สรุปผลการจดั กิจกรรมการจดั กจิ กรรมการศึกษา
เพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
ไตรมาส 3-4 ปีงบประมาณ 2565
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็ นยาอยา่ งฉลาด”
วนั ท่ี 27 มิถนุ ายน 2565
ณ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี
นางสาวนิตยา นา้ ฟ้ า
ครู กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด ก
คำนำ
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนิคม ไดจ้ ดั ทำโครงการอบรมให้ความรู้
“กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด” โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการใช้กัญชาเปน็ ยาอย่างปลอดภัยได้ และส่งเสรมิ ให้ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมสามารถนำสารสกัดกัญชาไปใช้เป็น
ยาในการรักษาโรคได้อย่างปลอดภยั ซ่ึงมกี ารสรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการดงั กล่าวเพื่อต้องการทราบวา่ การ
ดำเนนิ โครงการบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ท่ีกำหนดไวห้ รอื ไม่ บรรลใุ นระดับใดและได้จดั ทำเอกสารสรุปผลการจดั
กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชนเสนอตอ่ ผบู้ ริหาร ผเู้ ก่ยี วข้องเพื่อนำข้อมูลไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ
พัฒนาการดำเนนิ โครงการใหด้ ยี ่งิ ขนึ้
คณะผู้จดั ทำ ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
พนสั นิคม ท่ีให้คำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจัดทำสรปุ ผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นา
สังคมและชมุ ชนในคร้งั น้ี
หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและ
ชุมชนฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ปฏิบตั ิงานโครงการและหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องในการนำไปใชใ้ นการจัดกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ต่อไป
เบญจมาศ น้อยประเสริฐ
ครู กศน.ตำบล
กรกฎาคม 2565
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สังกดั กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด ข
สารบญั หนา้
ก
หัวเรอื่ ง ข
คำนำ ค
สารบัญ 1
สารบัญตาราง 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
- หลักการและเหตุผล 1
- วตั ถปุ ระสงค์ 2
- เปา้ หมายการดำเนินงาน 3
- ผลลพั ธ์ 3
- ตวั ชว้ี ดั ผลสำเร็จของโครงการ 3
บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 16
- กรอบการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 19
- เอกสาร/งานทีเ่ กย่ี วข้อง 25
บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ งาน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
บทท่ี 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก
- แผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน
- โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด”
- หนงั สือขออนเุ คราะห์วิทยากร
- แบบประเมนิ ผรู้ บั บริการ
- ภาพประกอบการจดั กิจกรรม
คณะผจู้ ดั ทำ
กศน.อำเภอพนัสนิคม สังกดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด ค
สารบญั ตาราง หน้า
19
ตารางท่ี รายละเอียด 20
1 ผ้เู ข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 20
2 ผู้เขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 21
3 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 21
4 ผ้เู ข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดับการศกึ ษา 22
5 แสดงค่าร้อยละเฉลย่ี ความสำเรจ็ ของตัวช้วี ดั ผลผลิต ประชาชนทัว่ ไป 22
6 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม
7 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ าร 23
จัดการ
8 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ 24
ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
9 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ
ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ด้รบั
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 1
บทท่ี 1
บทนำ
หลักการและเหตุผล
ด้วยสถานการณ์หลายประเทศท่วั โลกมีการนำสารสกัดกัญชามาใช้เพอ่ื เป็นยารักษาโรคในประเทศไทยเอง
รัฐบาลมกี ารประกาศให้มกี ารใช้กัญชาอย่างเสรใี นทางการแพทย์ ในการดำเนนิ การจงึ จำเป็นตอ้ งมีกระบวนการใน
การจัดระบบบริการสุขภาพเพ่อื ให้ประโยชนท์ างการแพทย์ และผลขา้ งเคยี งต่อผู้รับบริการให้น้อยทีส่ ุด และดว้ ย
สถานการณ์การนำสารสกดั กัญชามาใช้ในทางทผี่ ิดจำนวนมากของประชาชน ทำให้มีความเส่ยี งในการเกดิ อันตราย
โดยร้เู ท่าไมถ่ ึงการณ์ เพ่ือป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหาการนำสารสกัดจากกัญชามาใช้ในทางที่ผิด
ดงั นน้ั กศน.อำเภอพนสั นิคม จงึ ไดจ้ ัดโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
ข้ึนใหแ้ ก่ประชาชน เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้าร่วมกจิ กรรมร้จู ักการใช้พื้นท่อี ยา่ งมีประสิทธิภาพสงู สดุ พรอ้ มทงั้ สง่ เสริมและ
พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
วตั ถุประสงค์
1. เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การใชก้ ญั ชาเปน็ ยาอย่างปลอดภัยได้
2. เพือ่ สง่ เสริมให้ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมสามารถนำสารสกัดกัญชาไปใชเ้ ปน็ ยาในการรกั ษาโรคได้อยา่ งปลอดภัย
เป้าหมาย (Outputs)
เปา้ หมายเชิงปริมาณ
ประชาชนอำเภอพนัสนคิ ม จำนวน 16 คน
เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
1. ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การใช้กญั ชาเปน็ ยาได้อย่างปลอดภัย
2. ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมสามารถนำสารสกดั กญั ชาไปใชเ้ ปน็ ยาในการรกั ษาโรคได้อยา่ งปลอดภยั
ผลลพั ธ์
ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การใชก้ ญั ชาเปน็ ยาได้อย่างปลอดภัย และสามารถนำสาร
สกัดกญั ชาไปใชเ้ ป็นยาในการรกั ษาโรคไดอ้ ย่างปลอดภยั
กศน.อำเภอพนัสนิคม สังกัด กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 2
ดัชนชี ้ีวัดผลสำเรจ็ ของโครงการ
ตัวชว้ี ัดผลผลติ (Outputs)
ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการใชก้ ัญชาเป็นยาได้อย่างปลอดภยั
ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcomes)
ร้อยละ 80 ผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถนำสารสกัดกัญชาไปใชเ้ ป็นยาในการรกั ษาโรคได้อย่าง
ปลอดภัย
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 3
บทท่ี 2
เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง
ในการจัดทำสรปุ ผลโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”คร้ังนี้ คณะผ้จู ดั ทำโครงการ
ได้ทำการคน้ คว้าเนื้อหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ดงั นี้
1. กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน
2. เอกสาร/งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง
1. กรอบการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน
จุดเนน้ การดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
1. ด้านการจดั การเรยี นรู้คุณภาพ
1.2 ขบั เคลื่อนการจัดการเรียนรทู้ ่สี นองตอบยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละนโยบายของรัฐมนตรวี า่ การ และ
รัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
2. เอกสาร/งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง
หลายประเทศทั่วโลกไดมีการนาํ สารสกดั จากกัญชามาใชเพื่อเปนยารักษาโรคเนือ่ งจากมีการศึกษาวจิ ัย
