีความเปนอันตรายนอย หรือไมอันตราย โดยการแสดงทาทางสูดดมพรอมคําที่
สือ่ ให รูส ึกวา ผลิตภณั ฑห อมนา ดม หรือการแสดงขอความที่ทําใหเขาใจวาผลิตภัณฑทําจากธรรมชาติ

แตใ นความจรงิ แลว กลิ่นหอมเกิดจากการปรุงแตงกลิน่ ดวยน้ําหอมสังเคราะห โดยอาจเปนน้ําหอมที่
ใหกลิน่ หอมคลายดอกไม หรือน้าํ มันหอมระเหยสกัดจากธรรมชาติ ซึ่งในความเปนจริง หากผูบ ริโภคสูด
ดมกลิ่นของผลิตภณั ฑว ัตถุอันตรายเขาไปจะทาํ ใหป วดศรี ษะ วงิ เวยี น คลนื่ ไส และเปน อนั ตรายตอสขุ ภาพได

โดยประโยชนที่แทจริงของการแตงกลิน่ ของผลิตภัณฑวัตถุอันตรายนั้น ก็เพื่อกลบกลิน่ ที่ไมพึง
ประสงคของสารออกฤทธิ์ของผลิตภัณฑ หรือสารเคมีที่ใสเขาไปในผลิตภัณฑเพือ่ ใชเปนตัวทําละลาย
ตลอดจนคุณสมบติทางเคมีและกายภาพของตัวผลิตภัณฑ ซึง่ มักจะมีกลิน่ ฉุนอยางรุนแรง จึงตองแตงกลิน่ เพือ่
ชว ยลดความรุนแรงของกลน่ิ ในผลิตภณั ฑใหนอยลง เพอื่ ใหผ บู รโิ ภคหันมาเลือกบรโิ ภคสินคา มากย่งิ ขึน้ .

39

ภาพขา วหนังสือพมิ พ : การประสบอทุ กภยั สบื เนอ่ื งมาจากการทาํ ลายปา ไม

เกิดฝนตกหนักใน มอ.หาดใหญ ทําใหน้าํ ทวมขัง เครดิต : @BBalaka สงขลา ประกาศภัยพิบัติ
10 อําเภอ หาดใหญชักธงแดง สัง่ อพยพคนแลว หวัน่ คืนนีค้ ันกัน้ น้าํ จะรับ น้าํ ไมไหวและทะลักทวมเมือง
ขณะทีก่ รมอุตุ ฯ เตือนพายุเขาภาคใตฝง ตะวันออกเทีย่ งคืนนี้ เตรียมรับมือฝนตกหนัก น้าํ ปาไหลหลากอีก
ระลอก

ประกาศเตือนภัย “พายุดีเปรสชัน่ ในอาวไทย และอากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบน”
ฉบับที่ 3 ลงวนั ท่ี 01 พฤศจิกายน 2553

เมื่อเวลา 04.00 น. วันน้ี (1 พย.) พายุดีเปรสชันบริเวณอาวไทยตอนลาง มีศูนยกลางหางประมาณ
350 กโิ ลเมตร ทางตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดสงขลา หรือที่ละติจูด 6.5 องศาเหนือ ลองติจูด 104.0 องศา
ตะวนั ออก มีความเร็วสูงสุดประมาณ 15 กม./ชม. คาดวาจะเคลื่อนตัวผานบริเวณภาคใตตอนลาง ในชวงวันที่
1-2 พฤศจิกายน ลักษณะเชนนี้ทําใหบริเวณภาคใตตัง้ แตจังหวัดสุราษฎรธานีลงไปมีฝนตกชุกหนาแนน และมี
ฝนตกหนกั ถงึ หนักมากหลายพ้นื ทแี่ ละอา วไทยมคี ลื่นสูง 2-4 เมตร

จึงขอใหประชาชนทีอ่ าศัยในพื้นทีเ่ สี่ยงภัยบริเวณทีล่ าดเชิงเขาใกลทางน้าํ ไหลผาน และพื้นที่ราบลุม
ริมฝง แมน้าํ บริเวณจังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส กระบี่
ตรัง และสตูล ระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนัก ที่ อาจทําใหเกิดสภาวะน้าํ ทวมฉับพลัน น้าํ ปาไหลหลาก
และน้าํ ลนตลิง่ ได สําหรับประชาชนที่ อาศัยอยูตามชายฝงทะเลของภาคใตฝง ตะวันออก ขอใหระวังอันตราย
จากคลืน่ ลมแรงทีพ่ ัด เขาสูฝ ง ในระยะนีไ้ วดวย ชาวเรือบริเวณอาวไทยตอนกลางลงไป ควรงดออกจากฝง ใน
ระยะนไ้ี วด ว ย

40

อนึง่ ในระยะ 1-2 วันน้ี บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกําลังแรงจากประเทศจีนยังคง
แผลงมาปกคลุมประเทศไทย ทําใหบริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีลมแรง
สําหรับภาคเหนือตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิต่ําสุด 12-16 องศาเซลเซียส สวนบริเวณ
ยอดดอยและยอดภู อุณหภูมิต่าํ สดุ 6-12 องศาเซลเซยี ส

ในระยะนี้ขอใหประชาชนติดตามขาวพยากรณอากาศและเตือนภัยจากกรมอุตุนิยม วิทยาอยางใกลชิด