สนับสนุนถงึ ประโยชน และโทษของกัญชามากช้ึน พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 จัด
กญั ชาเปนยาเสพติดใหโทษประเภทที่ ๕ แตอนุญาตใหใชกัญชาเฉพาะในทางการแพทยเพอื่ การดูแลรกั ษาผูปวย และ
การศึกษาวิจัยได เน่ืองจากสารประกอบ cannabinoids ที่อยูในกัญชาสามารถใชในการรกั ษาโรคได โดยสาร ทีอ่ อก
ฤทธห์ิ ลกั ทนี่ าํ มาใชในทางการแพทย คือ delta-9-Tetrahydrocannabinol (THC) ทอ่ี อกฤทธิ์ตอจติ ประสาท และ
cannabidiol (CBD) ที่ไมมีฤทธ์ิเสพตดิ สารประกอบ cannabinoids ออกฤทธ์ผิ าน cannabinoid receptor หลกั
2 ชนดิ คือ
CB1 receptor ซึง่ พบมากในสมองและรางกาย มคี วามสัมพันธกับการตัดสินใจ ความจํา ความเขาใจ อา
รมณ การรับรูความปวดและการเคล่ือนไหว สวน
CB2 receptor พบทร่ี ะบบภูมิคุมกัน และระบบประสาทสวนปลาย มาม ทอนซลิ ตอมไทมสั กระดูก
ผิวหนัง และเลือด monocyte, macrophages, B-cells และ T-cells
ในรางกายสามารถสราง endocannabinoid ซง่ึ เปน cannabinoids โดยธรรมชาติ (ทม่ี กี ารศึกษาสวน
ใหญ คอื anandamide และ arachidonoyl-glycerol (2-AG)) endocannabinoid ถูกสรางขึน้ เพ่ือกํากับการ
ทาํ งานตางๆ ของรางกายโดยจะไปจับกบั CB1 และ CB2 receptor นอกจากนี้ การศึกษาตางๆ พบวา
endocannabinoids สงผลเกย่ี วของกับการทาํ งานของรางกาย อาทิ ความจาํ อารมณ ความอยากอาหาร การนอน
หลบั ความปวด การติดยา และการอกั เสบ รวมถึงอาจมบี ทบาทในการปองกนั ท่ีเกย่ี วของกับการทํางาน ของสมอง
ระบบ metabolism ของรางกาย อาทิ lipolysis, glucose metabolism และ energy balance การจัดทํา
คาํ แนะนําการใชสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย ผานกระบวนการสืบคนโดยใชคําสาํ คัญ โดยรวมเพอ่ื ใหสบื คนได
กวางและไดขอมลู มากทส่ี ุด เฉพาะขอมูลทเ่ี ปนภาษาไทยและองั กฤษเทานนั้ กําหนด ระยะเวลายอนหลงั 10 ป โดย
สืบคนจากฐานขอมลู Medline ผาน PubMed รวมถึงฐานขอมลู Cochrane Library และขอมลู จากผูเชย่ี วชาญ
กศน.อำเภอพนสั นิคม สังกัด กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 4
• กัญชาทางการแพทย หมายถึง สงิ่ ท่ีไดจากการสกดั พืชกัญชา เพอ่ื นาํ สารสกัดทไ่ี ดมาใชทางการแพทย
และการวิจยั ไมไดหมายรวมถึงกญั ชาทย่ี ังคงมสี ภาพเปนพชื หรือสวนประกอบใดๆ ของพืชกญั ชา อาทิ ยอดดอก ใบ
ลําตน ราก เปนตน
• ผลิตภัณฑกัญชา หมายถงึ รูปแบบ หรอื ลกั ษณะของสารสกัดจากกัญชาที่ผานการเตรียมเพ่ือนํามาใช
ทางการแพทยกบั ผูปวย อาทิ เม็ด สเปรสพนในชองปาก น้ำมนั หยดใตลนิ้ แทงเหนบ็ ทวารหนกั และ อื่นๆ
• Unapproved products หมายถึง ผลิตภณั ฑกญั ชาทางการแพทยที่ยงั ไมผานการขน้ึ ทะเบยี นตาํ รบั จาก
สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา
โรคและภาวะทใ่ี ชผลิตภัณฑกัญชาทางการแพทย
ผลติ ภัณฑกญั ชาทางการแพทยไดประโยชน เน่ืองจากมีหลักฐานทางวชิ าการท่ีมคี ุณภาพสนับสนนุ ชัดเจน
ไดแก
1. ภาวะคลื่นไสอาเจียนจากเคมบี ําบดั (chemotherapy induced nausea and vomiting) แพทย
สามารถใชผลิตภัณฑกัญชาเพื่อรักษาภาวะคลนื่ ไสอาเจยี นจากเคมบี ําบัดภายใตขอพิจารณา ตอไปนี้
• ไมแนะนาํ ใชผลติ ภัณฑกัญชาเปนการรักษาเริ่มตน
• แนะนาํ ใหปรึกษากับผูปวยถงึ ประโยชนและความเส่ียงของผลิตภัณฑกญั ชากอนใช
• ใชผลติ ภัณฑกัญชาเพ่ือรักษาอาการคลื่นไสจากเคมบี ําบดั ทีร่ กั ษาดวยวิธตี างๆ แลวไมไดผล
• ไมแนะนาํ ใหใชในกรณีของภาวะคล่ืนไสอาเจียนทั่วไป
• ไมแนะนาํ ใหใชในกรณีของภาวะคล่ืนไสอาเจยี นในหญิงต้ังครรภ หรอื มีอาการแพทองรุนแรง
• แนะนําใหใชผลติ ภณั ฑกญั ชาเปนการรักษาเสริมหรือควบรวมกบั การรักษาตามมาตรฐาน
• แนะนาํ ใหใชสารสกัดกัญชาชนิดอตั ราสวน THC:CBD เปน 1:1 หรอื ใชสารสกัดกัญชาชนิด THC
เดน
2. โรคลมชักท่รี กั ษายาก และโรคลมชักที่ดือ้ ตอยารักษา (intractable epilepsy) ผสู ่ังใชควรเป็นแพทย
ผูเช่ยี วชาญดานระบบประสาท และไดรบั การอบรมการใชสารสกดั จากกญั ชา เพอ่ื การรักษาผูปวย
• ใชในโรคลมชกั ทีร่ ักษายากในเด็ก ไดแก Dravet และ Lennox-Gastaut Syndrome
• โรคลมชกั ทดี่ ้ือตอยารักษาต้งั แต 2 ชนดิ ขึ้นไป หากคาดวาจะเกดิ drugs interaction อาจ
พจิ ารณาใชผลิตภัณฑกัญชาท่ีมี cannabidiol (CBD) สูง
• แพทยผูดูแลผูปวยโรคลมชกั ท่ีเขาเกณฑโรคลมชักทีร่ ักษายาก ควรสงตอผูปวยไปยังสถานบรกิ าร
สขุ ภาพระดบั ตติยภมู เิ พื่อพบแพทยผูเช่ียวชาญเฉพาะทางระบบประสาท เพื่อประเมนิ และใหการรักษาตอไป
ในกรณี
- ลมชกั ทยี่ ังควบคมุ ดวยยาไมได
- ผปู วยเดก็ ทม่ี ีอายุต่ำกวา 2 ป
- ผปู วยลมชกั ท่ีมีความเสีย่ งหรอื ไมสามารถทนตอผลขางเคียงของการรกั ษาลมชกั ได
- มีความผิดปรกตทิ างจิต หรือมีโรคจติ รวมดวย
- มีขอสงสัยในการวนิ จิ ฉัยลักษณะลมชัก หรือกลุมอาการลมชกั
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กัด กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 5
3. ภาวะกลามเน้อื หดเกร็ง (spasticity) ในผูปวยโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแข็ง (multiple sclerosis) แพทย
สามารถใชผลติ ภณั ฑกัญชาในกรณีท่ีรักษาภาวะกลามเน้ือหดเกรง็ ทด่ี ้ือตอรักษาภายใต ขอพจิ ารณาตอไปนี้
• ไมแนะนาํ ใหใชเปนผลิตภณั ฑกญั ชาเปนการรักษาเร่มิ ตน
• แนะนาํ ใหปรึกษากบั ผูปวยถึงประโยชนและความเสีย่ งของผลิตภณั ฑกัญชากอนใช
• แนะนาํ ใหใชในกรณีทร่ี กั ษาดวยวิธีมาตรฐานอยางเหมาะสม (รวมถงึ วธิ ที ี่ไมใชยา) แลวไมไดผล
• แนะนาํ ใหใชสารสกดั กัญชาชนดิ อัตราสวน THC:CBD เปน 1:1
4. ภาวะปวดประสาท (neuropathic pain) แพทยสามารถใชผลิตภัณฑกัญชาในกรณีท่รี ักษาภาวะปวด
ประสาทที่ด้ือตอการรักษาภายใต ขอพจิ ารณาตอไปน้ี
• ไมแนะนําใหใชเปนผลิตภัณฑกญั ชาเปนการรกั ษาเร่ิมตน
• แนะนาํ ใหปรึกษากบั ผูปวยถงึ ประโยชนและความเสีย่ งของผลติ ภณั ฑกัญชาทใ่ี ช
• แนะนาํ ใหใชในกรณีทที่ ดลองใชยาบรรเทาอาการปวดอยางสมเหตผุ ลแลว แตผูปวยยงั คงมี
อาการปวด
• แนะนาํ ใหใชผลิตภัณฑกัญชาเปนการรกั ษาเสริมหรอื ควบรวมกบั วิธีมาตรฐาน
• แนะนาํ ใหใชสารสกดั กัญชาชนิดอัตราสวน THC:CBD เปน 1:1
5. ภาวะเบอื่ อาหารในผูปวย AIDS ทมี่ ีนำ้ หนกั ตัวนอย
• อาจใชสารสกดั กัญชาชนดิ THC เดนเพ่ือเพิ่มความอยากรบั ประทานอาหารและทําใหผูปวย
AIDS มีนำ้ หนักตวั เพิม่ ขึ้นได
• แนะนําใหใชสารสกดั กญั ชาชนิด THC เดน โดยเริม่ ปรมิ าณนอยวันละ 2 ครั้ง กอนอาหาร แลว
ปรับเพมิ่ ขน้ึ ทีละนอยตามดลุ พนิ ิจของแพทย
6. การเพ่ิมคณุ ภาพชวี ติ ในผูปวยท่ีไดรบั การดูแลแบบประคับประคอง หรือผูปวยระยะสดุ ทายของชวี ติ
(end of life) ซงึ่ เปนการตัดสินใจของผูรักษา มีขอแนะนาํ ดังน้ี
• ไมแนะนาํ ใหใชเปนผลติ ภณั ฑกญั ชาเปนการรักษาเริ่มตน
• แนะนาํ ใหใชผลติ ภัณฑกัญชาเปนการรักษาเสริมหรอื ควบรวมกบั วิธีการรักษาตามมาตรฐาน
ผลติ ภัณฑกัญชาทางการแพทยนาจะไดประโยชน (ในการควบคมุ อาการ)
ผลิตภัณฑกญั ชาประเภทน้ีมีหลกั ฐานทางวชิ าการที่มคี ุณภาพสนับสนุนมีจํานวนจาํ กัด ซึ่งตองการขอมลู
การศกึ ษาวจิ ยั เพ่ือสนบั สนนุ ตอไป อยางไรก็ตาม ในกรณีท่ผี ูปวยไดรับการรักษาดวยวธิ มี าตรฐานแลวไมสามารถ
ควบคมุ อาการของโรคได หากจะนาํ ผลิตภณั ฑกัญชามาใชกับผูปวยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซงิ กิของแพทยสมาคม
โลก (ค.ศ.2013) ขอ 37(16) ระบวุ ามีความเปนไปไดหากไมมวี ธิ ีการรกั ษาอืน่ ๆ หรือมวี ธิ ีการรักษาแตไมเกดิ
ประสิทธผิ ล ภายหลงั จากได ปรกึ ษาหารือผูเชีย่ วชาญและไดรับความยินยอมจากผูปวยหรือญาตโิ ดยชอบธรรมแลว
แพทยอาจเลอื กวิธีการที่ยงั ไมไดพสิ ูจน หากมดี ุลยพินิจวาวิธีการน้ันๆ อาจชวยชวี ติ ผูปวย ฟนฟสู ขุ ภาพ หรอื ลด
ความทกุ ขทรมานของผูปวยได วธิ ีการดงั กลาวควรนําไปเปนวตั ถุประสงคของการวิจัยโดยออกแบบใหประเมินความ
ปลอดภยั และประสทิ ธิผล ควบคกู นั ไป รวมถึงตองบนั ทึกขอมูลผูปวยทุกราย และหากเหมาะสมควรเผยแพรให