ภาพน้ําทวมหาดใหญ สงขลา
อยางไรก็ตาม ลาสุดมีรายงานวา ทางหาดใหญไดเปลีย่ นจากธงเหลืองเฝาระวังสถานการณ เปนธง

สีแดงแลว ซึง่ หมายความวา น้าํ จะทวมไดภายใน 3-60 ชั่วโมง โดยสัง่ อพยพประชาชนทันที เนือ่ งจาก
คาดวาในคนื นี้คันกั้นนํา้ จะรับนา้ํ ไมไ หวและทะลักทว มเมือง

โดยในตอนนี้ การไฟฟาสงขลาทําการตัดไฟ ทําใหไฟดับเกือบทัว่ ทัง้ จังหวัด และโรงประปาจมน้ํา
จนเหลอื แคโ รงเดยี ว เจาหนาทแ่ี จงใหสาํ รองนา้ํ ไวใชโ ดยดวน

41

กิจกรรมที่ 6
การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน

คาํ ชี้แจง : ใหผเู รยี นคดิ วเิ คราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควรจะ ตองมีความรู
อะไรบางที่จะใชพัฒนาอาชีพใหเกิดความเขมแข็ง ยั่งยืน โดยอาศัยองคประกอบ ของการคิดตาม
ตัวอยา งดงั น้ี

42

43

กจิ กรรมที่ 7
การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน

คําชีแ้ จง : ใหกลุม ผูเ รียนคิดวิเคราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควร จะตองมีความรู
อะไรบางที่จะใชพัฒนาอาชีพใหเกิดความเขมแข็ง ย่งั ยืน โดยอาศัยองคประกอบของการคิดตามตัวอยางดังนี้
ตัวอยาง ผลการวิเคราะหธุรกจิ เกษตรอินทรีย

44

45

กจิ กรรมที่ 8
ตวั อยา งบันทกึ แสวงหาความรูเ รือ่ งการพัฒนาคุณภาพดนิ

คําชี้แจง : ผูเรียนรวมกันพิจารณาตัดสินใจ เลือกหัวขอความรูทีเ่ ห็นวามีความสําคัญและจําเปนตองนํามา
ยกระดับความรูดวยการแสวงหาความรู แลกเปลี่ยนเรยี นรูป ระยกุ ตใชความ รูและสรุปองคความรู

46

47

กจิ กรรมท่ี 9
ตวั อยา งบันทกึ แสวงหาความรเู ร่ืองการพัฒนาคุณภาพดนิ

คําช้แี จง : กจิ กรรมน้ีเปน การนาํ ผลสรปุ จากการแสวงหาความรูของผูเรียนแตละคนมาแลก
เปลี่ยนเรียนรู ความรู ขอมูลที่ไดมาเปนองคความรูเบื้องตนสําหรับเปนแนวทาง
ในการปฏิบัติยกระดับความรู ดังตวั อยางน้ี

ตวั อยา งบันทกึ แสวงหาความรเู รอื่ งการพฒั นาคุณภาพดิน

48

49

กจิ กรรมท่ี 10

คําชแ้ี จง : การบันทึกกิจกรรมการประยุกตใชความรู ตารางนี้เปนกระบวนการจดบันทึกขอมูล ผลได ผลเสยี
และการแกไขขอบกพรองอยางเปนระบบ

ตัวอยา ง บนั ทึกผลการประยุกตใชความรู

50

กจิ กรรมท่ี 11

คําชแี้ จง : การสรปุ องคค วามรู เพ่ือนําไปใชพัฒนาอาชพี สรา งความเขมแข็ง ยง่ั ยนื ในอาชพี มีแนวทางการเขยี น
เพื่อพรอมนําไปใชและพัฒนาใหสูงสงขึ้นไดหลายแนวทางสงหรือการขยายขอบขายอาชีพ
จาํ เปนจะตอ งใชเอกสารความรทู ่เี ปน เอกสารวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ หผ ูร วมงานสามารถเรียนรทู ําตามได
ดังตวั อยา งน้ี
ตวั อยา ง เอกสารการสรปุ องคความรโู ครงสรางเอกสารการประกอบอาชพี

1. คณุ ภาพผลผลติ
เขียนบรรยายใหผรู วมงานมองเหน็ รายละเอยี ดของคณุ ภาพผลผลิตท่ที ุกคนจะ
รว มกนั ทาํ ใหส าํ เรจ็ “ผักสด ผลไม จากไรท นเหนอ่ื ย เปนอาหารคุณภาพ ไร
สารพษิ มีคุณภาพทางอาหารสูง”

2. ภาพรวมของระบบการผลิต
เขียนเปนแผนภูมิระบบงาน ท่สี รุปใหเ หน็ ภาพของการทํางานเกยี่ วกบั ปจจัยนํา
เขากิจกรรมในกระบวนการและผลผลิตทจ่ี ะเกิด ดงั ตัวอยา ง

(ตวั อยาง แผนภูมิ คณุ ภาพการผลติ ผัก ผลไม เกษตรอินทรยี )

3. รายละเอียดขนั้ ตอนการปฏิบตั กิ จิ กรรม
3.1 กิจกรรมที่ 1 การจัดแปลงปลูกพืช ประกอบดว ย กจิ กรรม ดงั น้ี
3.1.1 การพฒั นาดนิ
3.1.2 การจัดทํารองปลูก
3.1.3 การจัดทําระบบน้ํา


Click to View FlipBook Version