สาธารณะไดทราบ การใชผลิตภณั ฑกัญชาเพื่อรักษาผูปวยเฉพาะรายและดาํ เนินการเกบ็ ขอมูลวิจยั ควบคูกนั ไป ซึ่ง
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สงั กัด กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 6
อาจมี รูปแบบการวจิ ัยในลักษณะการวิจยั เชิงสังเกตุ (observational study) และ/ หรือ การวิจัยจากสถานการณท่ี
ใช รักษาผูปวยจริง (actual used research) โรคและภาวะของโรคในกลุมนี้ อาทิ
1. โรคพารกนิ สนั
2. โรคอลั ไซเมอร
3. โรควติ กกงั วลไปท่วั (generalized anxiety disorders)
4. โรคปลอกประสาทอักเสบ (demyelinating diseases) อื่นๆ อาทิ neuromyelitis optica และ
autoimmune encephalitis
ผลติ ภัณฑกัญชาทางการแพทยอาจไดประโยชน (ในอนาคต)
การใชกัญชารักษาโรคมะเรง็ มีความจําเปนตองศึกษาวิจยั ถึงประสิทธิผลของกญั ชาในหลอดทดลอง ความ
ปลอดภัยและประสทิ ธผิ ลในสตั วทดลอง กอนการศกึ ษาวจิ ยั ในคนเปนลาํ ดบั ตอไป เนื่องจากในปจจุบันขอมลู
หลกั ฐานทางวิชาการทส่ี นบั สนุนวากญั ชามปี ระโยชนในการรกั ษาโรคมะเรง็ ชนิดตางๆ ยังมไี มเพียงพอ แตสมควร ได
รบั การศึกษาวเิ คราะหอยางละเอยี ด ดังนน้ั ผูปวยโรคมะเร็งจงึ ควรไดรบั การรักษาตามวธิ มี าตรฐานทาง การแพทย
ในปจจุบัน หากเลือกใชเฉพาะผลติ ภัณฑกัญชาในการรักษาโรคมะเรง็ แลว อาจทาํ ใหผูปวยเสียโอกาสใน การรักษา
มะเรง็ ที่มีประสิทธผิ ลดวยวิธีมาตรฐานได
ขอแนะนาํ กอนตดั สินใจใชผลติ ภณั ฑกญั ชาทางการแพทย์
1. ความสัมพนั ธระหวางแพทยกบั ผูปวย (physician-patient relationship) เปนพ้ืนฐานในการใหการ
ยอมรับการรักษาพยาบาล แพทยควรมั่นใจวามีความสัมพันธกบั ผูปวยดีเพียงพอกอนการใชผลิตภัณฑกัญชา ผูปวย
ควรไดรับการตรวจทางการแพทยและบันทึกในเวชระเบยี นผูปวย รวมถึงการประเมนิ ผูปวยวามีความเหมะ สมที่
จะใชผลติ ภณั ฑกญั ชาหรือไม
2. การประเมินผูปวย (patient evaluation) ควรบันทกึ ขอมลู การตรวจทางการแพทย และรวบรวม
ขอมูลประวตั ทิ เี่ กย่ี วของกบั อาการทางคลนิ ิกของผูปวย
3. การแจงใหทราบและตดั สินใจรวมกัน (informed and shared decision making) โดยใหขอมลู
รายละเอียดของการรักษาท่ีไดรบั อยใู นปจจบุ ันดานประสทิ ธิผล ผลขางเคยี งและคุณภาพชวี ติ การใชผลิตภณั ฑ
กญั ชากบั ผูปวยควรเปนการตัดสินใจรวมกันระหวางแพทยผูรักษาและผปู วย แพทยควรอธิบายใหผูปวยเขาใจถึง
ความเสย่ี งและประโยชนของผลิตภัณฑกัญชา ความหลากหลายและมาตรฐานการเตรยี มผลิตภณั ฑกัญชา อาจทํา
ใหผลที่เกดิ กบั ผูปวยมีความแตกตางกัน กรณีท่ีผูปวยไมสามารถตัดสินใจไดดวยตนเอง แพทยควรแจงใหญาตหิ รือ ผู
ดูแลทราบถึงความเสี่ยงและผลท่ีคาดวาจะไดรับจากการใชผลิตภัณฑกัญชาซึ่งสงผลตอการวางแผนการรกั ษา และ
การยนิ ยอมรักษา
4. ขอตกลงการรกั ษารวมกนั (treatment agreement) วตั ถปุ ระสงคและแผนการรักษาควรแจงให ผูปวย
ทราบตง้ั แตแรกและทบทวนอยางสม่ําเสมอ รวมถงึ ความเหมาะสมในการเลือกวิธรี กั ษาของแตละบคุ คล
5. เงอื่ นไขที่เหมาะสม (qualifying condition) ปจจุบนั ยงั ไมมหี ลกั ฐานทางวชิ าการดานประสิทธผิ ล ของ
การใชผลติ ภัณฑกัญชาในทางการแพทยเพียงพอ การตัดสนิ ใจสงั่ ใชขึ้นอยูกบั ความเชย่ี วชาญและประสบการณ ของ
แพทยในประเดน็ ขอบงใช ความเหมาะสม และความปลอดภยั ของผูปวยแตละคน
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สังกัด กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 7
6. การตดิ ตามอยางตอเนอ่ื งและปรบั แผนการรักษา (ongoing monitoring and adapting the
treatment plan) แพทยควรประเมินการตอบสนองของการใชผลิตภัณฑกญั ชากับผูปวยอยางสมำ่ เสมอ ทั้ง สุขภาพ
ในภาพรวมและผลลัพธเฉพาะดาน รวมถงึ ผลขางเคียงท่ีอาจเกดิ ขึน้
7. การใหคําปรึกษาและการสงตอ (consultation and referral) ผปู วยที่มีประวัติการใชสารเสพตดิ และ
ปญหาโรคทางจิต จาํ เปนตองไดรบั การประเมินและใหการรักษาเปนกรณีพิเศษ แพทยผูรักษาควรขอ คาํ ปรึกษา
หรอื สงตอผูปวยไปพบผูเชีย่ วชาญเฉพาะดาน
8. การบันทกึ เวชระเบยี น (medical records) การบนั ทึกขอมลู ผูปวยอยางเหมาะสมจะชวยสนบั สนุน การ
ตดั สินใจในการแนะนาํ การใชกญั ชาเพื่อวัตถปุ ระสงคทางการแพทย การบนั ทึกในเวชระเบยี นควรครบถวน สมบรู ณ
ซึง่ อาจมผี ลทางกฎหมาย ควรลงวันท่ีและลายเซน็ ต์กาํ กับไวในการบนั ทึกแตละครง้ั ขอมูลที่ควรปรากฎในเวช
ระเบยี น
• ประวตั ิผูปวย การทบทวนปจจัยเสย่ี งตางๆ
• ผลการรกั ษาทไ่ี ดรับมากอน การประเมินผูปวย การวนิ ิจฉัย และการใหการรกั ษา รวมถึงผล
ตรวจทาง หองปฏบิ ตั กิ าร
• การใหคาํ แนะนาํ ผูปวย รวมถึงการทําความเขาใจกบั ความเสย่ี ง ประโยชนทีไ่ ดรบั ผลขางเคียง
และ ผลการรกั ษาที่อาจพบไดหลากหลาย
• ผลการประเมินผูปวยอยางตอเนือ่ ง และการกํากบั ติดตามผลท่เี กดิ กบั ผูปวย
• สาํ เนาการลงนามในขอตกลงรกั ษา รวมถงึ คําแนะนาํ ในการดแู ลความปลอดภยั และไมนําผลติ
ภัณฑ กัญชาไปใหผูอืน่
9. การมผี ลประโยขนทบั ซอนของแพทย (physician conflicts of interest) แพทยผูสัง่ ใชผลิตภัณฑ
กญั ชาตองไมมผี ลประโยชนทับซอนทง้ั ทางตรง และทางออม
การวางแผนการรักษาดวยผลิตภณั ฑกัญชา
แนะนาํ ใหใชผลติ ภัณฑกัญชาในการทดลองรักษาระยะสนั้ เพอ่ื ประเมินประสทิ ธิผลในการรักษาผูปวย
แผนการรักษาควรมคี วามชัดเจน ในประเด็น ตอไปนี้
1. วางเปาหมายการรักษา การเร่ิมและการหยดุ ใช และหารือรวมกับผูปวยใหชัดเจน ในประเด็นท่ี เกย่ี วของ
กับอาการของผูปวยทร่ี บั การรกั ษาดวยกญั ชา อาทิ หยุดเม่ืออาการคล่นื ไส/ อาเจียนลดลง อาการปวดดี ขนึ้ ในกรณีท่ี
สาเหตุสามารถกาํ จัดได เปนตน
2. บริหารจดั การโดยแพทย หรือทนั ตแพทยท่ีผานการอบรมหลกั สูตรท่ีกระทรวงสาธารณสขุ ใหการรบั รอง
และไดรบั อนญุ าตจากสาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหเปนผูส่งั ใชผลิตภัณฑกญั ชาได
3. มีกระบวนการจัดการความเส่ยี ง เชน การบรหิ ารยาและความถ่ขี องการจายยา โดยการจายยาเปนราย
สัปดาหหากมขี อสงสัยวาผูปวยอาจเพ่ิมขนาดยาดวยตนเอง
4. กํากับติดตาม โดยการทบทวนทุกสปั ดาห/ 2 สปั ดาห/ ทุกเดือน รวมถึงการตรวจทางหองปฏิบัตกิ าร การ
ทบทวนโดยผูเช่ียวชาญ การตรวจอน่ื ๆ ตามความจาํ เปนโดยเฉพาะดานการรกั ษา
5. ใหผูปวยลงนามยนิ ยอม โดยไดรับทราบขอมูลเก่ยี วกบั ผลติ ภณั ฑกัญชาที่ใชในการรกั ษา ผลขางเคยี งท่ี
อาจเกิดข้นึ และเปาหมายของการรกั ษา รวมถึงการหยุดเมื่อการรักษาไมไดประโยชน
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กดั กศน.จังหวัดชลบุรี
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 8
6. ใหคาํ แนะนาํ ผูปวยวา ไมควรขบั ขี่ยานพาหนะ และทาํ งานกับเคร่ืองจกั รกลเมอื่ ใชผลิตภัณฑกัญชาทาง
การแพทย การเร่ิมใชผลติ ภณั ฑกญั ชาในทางการแพทย์
เมอ่ื พจิ ารณาแลววาจาํ เปนตองใชผลิตภณั ฑกัญชากับผูปวย ผูส่งั ใชควรซกั ประวตั อิ ยางละเอยี ดกอนเร่มิ การ
ส่งั ใช ดงั น้ี การซักประวัติ
1. อาการสําคัญปจจบุ นั ทจ่ี ะใชผลิตภณั ฑกัญชามาใชในรักษา/ บรรเทาอาการ
2. ประวตั ิเจ็บปวยในปจจุบัน โดยเฉพาะ
• โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคตับ และโรคไต
• การรักษาท่ไี ดรับมากอนแลวไมไดผล (รวมถงึ ระยะเวลาท่ีรกั ษา และเหตผุ ลท่ีหยดุ )
3. ประวัติเจบ็ ปวยในอดตี
4. ประวตั เิ จบ็ ปวยทางจิต และโรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคจติ เภท (schizophrenia) และอาการทาง จติ
จากการไดรับยารักษาพารกินสนั ยารกั ษาสมองเสือ่ ม (cholinesterase inhibitor)
5. พฤตกิ รรมเสย่ี งทสี่ ัมพนั ธกับการติดสารเสพติด ผูทีเ่ คยใชหรือใชกัญชาในปจจบุ นั อาจไมเปนขอหาม แต
ควรระมดั ระวังและจัดการความเสีย่ งของการเสพตดิ
• การติดนิโคตนิ ในบหุ รี่
• การติดแอลกอฮอร
• การใชยาทผ่ี ิดกฎหมายมากอน
6. ประวตั ดิ านสขุ ภาพของครอบครัว รวมสุขภาพจิต โดยเฉพาะโรคจิตเภท (schizophrenia)
7. ประวัติทางสังคม (การสนับสนุนจากสงั คมและครอบครัวในการใชกญั ชาในการรกั ษาโรคของผูปวย)
8. ตรวจรางกายตามความเหมาะสม
9. ตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ ตามความจําเปน
10.ทบทวนการใชยา
• ยาบางชนิดทผี่ ูปวยใชอาจมีปฏิกิรยิ ากับผลิตภัณฑกญั ชา
• ความเส่ียงของผลขางเคยี งตางๆ จากการใชผลิตภณั ฑกัญชา
หมายเหตุ ขอ 4, 5 และ 6 อาจพิจารณาใช non-psychoactive cannabis preparation
ขนาดยา และการบริหารยา
1. ไมมีขนาดยาเร่ิมตนทแี่ นนอนในผลติ ภัณฑกัญชาแตละชนิด ขนาดยาทเ่ี หมาะสมข้ึนกับลักษณะของ
ผูปวยแตละคนและปรบั ตามแตละผลติ ภัณฑ โดยเริ่มตนขนาดต่ำและปรบั เพ่ิมขนาดชาๆ จนไดขนาดยาเหมาะสม ท่ี
ใหผลการรักษาสูงสุดและเกิดผลขางเคียงตำ่ สดุ ขนาดยาในระดับต่ำมีโอกาสเกิดผลขางเคียงนอย
2. ผทู ่ีเริ่มตนรักษา และไดรบั ผลิตภัณฑกญั ชาเปนคร้ังแรกควรเรมิ่ ตนท่ีขนาดต่ำมากๆ หากเกดิ ผลขางเคียง
และควรปฏิบตั ดิ งั นี้
2.1 ปรับลดขนาดยา เมื่อพบอาการ
• มึนเวยี นศรี ษะ (dizziness)
• เสยี ความสมดุล (loss of co-ordination)
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สังกัด กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 9
• หัวใจเตนชา (bradycardia)
• ความดนั โลหติ ผิดปรกติ (abnormal pressure)
2.2 หยุดใชทันที เมื่อพบอาการ
• สบั สน (disorientation)
• กระวนกระวาย (agitation)
• วิตกกงั วล (anxiety)
• ประสาทหลอน (hallucination)
• โรคจิต (psychosis)
3. การใหสารสกดั จากกัญชาในครง้ั แรกควรใหเวลากอนนอนและมผี ูดแู ลใกลชดิ เน่อื งจากอาจเกิด
ผลขางเคยี งได
4. เน่ืองจากยังไมมีขอมลู การใชสารสกดั กัญชาในรูปน้ำมนั หากเทียบเคียงกับการใช
4.1 สารสกัดกัญชาทม่ี ี cannabidiol (CBD) สูง ขอมลู ของการวจิ ัยคลินิกของ epidiolex® (CBD
ใน ลกั ษณะน้ำมนั ) แนะใหใช CBD ขนาด 5-20 mg ตอ kg ซง่ึ เปนขนาดยาสาํ หรบั เด็ก กอนเริ่มรกั ษาควรตรวจการ
ทาํ งานของตบั (liver function test) เปนขอมูลเบ้ืองตน ภายหลงั เริ่มตนใหการรักษา 2 สัปดาห และทกุ 2 สปั ดาห
ภายหลงั เพม่ิ ปรมิ าณทีใ่ ชในแตละคร้ัง เนอื่ งจาก CBD จะเพ่ิมระดับของยาหลายชนดิ รวมถงึ ยากันชักเม่ือ ใชรวมกบั
CBD ซง่ึ พบอุบตั ิการณของตับอักเสบสงู ขนึ้ ดังนั้น เมอื่ เร่ิมคุมอาการชกั ของผูปวยไดแลว ควรลดขนาด ยาอืน่ ๆ ท่ีใช
ลง
4.2 สารสกัดกญั ชาท่ีข้นึ ทะเบียน Sativex® (nabiximol) ในรูปสเปรย ซ่ึงมสี ัดสวนโดยประมาณ
ของ THC:CBD = 1:1 แนะนําใหใช 1 สเปรย (THC 2.7 mg และ CBD 2.5 mg) ตอวนั และเพิ่มปรมิ าณการใชได
สงู สุด 12 สเปรยตอวนั (THC 32.4 mg และ CBD 30 mg)
4.3 ยา dronabinol (marinol® ) เปน THC สังเคราะหในรูปแคปซลู
4.3.1 การศึกษาวจิ ยั ในผูปวย AIDS พบวาขนาดทเ่ี ริม่ ใชไดผลในการเพ่ิมความอยาก
อาหารและ นำ้ หนักตัว คือ 5 mg ตอวัน โดยแบงใหกอนอาหารวันละ 2 ครัง้ ปรมิ าณยา dronibinol สูงสดุ ตอวนั
เปน 10 mg (5 mg วันละ 2 คร้ัง กอนอาหาร) เม่อื เขาสูรางกายจะเกิด first-pass metabolism เหลอื ปริมาณ
THC รอย ละ 10-20(19) ท่ีอยูในระบบไหลเวยี น (ประมาณ 2 mg ของ THC ตอวนั )
4.3.2 ผูปวยท่มี ีอาการคลน่ื ไสอาเจียนจากเคมบี ําบัดในระดับปานกลางถงึ รนุ แรง ยา
dronabinol ลดอาการคลื่นไสอาเจียนลงไดไมตางจาก odansetron โดยใช dronabinol ขนาด 5 mg/m2 ในชวง
1-3 ชั่วโมงกอนไดรับยาเคมบี ําบดั และใหทุก 2-4 ช่วั โมงภายหลงั ใหเคมบี าํ บัด โดยภาพรวมจะเปน 4-6 dose
ตอวัน สารสกัดกัญชาขององคการเภสชั กรรมชนดิ THC เดนทใ่ี ชหยดใตลิน้ (ไมเกิด first-pass metabolism) จะมี
ปรมิ าณ THC 0.5 mg ตอหยด โดยแนะนําดงั นี้
• ใชปรมิ าณ 0.5-1 mg/ วัน หรอื 1-2 หยดตอวัน ปริมาณสูงสุด 4 หยดตอวัน
หรือตามดุลยพนิ ิจ ของแพทย กรณเี พ่ิมความอยากอาหารและน้ำหนักตัวในผูปวย AIDS อยางไรก็ตาม สารสกัด
กญั ชา ชนิด THC เดน อาจเกิด อันตรกิริยาระหวางยา (drug interaction) กบั ยาตานไวรัสได ดังนนั้ แพทยจึงควร
กศน.อำเภอพนัสนิคม สังกัด กศน.จังหวดั ชลบุรี
สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 10
ทราบขอมลู หรอื ปรกึ ษาแพทยผูจายยาตานไวรสั กอนสัง่ ใช
• ใชปริมาณ 0.5-1 mg/m2 หรอื 1-2 หยด/m2 ตอครั้ง (พ้ืนที่ผิวของรางกาย
1 ตารางเมตร) หรือ ตามดุลยพนิ ิจของแพทย เม่ือใชลดอาการคลื่นไสอาเจียนจากเคมบี ําบดั ชนิดปานกลางถึงรนุ แรง
ทั้งนี้ ใหปรบั ลดขนาดยาลงเม่ือผูปวยมภี าวะหวั ใจเตนชา (bradycardia) หรือ หัวใจเตนเร็ว (tachycardia) รวมถึง
เหตกุ ารณไมพึงประสงคอ่ืนๆ
5. ผสู ั่งใชตองเฝาระวงั และติดตามความปลอดภัยของการใชสารสกดั กัญชา และเก็บรวบรวมขอมูลของ
ขนาดยาทใ่ี ชโดยเฉพาะเม่ือใชในผูสงู อายุ และผูที่มีอายุนอย
ขอหามใชผลติ ภัณฑท่ีมี THC เปนสวนประกอบ
1. ผูท่ีมีประวัตแิ พผลิตภณั ฑที่ไดจากการสกดั กญั ชา ซ่งึ อาจเกิดจากสวนประกอบอน่ื ๆ และ/ หรือสารที่
เปนตัวทาํ ละลาย (solvent) ทีใ่ ชในการสกัด
2. ผทู ีม่ ีอาการรุนแรงของ unstable cardio-pulmonary disease (angina, peripheral vascular
isease, cerebrovascular disease และ arrhythmia) หรือ มปี จจยั เสยี่ งของโรคหลอดเลอื ดหัวใจ
3. ผทู ่เี ปนโรคจิตมากอน หรือ มอี าการของโรคอารมณแปรปรวน (concurrent active mood disorder)
หรอื โรควติ กกังวล (anxiety disorder)
4. หลกี เลี่ยงการใชในสตรมี คี รรภ สตรที ่ีใหนมบุตร รวมถึงสตรีวยั เจริญพันธุทไี่ มไดคุมกาํ เนิด หรอื สตรที ่ี
วางแผนจะตง้ั ครรภเน่ืองจากมีรายงานการศึกษาพบวามที ารกคลอดกอนกาํ หนด ทารกน้ำหนักตวั นอย รวมถึงพบ
cannabinoids ในน้ำนมแมได
ขอควรระวังอนื่ ๆ
1. การสั่งใชผลติ ภณั ฑกญั ชาท่ีมี THC เปนสวนประกอบในผูปวยท่มี ีอายุตํา่ กวา 25 ป เนือ่ งจาก ผล
ขางเคียงท่เี กิดข้นึ สงผลตอสมองที่กาํ ลังพัฒนาได ดงั นั้น ผูสั่งใชควรวเิ คราะหความเสีย่ งท่ีอาจเกิดขึ้นกอนการส่ัง ใช
ผลิตภัณฑจากกัญชา
2. ผทู เ่ี ปนโรคตบั
3. ผปู วยท่ตี ิดสารเสพตดิ รวมถึงนิโคติน หรอื เปนผูดม่ื สรุ าอยางหนัก
4. ผใู ชยาอน่ื ๆ โดยเฉพาะยากลุม opioids และยากลอมประสาท อาทิ benzodiazepines
5. ผปู วยเด็กและผูปวยสูงอายุ เนอ่ื งจากยงั ไมมขี อมูลทางวชิ าการมากเพียงพอในสองกลุมนี้ กระบวนการ
metabolism ของผูสงู อายจุ ะชากวา จงึ ดูเหมือนวามีการตอบสนองตอกัญชาไดสงู กวา ดังน้นั การใชจึงควรเรมิ่ ตน
ในปริมาณทีน่ อยและปรบั เพิม่ ข้ึนชาๆ
หมายเหตุ ขอ 3 และ 4 อาจพจิ ารณาใช non-psychoactive cannabis preparation
ปฏิกิรยิ าระหวางยาของสารสาํ คญั ในกญั ชา
1. ยาอืน่ ทีส่ งผลใหระดบั ยาในเลือดของ THC และ CBD เปลยี่ นแปลง เน่อื งจากสาร THC และ CBD ถูก
metabolized โดย cytochrome P450 (cyp) หลายชนิดดงั นี้ - THC ถกู metabolized โดย CYP2C9,
CYP2C19 และ CYP3A4 - CBD ถูก metabolized โดย CYP2C19 และ CYP3A4 เปนสวนใหญ และถกู
metabolized สวนนอยโดย CYP1A1, CYP1A2, CYP2C9 และ CYP2D6 ดงั นนั้ การใช THC และ CBD รวมกบั ยา
อ่นื ทม่ี ผี ลยับยง้ั CYPP450 โดยเฉพาะ CYP2C19 และ CYP3A4 เชน fluoxitine อาจมีผลทาํ ใหระดบั THC และ
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 11
CBD ในเลือดสูงขึน้ จนเกดิ อาการขางเคียงได ในทางตรงกันขาม ถาใช THC และ CBD รวมกับยาท่ีมีฤทธเ์ิ ปน
enzyme induces เชน rifampicin, carbamazepine จะทาํ ใหระดับ THC และ CBD ในเลือดลดลง
2. THC และ CBD มฤี ทธิ์เปล่ียนแปลงระดบั ยาอน่ื เนอ่ื งจาก THC และ CBD มผี ลเปนท้งั enzyme
inducer และ enzyme inhibitor ดังนี้ - THC มผี ลเหนย่ี วนํา CYP1A2 - THC มีผลยับย้ัง CYP2C9, CYP2D6 และ
CYP3A4 ซง่ึ อาจสงผลใหยาอ่ืนทถ่ี กู metabolized ดวย CYP เหลานี้ จะมรี ะดับยาสูงขึ้น เชน warfarin (ถูก
metabolized ดวย CYP2C9) มผี ลให INR สงู ขน้ึ ได - CBD มี ผลยบั ยัง้ CYP1A1, CYP1A2, CYP1B1, CYP2B6,
CYP2C19, CYP3A4 แ ล ะ CYP2C9 อยางแรง ดงั นน้ั การใช CBD รวมกบั ยาอน่ื ทีถ่ ูก metabolized ดวย CYP
เหลานี้ ตวั อยางเชน warfarin, clobazam (ถกู metabolized ดวย CYP3A4 และ CYP2C19), ยา กลมุ
fluoroquinolones (ถูก metabolized ดวย CYP1A2), ยากลุม dihydropyridines (ถูก metabolized ดวย
CYP3A4) จะมรี ะดบั ยาสูงขนึ้ ซ่งึ อาจเกิดอาการขางเคยี งได ดงั นัน้ การใชกัญชาทางการแพทย ตองระวังปฏิกิรยิ า
ระหวางยากบั ยาอน่ื ทผี่ ูปวยใชอยูกอนดวย เพื่อ ความปลอดภัยของผูปวย
การรกั ษาพษิ จากการใชสารสกดั กญั ชา (Cannabis Intoxication Management)
การใชสารสกัดกัญชาทีม่ ีขนาดสงู ทําใหเกดิ ผลเสยี ตอรางกาย โดยเฉพาะ THC มีฤทธ์ิตานอาการปวดและ
ลดอาการคล่ืนไสอาเจียนผูท่ใี ชสารสกัดกัญชาทีม่ ี THC ในขนาดสงู ตอเน่ืองกันเปนเวลานานอาจทําใหเกดิ
tolerance และตองเพิ่มปริมาณการใชมากขึ้น ซ่ึงเปนสาเหตขุ องการเสพติดไดในทสี่ ุด CBD ไมมฤี ทธ์ิเสพตดิ และ
ตานฤทธเิ์ มาเคลม้ิ ของ THC
อยางไรกต็ าม CBD สามารถกระตนุ ใหเกิดอาการ คล่ืนไสอาเจียนได ดงั น้นั ผูปวยท่ีใชสาร THC เพื่อลด
อาการคลนื่ ไสอาเจียน หากไดรับสารสกดั กัญชาชนิดที่มี CBD สูงจะทาํ ใหมีอาการคลน่ื ไสอาเจยี นเพ่ิมขนึ้ ได พิษท่ีเกิด
จากการใชกัญชามีดังนี้
1) พษิ เฉยี บพลนั จากการใชกัญชา (Acute Toxicity) อาการไมพึงประสงคจากการใชสารสกดั กัญชา ข้นึ อยู
กบั ปจจัยตางๆ อาทิ ปริมาณท่ไี ดรบั ตอครัง้ (unit dose) ความทน (tolerance) ของผูใช วธิ กี ารนาํ เขาสูรางกาย
(การใชกญั ชาที่ไมถกู วธิ อี าจทําใหเกดิ overdose) วิธกี ารใชกัญชาเขาสูรางกาย เชน
• ชนดิ สดู (inhalation) ระยะเวลาออกฤทธ์ิเร็ว ถงึ ระดบั สูงสุดภายในเวลา 15-30 นาที มี
ระยะเวลาคง อยูประมาณ 3-4 ชว่ั โมง
• ชนิดรับประทาน เริม่ ออกฤทธ์ิประมาณ 30 นาที เนื่องจากมี first pass metabolismที่ตบั
• ชนิดหยดใตลิ้น (sublingual drop) สารสกัดกัญชาออกฤทธเ์ิ ร็วประมาณ 15 นาที (ไมผาน first
pass metabolism) เม่อื รางกายไดรับ THC ในปรมิ าณมาก THC จะไปจบั กับ CB1 receptor ที่ basal ganglion
ทาํ ให dopamine ท่ี synapse ลดลงและ GABA เพ่ิมขนึ้ สงผลตอตอการเปลี่ยนแปลงทาทาง และเสียการควบคมุ
การ ทํางานของกลามเน้ือ (impair movement) ในขณะเดยี วกัน brain reward system ท่ี mesolimbic จะมี
ปรมิ าณของ dopamine เพิ่มขึน้ และ GABA ลดลง สงผลทาํ ใหเกิดอาการเคลิ้ม (euphoria). ประสาทหลอน
(hallucination) และติดยา (addiction) THC มี dose response และความเสี่ยงในการเกิดอาการทางสมอง ได
แก การเปลีย่ นแปลงของสติ (alteration of conscious), ความสนใจ (attention), สมาธิ (concentration),
ความจําระยะสนั้ (short-term memory), การทํางานของสมอง (executive functioning)
2) พษิ ของกญั ชาตอระบบประสาทสวนกลาง (Central Nervous System) ผปู วยจะมีอาการตางๆ ไดแก
กศน.อำเภอพนัสนิคม สงั กัด กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 12
• เคล้มิ (euphoria)
• ตระหนก (panic)
• กระสับกระสาย (agitation)
• อารมณแปรปรวน (mood alterations)
• การรบั รูผดิ ปรกติ (alterations of perception)
• ขาดการยังย้งั ทางสังคม (loss of social inhibition)
• ความสามารถของสมองและการตดั สนิ ใจเสียไป (impairment of cognition and
judgment)
• กดระบบประสาทสวนกลาง (CNS depression)ทําใหเกิดโคมาในเด็ก
• กดการหายใจ (respiratory depression) ในเดก็
• กลามเน้ือทาํ งานไมประสานกัน (muscle incoordination)
• การเคลื่อนไหวแบบกระตุก (myoclonic jerking)
• เดนิ เซ (ataxia)
• พดู ไมชัด (slurred speech)
• มคี วามเสีย่ งในการเกิดบาดเจ็บ ทาํ รายตนเอง และอุบตั เิ หตุ
- อุบตั ิเหตุจราจร (traffic accident)
- กระโดดตกึ (jump from height)
- ฆาตวั ตายดวยการแขวนคอ (suicidal hanging)
ผูเสพหรือใชสารสกดั กัญชาบางคนอาจมีภาวะทางจติ ซอนอยู THC ทาํ ใหเกดิ ภาวะขาดการยับย้ัง
(disinhibition) สงผลใหเกดิ psychotic break และเปนโรคจิต (psychosis) หรือ โรคจติ เภท (schizophrenia) ได
ซ่งึ ในคนทว่ั ไปอาจเกดิ เพียงภาวะเคล้ิม (euphoria) เทานั้น
การจดั การกบั พษิ ของกัญชาตอระบบประสาท
1. สังเกตอาการผูปวยในทท่ี ่ีสงบและปลอดภัย
2. ระวังพลดั ตกหกลม เนอ่ื งจากผูปวยมี impair movement ได
3. ปองกนั ผูปวยทําอันตรายตอตนเอง อาทิ ผูกคอตาย กระโดดตกึ เปนตน
4. ตรวจระดบั น้ำตาลในเลือด เนื่องจากผูปวยท่มี ีอาการคล่ืนไสอาเจียน และใชสารสกัดกัญชาเพ่ือลด
อาการคล่นื ไส หากหกลมและไมสามารถลุกขนึ้ ไดเปนเวลานานๆ อาจทําใหระดบั น้ำตาลในเลอื ดต่ำได
5. วดั ความดนั โลหิต
6. ตรวจคล่นื ไฟฟาหัวใจ
7. ใหการรักษาตามอาการ
7.1 ผูปวยท่มี ีลกั ษณะหลบั ลึกหายใจไมได อาจตองใสทอชวยหายใจกรณผี ูปวยโคมาหรือหยดุ
หายใจ โดยเฉพาะผูปวยเดก็ ท่ีไดสารสกดั กัญชาเกินขนาด (overdose) จะมโี อกาสเกิด respiratory failure จาก
การกดการหายใจ หรอื กลามเน้อื หายใจทาํ งานไมประสานกันได
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 13
7.2 อาการหวั ใจเตนเรว็ ผดิ ปรกติ (tachycardia) แนะนาํ ใหวดั ความดนั โลหิต ใหสารน้ำทางหลอด
เลอื ดดํา (IV fluid) และตรวจคลนื่ ไฟฟาหัวใจ (EKG) แลวแกไขตามผล EKG ทีไ่ ด
8. ให benzodiazepine ในผูปวยท่มี อี าการกระสบั กระสาย วนุ วาย หรอื มีภาวะวิตกกังวล
9. คัดกรองภาวะแทรกซอน
3) พษิ ของกัญชาตอระบบหัวใจและหลอดเลือด
3.1 ผลเฉยี บพลนั ตอหวั ใจและหลอดเลือด (Acute Cardiovascular Effect) ไดแก
• Vasodilation THC และ CBD จะไปกระตุนท่ี TRPA-1 (transient receptor
potential ankyrin type-1) และ TRPV-1 (transient receptor potential vanilloid type-1) ซง่ึ ปน
calciumchannel receptors ทําใหเกิด vasodilation
• Tachycardia กญั ชาชนิดสูบ (smoke cannabis) ทาํ ใหอัตราการเตนของหวั ใจเพิ่มขึ้น
ไดรอยละ 20-100 เปนเวลา 2-3 ชวั่ โมง มี sympathetic outflow เพิ่มขนึ้ เนื่องจาก sympathetictone เพมิ่ และ
parasympathetictone ลดลง เกดิ ภาวะ reflex tachycardia หากมี tachycardia มากอาจทาํ ใหเกิดเสนเลือด
หวั ใจตีบได
• อาการหนามดื / หมดสติเม่ือลกุ ยนื (orthostatic syncope)
3.2 ผลเรอื้ รงั ตอหวั ใจและหลอดเลือด (Chronic Cardiovascular Effect)
• Vasospasm การใชกัญชาเปนเวลานานจะทําใหเกิด tolerance ของ vasodilation
เปนเวลานาน vessel tone จะเปลีย่ นเปนvasospasm ตามมาเน่ืองจากblood vessel มีการลดลงของ receptor
(downregulation) TRPA-1 และ TRPV-1 ทําใหเสย่ี งทจี่ ะเกิด vascular insufficiency สงผลใหเสนเลือดปลาย
มือ-เทาไมดี เสนเลือด หัวใจตบี ได
• หวั ใจเตนชาลง (slower heart rate) มีรายงานการเกดิ heart blockในกรณที ่ใี ช้
กญั ชาขนาดสูงและเกิด tolerance เปนเวลานานๆทําให หัวใจเตนชาลงได รวมถงึ การทํางานของ sympathetic จะ
ลดลง และ parasympathetic ทํางานเพ่ิมขึน้
3.3 กลามเนื้อหวั ใจขาดเลือด (Myocardial Ischemia) ซงึ่ รายงานพบความเสีย่ งในการ เกิดกลาม
เนอ้ื หวั ใจตาย (MI) 4.8 เทาภายใน 60 นาทภี ายหลงั การเสพกญั ชา
• การไดรับพษิ จากกัญชาเฉียบพลัน (acute exposure) อัตราการเตนของหวั ใจ และ
การทํางาน ของ sympathetic เพ่ิมขนึ้ สงผลตอการเพมิ่ cardiac workload และ O2 demand
• การไดรับพษิ จากกัญชาเร้อื รัง (chronic exposure) สงผลใหเกิด vasospasm ของ
coronary artery เนอื่ งจาก downregulation ของ TRPA-1 และ TRPV-1
• กระตุนการทาํ งานของเกร็ดเลอื ด (activate platelet) ทําใหเกิด clot ได
3.4 ผลอ่นื ๆ ตอหัวใจและหลอดเลอื ด
• หัวใจเตนผิดจังหวะ (cardiac arrhythmia)พบatrial fibrillation (AF), ventricular
tachycardia (VF) ได
• ภาวะหวั ใจลมเหลว (congestive heart failure) เนือ่ งจาก cardiac workload
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สงั กัด กศน.จงั หวัดชลบุรี
สรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 14
เพ่มิ ข้นึ ทาํ ให เกิด high output heart failure
• โรคหลอดเลอื ดแดงสวนปลาย (peripheral artery disease)
4) กลมุ อาการหลอดเลือดสมองหดช่วั คราว (Reversible Cerebral Vasoconstrictive Syndrome;
RCVS)(38,39) RCVS เกดิ ข้นึ โดยไมทราบสาเหตุ (idiopathic) รอยละ 40 จากกัญชาเปนตวั กระตุนใหเกดิ รอยละ
32 จากสารที่ทําใหหลอดเลือดตีบอื่นๆ (cocaine, ergots, nicotine) การวนิ จิ ฉยั ยืนยนั ดวยการตรวจ CTA หรือ
MRI
• การใชกัญชาท่ีมี THC เปนเวลานานๆ มีโอกาสเกิด transient cerebral vasospasm
ของเสนเลือด สมองสงผลใหเกิด cerebral ischemia ผปู วยจะมาดวยอาการปวดศีรษะรุนแรงมาก (thunderclap
headache) ในลักษณะเปนๆ หายๆ มีรายงานพบ seizure, TIA, stroke, neurodeficit, คลนื่ ไสอาเจยี นได
• ภาวะแทรกซอนอนื่ ๆ ไดแก subarachnoid hemorrhage (SAH), intracranial
hemorrhage และ เสียชีวิต ผูปวยจะมอี าการจะดีขนึ้ ภายใน 1-3 เดอื น การรักษา Reversible Cerebral
Vasoconstrictive Syndrome (RCVS)
• หยุดใช THC และตวั กระตุนใหเกดิ อาการ ไดแก เลิกบุหรี่ หยดุ ใชยา ergots เปนตน
• ใหยาแกปวดที่เหมาะสม หากมีอาการปวดศรี ษะเปนๆ หายๆ
• ใหยา calcium channel blocker ชนิดกนิ (nimodipine, nifedipine, verapamil)
เพือ่ ให vessel tone มี dilate ซ่ึงจะชวยบรรเทาอาการปวดศรี ษะได
• กรณีผปู วยทมี่ ีอาการรนุ แรง อาจตองพิจารณาทาํ intra-arterial vasodilators และ
balloon angioplasty ซึง่ ผลสาํ เรจ็ ของการรกั ษาไมแนนอน
• ใหคาํ แนะนํา หากมีอาการของ TIA (transient ischemic attack) , subarachnoid
hemorrhage, หรอื stroke ใหนําสงเขาโรงพยาบาลทนั ที อาการอาเจยี นรนุ แรงจากกัญชา (Cannabinoid
Hyperemesis Syndrome; CHS)(40,41) CHS เปนอาการคล่นื ไสอาเจยี นทร่ี นุ แรง ในผูใช THC มาเปนเวลานาน
(รอยละ 68 ของรายงานผูปวยใช มากกวา 2 ป) และใชถ่มี ากกวา 20 คร้ังตอเดอื น อาการนีไ้ มคอยตอบสนองตอยา
แกคลน่ื ไสอาเจียน จะทเุ ลาลง เมือ่ ไดอาบน้ำอนุ เมื่อเปนแลวหายชา ใชเวลา 2-3 สัปดาห กลไกการเกดิ ยังไมทราบ
แนชัด คาดวานาจะเกดิ จาก downregulation ของ CB1 receptor ทําใหเกดิ คล่ืนไสอาเจยี น (ปกติ THC จะ
กระตุน CB1 receptor ทาํ ใหหายคล่ืนไส) หรือเกดิ จากการเปลี่ยนแปลง CB1receptor downstream effect หาก
THC ไดรับมากเกนิ ไปจะไปกระตุน CB1 receptorที่ GI tract ทาํ ใหเกิด bowel movement และ dilate
splanchnic vasculature สงผลใหเกดิ epigastric pain, colicky pain หรอื อาจเกิดจาก upregulation ของ
TRPV-1 หรือ สารอื่นๆ สงผลทําใหเกดิ อาการคลื่นไสอาเจยี น THC ท่รี ับเขาไปในรางกายจํานวนมากจะไปจบั กบั
CB1 receptor ทรี่ ะบบทางเดนิ อาหาร (GI tract) ดงั นัน้ เมอ่ื ผูปวยอาบน้ำอนุ จะทาํ ใหเสนเลือดบริเวณผิวหนงั
ขยายตัว THC จะเคล่ือนไปอยูบรเิ วณผวิ หนงั ทําให อาการปวดทอง คลืน่ ไสอาเจียนลดลง ภาวะแทรกซอนจาก
Cannabinoid Hyperemesis Syndrome
• Dehydration
• Electrolyte imbalance
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กดั กศน.จังหวัดชลบุรี
สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 15
• Esophageal rupture
• Cardiac arrhythmia
• Precipitate diabetic ketoacidosis
การรักษา Cannabinoid Hyperemesis Syndrome (CHS)
1. หยดุ ใช THC ผูปวยจะมีอาการดขี ้นึ ในอกี 2-3 สปั ดาห
2. แกภาวะขาดน้ำ (dehydration)และเกลือแรที่ไมสมดลุ (electrolyte imbalance)
3. ใหอาบน้ำอนุ ตามความรอนทีผ่ ูปวยสามารถทนได แตตองใหสารน้ำทางเลอื ดดํา (IV fluid)กอน เพื่อปอง
กัน syncope หรือภาวะ dehydrate
4. ให benzodiazepine ทางหลอดเลือดดาํ เพอื่ ทําใหผูปวยหลับและลดคลื่นไส
5. ใหยาตานอาการทางจิตทางหลอดเลือดดํา เชน haloperidol เพิ่มเติมจากการให benzodiazepine ใน
กรณีทผี่ ูปวยมี EKG ปรกติ
6. ใช capsaicin cream (0.025-0.1%) ทําใหเสนเลือดทีบ่ รเิ วณผิวหนังขยายตวั (vasodilate) ทําให THC
มาอยูท่ีบริเวณผวิ หนงั (ใชในประเทศทม่ี ีภูมิอากาศหนาว)
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 16
บทที่ 3
วิธีดำเนนิ งาน
การดำเนินโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด” ได้ดำเนินการตามข้นั ตอนตา่ ง ๆ
ดงั นี้
1. ข้ันเตรยี มการ
การศกึ ษาเอกสารที่เกย่ี วข้องกับโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด”
ผ้รู บั ผิดชอบโครงการได้ศึกษาค้นควา้ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งเพ่ือเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการ
โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด” ดังนี้
1. ศึกษาเอกสาร / ค่มู ือ ข้อมูลจากหนงั สือ เกยี่ วกับการใช้กัญชาเปน็ ยารักษาโรคและใช้ในการประกอบ
อาหาร เพื่อเปน็ แนวทางเกยี่ วกับการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด”
2. ศึกษาขัน้ ตอนการดำเนนิ โครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”เพ่ือเปน็ แนวทางใน
การจัดเตรยี มงาน วัสดอุ ุปกรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม
การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ท่ี (ตามนโยบายของรัฐบาล)
กลมุ่ ภารกิจ การจดั การศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความตอ้ งการของ
กลุ่มเป้าหมายเพ่ือทราบความตอ้ งการทแ่ี ท้จริงของประชาชนในอำเภอพนสั นิคม และมีข้อมลู ในการจัดกจิ กรรมที่
ตรงกับความต้องการของชุมชน
การประสานงานผู้นำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร
1. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหัวหนา้ /ผ้นู ำชุมชนและประชาชนในอำเภอพนสั นิคม เพือ่
รว่ มกนั ปรึกษาหารือในกลมุ่ เก่ียวกบั การดำเนนิ การจัดโครงการให้ตรงกับความต้องการของชุมชน
2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื จัดหาวทิ ยากรและสถานที่จัด
กจิ กรรม
การประชาสัมพันธโ์ ครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนนิ การประชาสมั พนั ธก์ ารจดั โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอย่าง
ชาญฉลาด” เพ่ือใหป้ ระชาชนทราบขอ้ มลู การจดั กจิ กรรมดังกลา่ วผ่านผนู้ ำชุมชน
ประชมุ เตรียมการ / วางแผน
1) ประชมุ ปรกึ ษาหารือผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ ง
2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ า่ ยต่าง ๆ เตรียมดำเนินการ
3) มอบหมายหน้าท่ี แต่งตั้งคณะทำงาน
การรบั สมคั รผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ
ครู กศน.ตำบล ได้รบั สมัครผ้เู ขา้ ร่วมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
โดยใหป้ ระชาชนทวั่ ไปท่ีอาศยั อย่ใู นพน้ื ที่อำเภอพนัสนิคม เข้ารว่ มกิจกรรม จำนวน 16 คน
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สังกัด กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 17
การกำหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดำเนินการ
ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานท่ใี นการจัดอบรมคือ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอ
พนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี ในวนั ที่ 27 มิถนุ ายน 2565 จำนวน 1 วนั เวลา 09.00-15.00 น.
2. ข้ันดำเนนิ งาน
กลุ่มเปา้ หมาย
กลุม่ เปา้ หมายของโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด”
ประชาชนอำเภอพนัสนิคม จำนวน 16 คน
สถานท่ีดำเนินงาน
ครู กศน.ตำบล จดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
โดยจัดกจิ กรรมอบรมให้ความรู้ ในวนั ท่ี 27 มิถุนายน 2565 จำนวน 1 วนั เวลา 09.00-15.00 น.
ณ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี
การขออนมุ ตั ิแผนการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน
กศน.ตำบลบ้านชา้ ง ไดด้ ำเนนิ การขออนมุ ัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและ
ชมุ ชน โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด” ตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวัดชลบุรี เพื่อให้ต้น
สังกดั อนุมัติแผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน
การจัดทำเครอื่ งมือการวัดความพงึ พอใจของผรู้ ่วมกิจกรรม
เครื่องมอื ท่ีใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
ขน้ั ดำเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ
1. เสนอโครงการเพอ่ื ขอความเห็นชอบ/อนมุ ัติจากต้นสงั กดั
2. วางแผนการจดั กจิ กรรมในโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด” โดย
กำหนดตารางกิจกรรมทกี่ ำหนดการ
3. มอบหมายงานให้แกผ่ ้รู บั ผิดชอบฝา่ ยตา่ ง ๆ
4. แตง่ ต้ังคณะกรมการดำเนนิ งาน
5. ประชาสมั พนั ธ์โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด”
6. จดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด” ตามตารางกิจกรรมท่ี
กำหนดการ
7. ตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด”
กศน.อำเภอพนัสนิคม สังกัด กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 18
3. การประเมนิ ผล
วเิ คราะหข์ ้อมลู
1. บันทกึ ผลการสังเกตจากผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินในแบบประเมินความพึงพอใจ
3. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน รวบรวมสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของโครงการนำเสนอต่อผูบ้ ริหาร
นำปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขครง้ั ต่อไป
ค่าสถติ ทิ ่ีใช้
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัดความสำเร็จของ
โครงการตามแบบสอบถามคิดเปน็ รายข้อ โดยแปลความหมายค่าสถติ ิร้อยละออกมาไดด้ ังนี้
คา่ สถิติร้อยละ 90 ขน้ึ ไป ดมี าก
ค่าสถิตริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี
ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้
ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง
ค่าสถิติรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรับปรุงเรง่ ดว่ น
ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน
และนำมาเปรียบเทียบ ได้ระดบั คณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมนิ ดังน้ี
เกณฑ์การประเมิน (X)
ค่านำ้ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คอื ดมี าก
ค่าน้ำหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี
คา่ น้ำหนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คอื พอใช้
คา่ น้ำหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คือ ตอ้ งปรบั ปรุง
ค่านำ้ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กัด กศน.จังหวัดชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 19
บทที่ 4
ผลการดำเนินงานและการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด”
การจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” สรปุ รายงานผลการจดั
กจิ กรรมได้ดงั นี้
ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด” เป็นการ
อบรมให้ความรู้ โดยมี นางสาวรสสคุ นธ์ พ้นื สะอาด วทิ ยากรจากโรงพยาบาลพนสั นคิ ม เป็นวิทยากรในการ
บรรยายใหค้ วามรู้ เรือ่ ง โรคและภาวะทใี่ ชผ้ ลิตภณั ฑ์กัญชาทางการแพทย์ ผลติ ภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ได้
ประโยชน์ ผลิตภัณฑก์ ญั ชาทางการแพทย์นา่ จะได้ประโยชน์ (ในการควบคุมอาการ) ผลิตภณั ฑก์ ัญชาทาง
การแพทยอ์ าจไดป้ ระโยชน์ (ในอนาคต) ข้อแนะนำกอ่ นตัดสินใจใชผ้ ลติ ภัณฑก์ ญั ชาทางการแพทย์ การวางแผนการ
รกั ษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชา การเพิม่ ใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาในทางการแพทย์ ข้อห้ามใชผ้ ลติ ภัณฑ์ท่มี ี THC เป็น
ส่วนประกอบ ข้อควรระวังอ่ืน ๆ ในการใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชา ปฏิกิริยาระหวา่ งยาของสารสำคญั ในกัญชาและการ
รักษาพษิ จากการใชส้ ารสกัดกัญชา
ตอนที่ 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด” ซ่งึ สรปุ รายงานผลจาก
แบบสอบถามความคิดเห็น ข้อมูลท่ีได้สามารถวเิ คราะห์และแสดงค่าสถิติ ดงั น้ี
ตารางที่ 1 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ รอ้ ยละ
เพศ จำนวน 25.00
ชาย 4 75.00
หญงิ 12 100.00
รวม 16
จากตารางท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” จำนวน 16 คน ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญงิ จำนวน 12
คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 และเพศชาย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จังหวดั ชลบุรี
สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 20
ตารางที่ 2 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ
อายุ จำนวน รอ้ ยละ
-
15 – 25 ปี -
43.75
26 - 39 ปี 7 -
40 - 49 ปี - 12.50
43.75
50 - 59 ปี 2 100.00
60 ปขี ึ้นไป 7
รวม 16
จากตารางที่ 2 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” จำนวน 16 คน สว่ นใหญ่มอี ายุระหวา่ ง 26-39 ปี
จำนวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.75 และอายุ 60 ปีขนึ้ ไป จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 43.75 และสุดท้าย
อายรุ ะหวา่ ง 50-59 ปี จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50
ตารางที่ 3 ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี
ประกอบอาชีพ จำนวน ร้อยละ
18.75
รับจ้าง 3 6.25
6.25
ค้าขาย 1
-
เกษตรกร 1 68.75
100.00
ลกู จา้ ง/ขา้ ราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชน -
อน่ื ๆ 11
รวม 16
จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามที่เขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด” จำนวน 16 คน สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพอนื่ ๆ (มี
ความหลากหลายของอาชพี ) จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 68.75 รองลงมาคืออาชพี รับจา้ ง จำนวน 3 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 18.75 และสุดท้ายประกอบอาชีพคา้ ขาย จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.25 และอาชีพเกษตรกร
จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.25
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สงั กดั กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรปุ ผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 21
ตารางที่ 4 ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา
ระดับการศึกษา จำนวน รอ้ ยละ
-
ต่ำกว่า ป.4 -
12.50
ป.4 2 37.50
6.25
ประถมศึกษา 6 31.25
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1 -
12.50
มัธยมศึกษาตอนปลาย 5
-
อนุปริญญา - 100.00
ปรญิ ญาตรี 2
สูงกว่าปริญญาตรี -
รวม 16
จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด” จำนวน 16 คน ส่วนใหญ่มกี ารศึกษาระดบั
ประถมศกึ ษา จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.50 รองลงมา คอื ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 5 คน คดิ
เป็นรอ้ ยละ 31.25 ระดับ ป.4 จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ระดบั ปริญญาตรี จำนวน 2 คน คดิ เปน็
รอ้ ยละ 12.50 และสุดทา้ ยระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.25
ตารางท่ี 5 แสดงคา่ ร้อยละเฉลีย่ ความสำเร็จของตัวชวี้ ดั ผลผลิต ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมโครงการจำนวน 16 คน
ผลสำเร็จของโครงการ จำนวน ร้อยละ
เป้าหมายโครงการ 16 100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ 16 100.00
จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ชวี้ ดั ผลผลติ กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” มผี ้เู ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
100 ซงึ่ บรรลเุ ปา้ หมายด้านตัวชว้ี ดั ผลผลิต
กศน.อำเภอพนัสนิคม สังกัด กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 22
ตารางที่ 6 คา่ เฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการ
อบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด” ในภาพรวม
รายการ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ
ความพึงพอใจ
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ () ()
ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรม 4.70 0.46 ดมี าก
การเรียนรู้/การอบรม 4.76 0.43 ดีมาก
ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ
รวมทกุ ด้าน 4.88 0.34 ดมี าก
4.78 0.41 ดมี าก
จากตารางท่ี 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เปน็ ยา
อยา่ งชาญฉลาด” ในภาพรวม จำนวน 16 คน อยใู่ นระดับดมี าก (=4.78) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบว่า
ด้านประโยชน์ทไี่ ดร้ บั อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ มีคา่ เฉลย่ี (= 4.88) รองลงมาคอื ดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้/การอบรม มีอยู่ในระดับดมี าก มคี ่าเฉลีย่ (= 4.76) และสดุ ท้ายดา้ นการบริหารจัดการ อย่ใู นระดบั ดมี าก
มคี ่าเฉลี่ย (= 4.70) ตามลำดับ โดยมสี ว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.34 - 0.46 แสดงว่า ผ้เู ขา้ ร่วม
กิจกรรมมีความพงึ พอใจสอดคลอ้ งกนั
ตารางท่ี 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการ
อบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด” ด้านการบรหิ ารจัดการ
รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบน ระดบั
มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ
1. อาคารสถานที่ ()
2. ส่งิ อำนวยความสะดวก 4.75 0.45 ดมี าก
3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.81 0.40 ดมี าก
4. เอกสารประกอบการอบรม 4.63 0.50 ดมี าก
5. วทิ ยากรผูใ้ หก้ ารอบรม 4.44 0.51 ดี
4.88 0.34 ดมี าก
รวม 4.70 0.46 ดีมาก
จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทีม่ ีความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เป็น
ยาอย่างชาญฉลาด” ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีคา่ เฉลยี่ (= 4.70) เมอ่ื พจิ ารณาเป็น
รายข้อ พบว่า วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.88) รองลงมา คือ สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (=
4.81) อาคารสถานที่ มีค่าเฉล่ยี (= 4.75) กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการมคี ่าเฉล่ีย (= 4.63)
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กดั กศน.จงั หวัดชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใช้เปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด 23
และสุดท้ายเอกสารประกอบการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.44) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่
ระหวา่ ง 0.34 - 0.51 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามมคี วามคดิ เหน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั
ตารางท่ี 8 คา่ เฉล่ียและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมท่ีมคี วามพึงพอใจต่อโครงการ
อบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้/การอบรม
รายการ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ
() มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ
6. การจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้ 4.75
เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด” 0.45 ดีมาก
7. การให้ความรเู้ รื่องการใช้กัญชาเปน็ ยารกั ษาโรคและ 4.81
ประกอบอาหาร 0.40 ดีมาก
8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 4.94
9. การแลกเปลี่ยนเรยี นรูข้ องผู้เขา้ รับการอบรม 4.75 0.25 ดีมาก
10. การสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน 4.69 0.45 ดีมาก
11. การวัดผลและประเมนิ ผลการฝึกอบรม 4.63 0.48 ดีมาก
4.76 0.50 ดีมาก
รวม 0.43 ดีมาก
จากตารางท่ี 8 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็
ยาอยา่ งชาญฉลาด” ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม ในภาพรวมอยูใ่ นระดับดมี าก มีคา่ เฉลย่ี (=
4.76) เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร มคี า่ เฉลย่ี (= 4.94) รองลงมาคือ การให้
ความรู้เรือ่ งการใช้กัญชาเป็นยารกั ษาโรคและประกอบอาหาร มคี า่ เฉลยี่ (= 4.81 ) การจดั กิจกรรมโครงการ
อบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด” และการแลกเปลยี่ นเรียนร้ขู องผเู้ ข้ารับการอบรม มคี ่าเฉลย่ี
(= 4.75 ) การสรุปองค์ความรรู้ ว่ มกัน มีคา่ เฉลยี่ (=4.69) และสดุ ทา้ ยการวัดผลและประเมินผลการฝกึ อบรม
มคี า่ เฉล่ยี (= 4.63) ตามลำดบั โดยมสี ว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน () อย่รู ะหว่าง 0.25 - 0.50 แสดงวา่ ผูต้ อบ
แบบสอบถามมีความคดิ เห็นสอดคล้องกัน
กศน.อำเภอพนสั นิคม สังกัด กศน.จงั หวดั ชลบุรี
สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใช้เป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 24
ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมที่มีความพงึ พอใจต่อโครงการ
อบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด” ด้านประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ
รายการ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั ความ
() มาตรฐาน () พึงพอใจ
12. การเรยี นรู้และฝึกตนเองเกีย่ วกับการใช้กัญชาเป็น 4.94 ดีมาก
ยารกั ษาโรคและประกอบอาหาร 0.25
13. การนำความรู้ที่ไดร้ บั มาปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน 4.81 ดมี าก
4.88 0.40 ดมี าก
รวม 0.34
จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็
ยาอยา่ งชาญฉลาด” ดา้ นประโยชนท์ ี่ไดร้ บั ในภาพรวมอย่ใู นระดับดมี าก มีคา่ เฉลีย่ (= 4.88) เมื่อพจิ ารณาเป็น
รายข้อ พบว่า การเรียนรู้และฝึกตนเองเก่ียวกับการใช้กญั ชาเป็นยารักษาโรคและประกอบอาหาร มีค่าเฉลี่ย (=
4.84) และการนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.81) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
() อย่รู ะหว่าง 0.25 - 0.40 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั
สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เป็นรอ้ ยละ 95.60 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.78 ถือว่าผู้รบั บรกิ าร
มคี วามพึงพอใจทางด้านตา่ ง ๆ อยู่ในระดบั ดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังนี้
อันดับแรก ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั คดิ เป็นร้อยละ 97.60 มคี ่านำ้ หนักคะแนน 4.88 อย่ใู นระดบั
คุณภาพดีมาก
อนั ดับสอง ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้/การอบรม คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.20 มีคา่ น้ำหนักคะแนน
4.76 อยใู่ นระดบั คุณภาพดีมาก
อันดับสาม ด้านการบริหารจัดการ คดิ เปน็ ร้อยละ 94.00 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.70 อยู่ในระดับ
คุณภาพดีมาก
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จังหวัดชลบรุ ี
สรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 25
บทที่ 5
อภิปรายและข้อเสนอแนะ
ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด” ได้ผลสรปุ ดังนี้
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการใชก้ ญั ชาเป็นยาอย่างปลอดภยั ได้
2. เพ่อื สง่ เสริมให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมสามารถนำสารสกัดกัญชาไปใช้เป็นยาในการรักษาโรคได้อย่างปลอดภยั
เปา้ หมาย (Outputs)
เปา้ หมายเชิงปริมาณ
ประชาชนอำเภอพนสั นคิ ม จำนวน 16 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การใช้กญั ชาเป็นยาไดอ้ ย่างปลอดภัย
2. ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถนำสารสกัดกญั ชาไปใชเ้ ปน็ ยาในการรกั ษาโรคได้อยา่ งปลอดภยั
เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในคร้ังน้ี คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบลที่รับผดิ ชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถามความ
พงึ พอใจให้กับผรู้ ว่ มกิจกรรม โดยใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการอบรมให้
ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
สรปุ ผลการดำเนินงาน
กศน.ตำบล ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตาม โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
โดยดำเนินการเสร็จส้ินลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดำเนินงานได้ดงั นี้
1. ผู้ร่วมกจิ กรรมจำนวน 16 คน มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุขท่ีถูกต้อง
2. ผู้รว่ มกิจกรรมร้อยละ 97.60 สามารถนำความร้ทู ่ีไดร้ บั มาปรบั ใช้ประโยชน์จากพชื กัญชาในการใช้เปน็ ยา
รกั ษาโรคและการประกอบอาหารได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม ไมเ่ กดิ โทษหรืออันตรายแก่ผู้บรโิ ภค
3. จากการดำเนินกิจกรรมตามโครงการดังกล่าว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมส่วนใหญม่ ีความ
พงึ พอใจต่อโครงการ อยู่ในระดบั “ดีมาก ” และบรรลุความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ทตี่ ัง้ ไว้ โดยมี
คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละภาพรวมของกิจกรรม 95.60 และคา่ การบรรลุเปา้ หมายค่าเฉลี่ย 4.78
กศน.อำเภอพนสั นิคม สังกดั กศน.จังหวัดชลบุรี
สรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด 26
ขอ้ เสนอแนะ
- ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมต้องการให้มกี ารจดั กจิ กรรมน้ีอีก เพราะประชาชนสว่ นมากยงั มีความรคู้ วามเข้าใจ
เกีย่ วกบั การใช้กญั ชาเปน็ ยารักษาโรคและการใช้กัญชาเปน็ สว่ นประกอบในอาหารไม่ถูกต้อง
กศน.อำเภอพนสั นิคม สงั กัด กศน.จังหวดั ชลบรุ ี
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด
ภาคผนวก
กศน.อำเภอพนสั นคิ ม สงั กดั กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
แบบประเมนิ ผรู้ บั บรกิ าร
โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด”
สถานศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนิคม
กิจกรรม การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ
การศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
********************************************************************************************
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป
คำชี้แจง ใสเ่ ครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งทต่ี รงกับขอ้ มลู ของท่านเพียงช่องเดยี ว
เพศ ชาย หญงิ
อายุ 15 - 25 ปี 26 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 – 59 ปี 60 ปีขน้ึ ไป
อน่ื ๆ ระบุ
อาชพี รับจา้ ง ค้าขาย เกษตรกรรม ลูกจ้าง/ขา้ ราชการหน่วยงาน
การศกึ ษา ต่ำกวา่ ป.4 ป.4 ประถมศึกษา ม.ตน้ ม.ปลาย
อนปุ รญิ ญา ปรญิ ญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
ส่วนที่ 2 ด้านความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร
คำช้แี จง ใสเ่ ครือ่ งหมาย ลงในช่องทตี่ รงกับข้อมลู ของทา่ นเพียงชอ่ งเดยี ว
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ขอ้ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ
ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา้ นการบริหารจัดการ
ที่สดุ กลาง ทส่ี ุด
1 อาคารสถานที่
2 ส่ิงอำนวยความสะดวก
3 กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
4 เอกสารประกอบการอบรม
5 วิทยากรผใู้ ห้การอบรม
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร/ู้ การอบรม
6 การจัดกิจกรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญ
ฉลาด”
7 การให้ความรเู้ รื่อง“กญั ชาใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด”
8 การตอบข้อซกั ถามของวิทยากร
9 การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของผ้เู ข้ารบั การอบรม
10 การสรปุ องค์ความรรู้ ่วมกัน
11 การวดั ผลและประเมนิ ผลการฝกึ อบรม
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจดา้ นประโยชนท์ ่ีได้รับ
12 การเรยี นรแู้ ละฝึกตนเองเก่ียวกับ“กัญชาใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด”
13 การนำความรู้ท่ไี ดร้ ับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั
ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ
............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................
ขอขอบคณุ ทุกท่านที่กรุณาตอบแบบประเมนิ : จาก กศน.อำเภอพนัสนิคม
สรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมใหค้ วามรู้ “กญั ชาใชเ้ ปน็ นยาอยา่ งชาญฉลาด
ภาพประกอบการจัดกจิ กรรม
โครงการอบรมให้ความรู้ “กัญชาใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด”
วันท่ี 27 มิถนุ ายน 2565
ณ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี
วิทยากรคือ นางสาวรสสคุ นธ์ พื้นสะอาด
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 16 คน
กศน.อำเภอพนัสนคิ ม สังกัด กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี
สรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมให้ความรู้ “กญั ชาใชเ้ ป็นนยาอยา่ งชาญฉลาด
คณะผู้จดั ทำ
ที่ปรึกษา หม่นื สา ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม
1. นางณัชธกญั การงานดี ครู
2. นางสาวมทุ ิกา ทำทอง ครูผชู้ ว่ ย
3. นางพริ ุฬห์พร ศรบี ณุ ยะแกว้ ครผู ู้ช่วย
4. นางสาวณภษร
ครู กศน.ตำบลบ้านชา้ ง
คณะทำงาน ครู กศน.ตำบลวดั หลวง
ครู กศน.ตำบลบา้ นเซดิ
1. นางสาวเบญจมาศ น้อยประเสริฐ ครู กศน.ตำบลกฎุ โงง้
ครู กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ
2. นางสาวชลติ ดา ใจพรหม ครู กศน.ตำบลท่าข้าม
ครู กศน.ตำบลบ้านเซดิ
3. นางสาวสุนทรี เพชรประเสริฐ ครู กศน.ตำบลหนองขยาด
ครู กศน.ตำบลวัดโบสถ์
4. นางสาวกนกกร ฮกโก้ ครู กศน.ตำบลทุ่งขวาง
ครู กศน.ตำบลหมอนนาง
5. นางสาวพจนีย์ ประทมุ ทอง ครู กศน.ตำบลสระส่เี หลยี่ ม
ครู กศน.ตำบลนาวังหนิ
6. นางสาวณัฏฐา เนาว์อดุ ม ครู กศน.ตำบลหนองปรือ
ครู กศน.ตำบลนามะตมู
7. นางสาวสนุ ทรี เพชรประเสริฐ
ครูอาสาสมัครฯ
8. นางสาวนฤมล เอมเปยี ครอู าสาสมัครฯ
ครอู าสาสมัครฯ
9. นางสาววิภา หนรู อง
10. นางสาวนิตยา น้ำฟ้า
11. นางสาวจนั ทรท์ พิ ย์ บรรดาศักด์ิ
12. นางสาวศรยิ า พุทธมาลี
13. นางสาวยถู ิกา คันโธ
14. นางสาวนฤมล อินทศร
15. นางสาวสทุ ธิดา มาละเงิน
บรรณาธกิ าร คลงั สินธ์
1. นางสาวเฟื่องฟา้ อดุ านนท์
2. นายวัชรินทร์ รายศิริ
3. นางโสพศิ
กศน.อำเภอพนสั นิคม สังกดั กศน.จังหวัดชลบรุ ี
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี