แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
2565
-1-
แผนการดาเนนิ งาน
หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอพานทอง
ปงี บประมาณ 2565
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
คำนำ
หอ้ งสมดุ ประชาชนเปรียบเสมอื นขมุ ทรพั ย์ทางปัญญา เป็นแหล่งรวมรวมความรูท้ ุกแขนง
ทุกศาสตร์และยงั เปน็ ปจั จัยสำคญั ท่ีช่วยส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ประชาชนมีนสิ ัยรกั การอ่าน จงึ เปรียบได้กบั
โลกใบใหญ่แหง่ การเรยี นร้แู ละสามารถตอบสนองตอบสนองความต้องการของผ้ใู ชบ้ ริการได้ทุกกลุ่มเป้าหมาย
ภายใตน้ โยบายหอ้ งสมดุ 3 ดี และพฒั นาสหู่ อ้ งสมุดดจิ ิทัลเพอื่ ให้บริการท่ีทันยคุ สมัย พัฒนาการทางเทคโนโลยี
และสถานการณขื องโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
ดังนน้ั การจัดทำแผนการปฏิบัติงานห้องสมดุ จงึ เปรียบเสมอื นการกำหนดทิศทางการดำเนนิ งาน
ห้องสมุดในปีงบประมาณ 2565 วา่ จะมกี ารดำเนินงานไปในทิศทางใด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และ
ยุทธศาสตรข์ องสำนกั งาน กศน.ในการจัดกจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ การอา่ น หวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่าแผนการปฏิบตั ิงาน
หอ้ งสมดุ ประชาชนเลม่ นี้คงเป็นประโยชนแ์ ละสามารถเปน็ แนวทางในการดำเนินงานหอ้ งสมุดได้เป็นอยา่ งดี
หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง -2-
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565 หน้า
สารบญั 2
3
คำนำ 4
สารบญั 4
บทนำ 10
14
- ยุทธศาสตร์ของชาติ 20 ปี 23
- นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 24
- นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. 24
- ยุทธศาสตร์หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 25
ส่วนท่ี 1 บริบทอำเภอพานทอง 26 - 3 -
- แผนท่ีอำเภอพานทอง 31
- คำขวัญอำเภอพานทอง 32
- ประวตั ิอำเภอพานทอง 33
- ประวตั ิหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 33
- การบริหารงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง
- การใหบ้ รกิ ารห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 62
สว่ นท่ี 2 แผนงานโครงการปงี บประมาณ 2565
-
คณะผจู้ ัดทำ
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
บทนำ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ในช่วงทผ่ี ่านมา ประเทศไทยมไิ ดม้ ีการกำหนดวิสัยทศั นป์ ระเทศ เปา้ หมายและยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ -4-
ในระยะยาว จงึ สง่ ผลให้การบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริหาร ให้ความสำคัญกับนโยบายพรรคการเมอื ง หรอื
นโยบายของรัฐบาลเปน็ หลกั ซ่งึ เมอื่ มีการเปลย่ี น รฐั บาลทำให้ขาดความต่อเนอื่ งของการดำเนินนโยบายสำคญั และ
ขาดบรู ณาการ ท้ังในระดับนโยบายและการนำสู่การปฏิบตั ิ ถือเปน็ การสูญเสยี โอกาส และสิ้นเปลอื งทรพั ยากรของ
ประเทศ ดงั นั้นเพือ่ เป็นการปฏิรปู ระบบการบริหารราชการแผ่นดนิ ของประเทศไทยให้มเี ปา้ หมายการพัฒนาในระยะ
ยาว และเพือ่ เป็นการกำหนดให้ฝ่ายบริหารมีความรบั ผิดชอบทจี่ ะต้องขับเคลอ่ื นประเทศไปสเู่ ปา้ หมายทีเ่ ป็นทย่ี อมรับ
ร่วมกนั และเป็นเอกภาพ ประเทศไทยจำเป็นจะต้องมี “ยทุ ธศาสตร์ชาต”ิ ซึ่งภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเทศไทย
ตอ้ งปฏริ ปู และปรบั เปล่ียนอย่างเป็นระบบขนานใหญ่ เพือ่ ให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศเหมาะสม
กบั ภูมทิ ศั นใ์ หมข่ องโลก ยืดหยนุ่ ปรบั ตวั ไดเ้ รว็ สามารถรบั มอื กับความเส่ยี งและภัยคุกคามแบบใหม่ได้ และสามารถ
อาศยั โอกาสจากการเปล่ียนแปลงบรบิ ทสามารถยังประโยชนส์ ขุ ใหก้ บั คนในชาติได้ ดังนน้ั การจดั ทำ“ยุทธศาสตร์ชาติ
20 ป”ี เพ่อื เปน็ เปา้ หมายการพัฒนาในระยะยาว จงึ เปน็ องคป์ ระกอบจำเปน็ ของการปฏริ ูประบบการบรหิ ารราชการ
แผ่นดินของประเทศไทยให้สามารถดำเนินงานในการขับเคล่ือนการพัฒนาไปสู่ เปา้ หมายอนาคตของประเทศทีพ่ งึ
ประสงคไ์ ดใ้ นระยะยาว และเพ่ือเปน็ การกำหนดให้ฝ่ายบรหิ ารมีความรบั ผิดชอบท่ีจะตอ้ งขับเคล่อื นประเทศไปสู่
เปา้ หมายทเ่ี ป็นท่ยี อมรบั รว่ มกนั และเป็นเอกภาพ มีการจดั ลำดบั ความสำคัญสำหรบั ปัญหาพนื้ ฐานสำคญั ของประเทศ
ทจี่ ะตอ้ งแก้ไข ปรับปรงุ หรอื ปฏิรูปอยา่ งตอ่ เนือ่ ง จะต้องบรู ณาการการดำเนนิ การท้งั ในเชงิ ประเด็นการพฒั นา และ
พื้นทก่ี ารพัฒนา โดยใหไ้ ด้รับการจดั สรรทรพั ยากรมาสนบั สนนุ การดำเนนิ งานอยา่ งเหมาะสม ภายใต้หลักคดิ ดงั กลา่ ว
ประเทศไทยจำเป็นจะต้องมี “ยุทธศาสตร์ชาติ” ซ่ึงภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติจะต้องมกี ารกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย
อนาคตของประเทศ และทศิ ทางในการขบั เคลื่อนประเทศให้สอดคล้องกบั ประเดน็ การเปลย่ี นแปลงและความท้าทาย
ตา่ งๆ ของบรบิ ทโลก และบริบทการพฒั นาภายในประเทศ เพอ่ื มงุ่ สูก่ ารบรรลเุ ปา้ หมายอนาคตของประเทศทีต่ งั้ ไว้
การกำหนดใหม้ ี “ยุทธศาสตร์ชาติ” เพื่อเปน็ ยุทธศาสตร์ในการพฒั นาประเทศในระยะยาว พรอ้ มกบั การปฏริ ปู และการ
พัฒนา ระบบการบริหารราชการแผน่ ดินในการขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์ ให้สามารถ นำไปสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ยา่ งจริงจังจะช่วย
ยกระดบั คณุ ภาพของประเทศไทยในทกุ ภาคสว่ นและนำพาประเทศไทย ใหห้ ลดุ พ้นหรือบรรเทาความรุนแรงของสภาพ
ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ ในปัจจุบนั ท้ังปัญหาความมั่นคง ปญั หาทางเศรษฐกิจ ปญั หาความเหล่ือมล้ำ ปัญหาการทจุ ริตคอรัปชั่น
และปัญหาความขดั แย้งในสงั คม รวมถึงสามารถรับมือกับภยั คกุ คาม และบริหารจัดการกับความเส่ียงท่จี ะเกดิ ขนึ้ ใน
อนาคต และสามารถเปลยี่ นผา่ น ประเทศไทยไปพร้อม กบั การเปล่ียนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้ ซึ่งจะทำให้ประเทศ
ไทยยงั คงรกั ษาบทบาทสำคัญ ในเวทีโลกสามารถดำรงรกั ษา ความเป็นชาตทิ ม่ี คี วามมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วฒั นธรรม และคนไทยในประเทศ มคี วามอยูด่ ีมีสุขอยา่ งถ้วนหนา้
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จงึ บัญญัติใหร้ ัฐพงึ จดั ใหม้ ยี ุทธศาสตรช์ าติ
เปน็ เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืนในระยะยาวตามหลกั ธรรมาภิบาล เพ่อื ใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนตา่ งๆ
ใหส้ อดคลอ้ งและบรู ณาการกันเพ่อื ใหเ้ กิดเป็นพลงั ผลกั ดันรว่ มกนั ไปสเู่ ปา้ หมายดงั กลา่ ว โดยการจัดทำการกำหนด
เป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระทพี่ งึ มีในยทุ ธศาสตร์ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ี
พระราชบญั ญัติการจัดทำยทุ ธศาสตรช์ าติ พุทธศกั ราช 2560 บญั ญตั ิ โดยทกี่ ารจดั ทำยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปีไดก้ ำหนด
เป้าหมายอนาคตของประเทศที่สะท้อนถงึ ผลประโยชนแ์ หง่ ชาตแิ ละประโยชนส์ ขุ ของประชาชนชาวไทยบนพื้นฐานของ
การวิเคราะหป์ ัจจัยแวดล้อมในปจั จุบนั และแนวโน้มในอนาคตทงั้ ภายในและภายนอกประเทศอยา่ งรอบด้าน วิเคราะห์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและความเสยี่ ง จากการวเิ คราะหด์ ังกลา่ วภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปกี รรมการฯ ไดก้ ำหนด
ยุทธศาสตร์ และแนวทางหลกั ท่ปี ระเทศจะต้องขบั เคล่ือนดำเนนิ การ เพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมายอนาคตประเทศทกี่ ำหนด
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ในชว่ งแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ประเทศไทยต้องใช้
ประโยชนจ์ ากศักยภาพและภูมิสงั คมเฉพาะของพ้ืนท่ี และการดำเนินยทุ ธศาสตรเ์ ชงิ รุกเพื่อ เสรมิ จุดเดน่ ในระดับภาค
และจงั หวัดในการเปน็ ฐานการผลิตและบริการที่สำคัญ ประกอบกับการขยายตวั ของ ประชากรในเขตเมืองจะเปน็
โอกาสในการกระจายความเจรญิ และยกระดบั รายไดข้ องประชาชนโดยการพัฒนา เมืองให้เปน็ เมอื งน่าอย่แู ละมี
ศกั ยภาพในการรองรับการค้าการลงทนุ รวมท้งั ลดแรงกดดนั จากการกระจกุ ตัว ของการพัฒนาในกรุงเทพฯและภาค
กลางไปสภู่ ูมิภาค นอกจากนี้ การเปน็ ส่วนหน่งึ ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนยงั เป็นโอกาสในการเปิดพน้ื ที่เศรษฐกิจ
ใหมบ่ รเิ วณชายแดนเชื่อมโยงการค้าการลงทนุ ในภมู ิภาคของ ไทยกับประเทศเพอื่ นบ้านอีกดว้ ย -5-
ดงั นนั้ การพัฒนาจึงมุง่ เนน้ ในเร่ืองการลดชอ่ งว่างรายได้ระหวา่ งภาคและมกี ารกระจาย รายได้ที่เป็นธรรมมาก
ข้นึ การเพิ่มจำนวนเมืองศูนยก์ ลางของจังหวดั เปน็ เมอื งน่าอยู่สำหรับคนทกุ กลุ่มในสังคม พน้ื ท่ฐี านเศรษฐกิจหลักมีระบบ
การผลิตทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู และเปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดล้อม และการเพิ่มมูลคา่ การ ลงทุนในพื้นทเี่ ศรษฐกจิ ใหมบ่ ริเวณ
ชายแดน แนวทางการพัฒนาสำคัญ ประกอบดว้ ย (1) การพฒั นาภาคเพอ่ื สร้างโอกาสทาง เศรษฐกจิ ใหก้ ระจายตวั อย่าง
ทว่ั ถงึ พฒั นาภาคเหนอื ใหเ้ ป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มลู ค่าสูง พฒั นาภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ให้หลดุ พน้ จากความ
ยากจนสู่เป้าหมายการพง่ึ ตนเอง พฒั นาภาคกลางเป็นฐานเศรษฐกิจ ช้ันนำพฒั นาภาคใต้เป็นฐานการสร้างรายได้ท่ี
หลากหลาย (2) การพฒั นาเมอื ง อาทิ พฒั นาสภาพแวดลอ้ ม เมืองศูนยก์ ลางของจังหวัดให้เปน็ เมืองนา่ อยู่ ส่งเสรมิ การ
จัดการส่งิ แวดลอ้ มเมืองอยา่ งมีบูรณาการภายใตก้ ารมี สว่ นร่วมของส่วนกลาง ส่วนทอ้ งถนิ่ ภาคประชาสงั คม และ
ภาคเอกชน พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และ (3) การพฒั นาพื้นที่เศรษฐกิจ อาทิ พฒั นาฟืน้ ฟพู ้นื ที่บริเวณ
ชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้เปน็ ฐานการผลติ อตุ สาหกรรมหลกั ของประเทศท่ขี ยายตวั อยา่ งมีสมดลุ มีประสิทธภิ าพ
สอดคล้องกบั ศักยภาพของพ้ืนท่ี พัฒนา พื้นทีเ่ ศรษฐกิจใหมบ่ รเิ วณชายแดนเปน็ ประตเู ศรษฐกิจเช่อื มโยงกบั ประเทศ
เพอื่ นบา้ นให้เจริญเตบิ โตอย่างยัง่ ยนื และเกิดผลท่ีเปน็ รปู ธรรม
สาระสำคญั ของยุทธศาสตร์ชาตฉิ บับนี้ ประกอบด้วย วสิ ัยทัศน์และเป้าหมายของชาตทิ ่ีคนไทยทกุ คนตอ้ งการ
บรรลรุ ่วมกนั รวมทัง้ นโยบายแหง่ ชาตแิ ละแนวทางการพฒั นาที่ทุกองค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งดำเนินการไปพร้อม
กนั อย่างประสานสอดคล้อง เพือ่ ใหบ้ รรลุซง่ึ สิ่งทค่ี นไทยทกุ คนตอ้ งการคอื ประเทศไทยมั่นคง มงั่ คั่ง และย่งั ยนื ในทุก
สาขาของกำลงั อำนาจแห่งชาติ อนั ได้แก่ การเมอื งภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกจิ สังคมจิตวิทยา
การทหาร วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสอ่ื สาร เปน็ ตน้
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยุทธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
1.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
1.2 การพัฒนาศักยภาพในการปอ้ งกนั ประเทศ พร้อมรับมือกบั ภัยคุกคามทง้ั ทางทหารและภัยคุกคามอ่ืนๆ
1.3 บรู ณาการความร่วมมอื กบั ต่างประเทศทเี่ ออื้ ใหเ้ กดิ ความมั่นคง ความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ ป้องกันภัย
คุกคามข้ามชาติ และคุณภาพชีวติ ของคนในชาติ
1.4 การรักษาความมัน่ คงและผลประโยชน์ทางทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทางทะเล
1.5 การบรหิ ารจัดการความม่นั คงให้สอดคล้องกันแผนงานพัฒนาอ่นื ๆ เพ่ือชว่ ยเหลือประชาชน และร่วม
พัฒนาประเทศ
การกำหนดยทุ ธศาสตร์ความม่นั คงมีเป้าหมายเพ่อื สร้างความมนั่ คงในทุกระดับต้ังแต่ ระดบั ชาติ สังคม
ชมุ ชน และความม่ันคงของมนษุ ย์จากภยั คุกคามท้ังที่เปน็ ภยั คุกคามแบบดงั้ เดมิ และภยั คกุ คามรปู แบบใหม่ใหเ้ กดิ ความ
มน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติ ความมัน่ คงทางการทหาร ความม่ันคงแนวชายแดนและเกิดความมัน่ คงปลอดภยั จากภยั
คุกคามและภยั พบิ ตั ิในรูปแบบใหมๆ่ อาทิ ภยั คกุ คามจากการโจมตีทางไซเบอร์ อาชญากรรมข้ามชาตแิ ละการกอ่ การ
ร้ายและโรคอุบตั ใิ หม่ต่างๆรวมท้ังการสร้างความมน่ั คงดา้ นอาหาร นำ้ และพลงั งาน
ภายใตก้ ารวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและแนวโนม้ ดา้ นความมั่นคงท้งั 3 ระดับ คือ
ความมั่นคงระดบั โลก ไดแ้ ก่ การขยายอทิ ธิพลและการเพม่ิ บทบาทของประเทศมหาอำนาจ ในภูมิภาคตา่ งๆ
ของโลกเพ่ือแสวงหาผลประโยชน์ การกำหนดระเบยี บ/กตกิ าระหวา่ งประเทศ เพ่อื รกั ษาสันติภาพ สิ่งแวดล้อมและสิทธิ - 6 -
มนุษยชนให้ต้องปฏบิ ัตปิ ญั หาอาชญากรรมข้ามชาติ ปญั หาความม่นั คงทางไซเบอร์และความเสี่ยงจากการเปลีย่ นแปลง
ผนั ผวนของสภาพภูมิอากาศ ตอ่ ความมั่นคง ด้านอาหาร แหลง่ น้ำ และพลังงาน
ความม่ันคงในภูมภิ าค ประกอบด้วย ความร่วมมือระดับภมู ิภาคเพอ่ื สร้างพลงั ทางเศรษฐกิจและ รกั ษาความ
มน่ั คงร่วมกัน ความขัดแย้งทางดนิ แดน เนื่องจากความไม่ชดั เจนของเส้นเขตแดนและอาณาเขต ทางทะเลระหว่างกนั
และปัญหาย้ายถน่ิ ฐานของประชากรระหว่างกนั และจากประเทศอ่ืนๆ เข้าส่ปู ระเทศไทย
ความม่ันคงภายในประเทศมแี นวโนม้ ทีย่ งั ดำรงอยู่ ได้แก่ ความไม่สงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ประเด็น
ความขดั แยง้ ของคนในชาติ ปญั หายาเสพตดิ ซึ่งจะสง่ ผลกระทบสำคัญตอ่ การพฒั นา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ
การเมืองของประเทศในระยะ 20 ปีข้างหนา้
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้าง ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ความสามารถ
ในการแขง่ ขัน
2.1 การพฒั นาภาคการผลิตและบรกิ าร
2.2 การพฒั นาสงั คมผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Society) เพ่อื สร้างผปู้ ระกอบการทางธรุ กิจ
2.3 การพัฒนาปัจจัยสนบั สนุนและการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน เพื่อเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั
2.4 การวางรากฐานท่แี ข็งแกรง่ เพอื่ สนบั สนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
หวั ใจสำคัญของความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ คือ เพมิ่ ผลิตภาพการผลิต (Productivity) โดย
ใชว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และพัฒนา และนวตั กรรมในทุกสาขา ของภาคการผลิตและบรกิ ารทเี่ ปน็ ฐานรายไดเ้ ดิม
และทต่ี อ่ ยอดเปน็ ฐานรายไดใ้ หม่
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
การเปลย่ี นแปลงท่ีสำคัญจะเกิดขึน้ ทั้งในด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) และการเพมิ่ มลู ค่าของ สินค้าและ
บริการจากความคิดสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Value creation) ผปู้ ระกอบการไทยจะตอ้ ง “ผลิตไดข้ ายเป็น” และมี
ความสามารถทีจ่ ะ “ร้จู กั และเข้าใจแนวโนม้ ตลาด” เพือ่ สรา้ งคณุ ค่า ของสินค้าและบรกิ ารที่ตอบโจทย์ความตอ้ งการของ
ผู้บรโิ ภคและก้าวเขา้ สู่การเป็นผนู้ ำในตลาด สินค้า และบรกิ ารท่สี ำคัญของภมู ภิ าคและของโลกได้
ยทุ ธศาสตร์การเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขันจึงประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ภาคการผลติ และ
บริการ ซึง่ มุ่งเนน้ ท่กี ารพัฒนาเพ่มิ ผลิตภาพการผลิตตลอดห่วงโซม่ ูลค่า เพ่อื กา้ วกระโดดไปสู่การเป็นฐานการผลติ และ
บริการทีโ่ ดดเด่นในดา้ นเศรษฐกจิ ฐานชวี ภาพ โดยยกระดบั สู่เกษตรสมยั ใหม่ที่เป็นพื้นฐานสำคัญและเปน็ ฐานการผลิต
สินค้าเกษตร อาหาร พลงั งานและวัสดชุ ีวภาพดว้ ยนวัตกรรม ยกระดบั ศักยภาพ ภาคอุตสาหกรรม ให้แขง่ ขันไดบ้ นฐาน
เทคโนโลยขี น้ั ก้าวหน้า พัฒนาความหลากหลาย คุณภาพ และสรา้ ง เอกลกั ษณ์การทอ่ งเท่ียวไทย และพฒั นา ธุรกจิ
บรกิ ารทีม่ ศี ักยภาพใหมๆ่ ทีส่ ร้างรายได้สงู
ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ่ี 3 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสรมิ สร้าง ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ
ทรัพยากรมนษุ ย์
3.1 การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพอื่ สร้างคนไทยทมี่ ีคณุ ภาพ
คุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย
3.2 การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต
3.3 การปฏิรูปการเรยี นรูแ้ บบพลิกโฉม (Transformation of Learning) -7-
3.4 การพัฒนาและรกั ษากล่มุ ผู้มคี วามสามารถพิเศษ (Talents)
3.5 การเสริมสรา้ งให้คนไทยมสี ขุ ภาวะท่ีดี
3.6 การสรา้ งความอย่ดู ีมสี ุขของครอบครวั ไทย
การวางรากฐานการพฒั นาทรัพยากรมนุษยเ์ ปน็ ปจั จยั สำคญั ในการนำพาประเทศไปส่กู ารเป็นประเทศ
พฒั นาแลว้ ซ่ึงเป็นเปา้ หมายในอกี 20 ปี ข้างหน้า โดย คนไทยในอนาคต ต้องเปน็ มนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ มีความพร้อมทง้ั กาย
ใจ สติปญั ญา สามารถเรียนรู้ ได้ตลอดชีวิต มที ักษะในศตวรรษท่ี 21 สู่การเป็นคนไทย ท่ีมที ักษะสงู เปน็ นวตั กรรม
นักคดิ และผูป้ ระกอบการบนฐานของการรู้คุณค่า ความเป็นไทย มีคณุ ธรรมจริยธรรม มวี นิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ
ตอ่ สงั คม และมีสุขภาวะที่ดี
ยทุ ธศาสตร์ชาติท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์การสร้างโอกาส ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
และความเสมอภาคทางสังคม
4.1 การสรา้ งความมน่ั คงทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความมน่ั คงในชวี ิตและทรัพยส์ นิ ของคนทุกลมุ่
ในสังคม
4.2 การสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการทางสงั คมอย่างทัว่ ถงึ
4.3 การเสรมิ สรา้ งพลงั ทางสังคม
4.4 การสรา้ งความสมานฉันทใ์ นสังคม
การท่ีประเทศไทยจะเปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ ประเทศไทยจะตอ้ งเปน็ ประเทศท่ีทุกคน มีโอกาสและ
ความเสมอภาคในทกุ ด้าน หรือการเปน็ “สังคมแหง่ โอกาส” ทง้ั ในมติ ิของการเขา้ ถึง กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทรัพยากร
กระบวนการยตุ ิธรรม และบรกิ ารสาธารณะ ซง่ึ ส่ิงเหลา่ นี้จะเปน็ หลักประกนั ทางสังคมท่ลี ดความเสี่ยงของบคุ คลท่ีจะ
ตกลงสูภ่ าวะความยากจน โดยเฉพาะกลุ่ม ประชากรร้อยละ 40 ท่มี รี ายได้ต่ำท่ีสดุ และผ้ดู ้อยโอกาสท่ตี ้องได้รบั การ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
พัฒนาศักยภาพและ โอกาสในการเขา้ ถงึ ทรัพยากรและบรกิ ารดงั กลา่ ว อันจะสง่ ผลให้ทุกคนสามารถพฒั นาศักยภาพ
ของตนเองและมีส่วนร่วมในการพฒั นาประเทศภายใตศ้ ักยภาพสงู สุดทต่ี นเองมี รวมถึงการสร้าง สงั คมท่เี อือ้ ตอ่ การ
ปรบั เปลี่ยนสถานะของผู้คนในสงั คมผา่ นการสร้างสงั คมแหง่ โอกาสควบคไู่ ปกับ การสรา้ งสมรรถนะทางสงั คม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งการเติบโต ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต
ท่ีเป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม บนคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม
5.1 จดั ระบบอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟแู ละปอ้ งกนั การท าลายทรพั ยากรธรรมชาติ
5.2 วางระบบบรหิ ารจัดการน้ำอยา่ งบรู ณาการให้มปี ระสิทธิภาพใน 25 ล่มุ นำ้ ทง้ั ดา้ นอปุ สงคแ์ ละอุปทาน
5.3 พฒั นาและใชพ้ ลังงานที่เปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อมในทกุ ภาคเศรษฐกจิ
5.4 พัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
5.5 รว่ มลดปัญหาโลกรอ้ นและปรับตัวให้พรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
5.6 ใช้เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลังเพ่ือสง่ิ แวดล้อม
ในปจั จุบนั ประเทศไทยต้องเผชญิ กับขอ้ จำกดั ด้านทรัพยากรธรรมชาติท่ถี ูกใชไ้ ป อย่างขาดประสทิ ธิภาพ
จงึ อยูใ่ นสภาพที่รอ่ ยหรอเสอื่ มโทรม รวมทง้ั สภาพแวดล้อมมคี ุณภาพต่ำสงู ทั้งปญั หาคุณภาพน้ำ อากาศ และขยะของ
เสยี เหลือท้งิ ทกี่ ำจัดไม่ทัน ซงึ่ ปญั หาเหลา่ น้ี ส่งผล ทงั้ ตอ่ ตน้ ทนุ การผลิตสนิ ค้าบริการและสรา้ งผลเสียตอ่ คณุ ภาพชวี ติ
ประชาชน ขณะเดียวกันก็กอ่ ใหเ้ กิดความเสี่ยงจากความขดั แย้งจากการแยง่ ชิงทรัพยากรทสี่ ำคญั การเปลีย่ นแปลง
สภาพภูมิอากาศของโลกที่มคี วามผันผวนและฤดูกาลผิดเพ้ียนไปได้ส่งผลให้ เกดิ ความตระหนักกนั มากขึ้นในการท่ีผคู้ น - 8 -
จะสามารถอยรู่ ่วมกันอยา่ งเปน็ มติ รต่อ สิ่งแวดล้อมภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ความเส่ียงและความทา้ ทาย
จาก สภาพแวดล้อมและภยั พิบตั ิได้นำไปสขู่ อ้ ตกลงในระดบั โลกทส่ี ำคัญ ท้งั ในเร่อื งการบรรลซุ ง่ึ เปา้ หมายการพัฒนา
ทย่ี ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป้าหมายการลดก๊าซ เรอื นกระจก และการใชม้ าตรฐานดา้ น
สงิ่ แวดล้อมมาเป็นข้อกำหนดท่สี ง่ ผลต่อการแขง่ ขันทาง การค้าในตลาดโลก ดงั นัน้ ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความ
เจริญเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม จงึ มเี ป้าหมายทีส่ ำคัญ คือ การบรโิ ภคที่ย่งั ยืนและการผลติ ทย่ี ง่ั ยืน
การดำเนินการที่สำคัญคือต้อง เร่งวางระบบการอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟูและสรา้ งความมน่ั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรหิ าร
จดั การ น้ำใหม้ ีประสิทธิภาพโดยการวางระบบบรหิ ารจดั การน้ำอย่างบรณู าการให้มปี ีระสทิ ธิภาพใน 25 ลมุ่ น้ำ ทง้ั ดา้ น
อปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน เน้นการปรับระบบการบริหารจัดการอทุ กภยั อยา่ งบูรณาการ รวมท้ังยกระดับ ความสามารถในการ
ป้องกันผลกระทบและปรบั ตวั ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศและภยั พิบัติ ธรรมชาติและปรับตัวไปสรู่ ูปแบบของ
การผลติ และการบริโภคทป่ี ลอ่ ยคาร์บอนต่ำและเปน็ มติ ร กบั สิ่งแวดล้อมมากข้นึ โดยพัฒนาการผลิตให้มีประสิทธภิ าพ
และพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิง นิเวศและเมอื งทีเ่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมโดยการจัดการขยะ สารพิษ และของเสีย
อันตราย อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดุล ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครฐั และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
6.1 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ
6.2 การยกระดับงานบรกิ ารประชาชนและการอำนวยความสะดวกของภาครฐั สคู่ วามเป็นเลิศ
6.3 การปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐ
6.4 การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกำลงั คนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั ในการปฏิบตั ิราชการและมีความเปน็
มอื อาชพี
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
6.5 การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ
6.6 การปรบั ปรุงแกไ้ ขกฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บังคบั ให้มคี วามชดั เจน ทนั สมยั เปน็ ธรรม และสอดคล้อง
กบั ข้อบังคับสากลหรอื ข้อตกลงระหว่างประเทศ
การทปี่ ระเทศไทยจะบรรลุเปา้ หมายอนาคตในระยะยาวทีก่ ำหนดไว้น้นั การบริหาร ราชการแผน่ ดินจะต้อง
ปรบั เปลี่ยนขนานใหญ่ให้สามารถขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา อย่างมีบูรณาการและมีความตอ่ เนอื่ ง ทง้ั นเ้ี พือ่ ตอบ
โจทยก์ ารแกป้ ัญหาหลกั ๆ ของประเทศและสนับสนนุ การพฒั นาด้านตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผล
ภาครัฐจะต้องจัดระบบองคก์ รให้ลักษณะเปดิ กวา้ ง เชอ่ื มโยงถึงกนั และกระทัดรดั (Open and connected
government) โดยใช้ดิจทิ ัลอย่างเตม็ รปู แบบ(Full Digital Employment) เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพของการขบั เคลอ่ื น
นโยบายสาธารณะการใหบ้ ริการแก่ภาคประชาชนและภาคธรุ กจิ เอกชนและสามารถดำเนินงานร่วมกบั ภาคการเมอื ง บน
พนื้ ฐานของความรับผิดรับชอบความโปรง่ ใส ปราศจากการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ สามารถตรวจสอบได้ และมีความ
เปน็ ธรรมในการให้บริการสาธารณะ รวมทั้ง จะต้องเป็นระบบที่สามารถจงู ใจและดงึ ดดู ให้คนดี คนเกง่ เข้ามารว่ มพลงั
การท างานที่มี ความม่งุ มนั่ และแรงบันดาลใจในการท่ีจะรว่ มกนั พลิกโฉมประเทศไปสเู่ ป้าหมายที่พงึ ประสงค์
การปรับสมดลุ ภาครฐั มแี นวยทุ ธศาสตร์ที่สำคัญประกอบดว้ ย การวางระบบ บรหิ ารงานภาครัฐแบบบรู ณาการ เพอ่ื ให้
เกิดความสอดคล้องเชื่อมโยงกันตัง้ แตย่ ุทธุ ศาสตร์ชาติ ลงไปจนถงึ ระดับพื้นทีก่ ารจดั สรรงบประมาณใหม้ ีลักษณะยึดโยง
กับยุทธศาสตร์ ในทุกระดบั และมีเป้าหมายร่วมเป็นหลกั รวมทั้งมรี ะบบการตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนินงาน ท้ังใน
ระดับยทุ ธศาสตร์ตามภารกจิ และพื้นท่ี -9-
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
หลกั การตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
กระทรวงศึกษาธกิ ารมุ่งมน่ั ดำเนนิ การภารกจิ หลักตามแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561 –
2580) ในฐานะหนว่ ยงานเจา้ ภาพขบั เคลอื่ นทกุ แผนย่อยในประเดน็ 12 การพฒั นาการเรยี นรู้ และแผนย่อยท่ี 3 ใน
ประเดน็ 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้งั แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา และนโยบายรฐั บาลทั้งในสว่ น
นโยบายหลักดา้ นการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ และการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ และนโยบายเรง่ ด่วน เรอื่ ง
การเตรียมคนไทยส่ศู ตวรรษท่ี 21 นอกจากนี้ ยงั สนบั สนุนการขับเคลอ่ื นแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าตปิ ระเด็นอน่ื ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยความมัน่ คง
แห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมทงั้ นโยบายและแผนตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอด
ชว่ งชีวิต จะได้รบั การพัฒนาการเรยี นรู้ให้เป็นคนดี คนเกง่ มคี ุณภาพ และมคี วามพร้อมร่วมขบั เคล่อื นการพัฒนา
ประเทศสู่ความมนั่ คง ม่งั คงั่ และย่งั ยืน
ดงั น้นั ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์เิ พื่อสร้างความเชอื่ มัน่ ใหก้ บั สงั คม และ
ผลกั ดนั ให้การจดั การศึกษามีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ จงึ กำหนดนโยบายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
1. ปลดลอ็ ก ปรับเปลย่ี น และเปดิ กวา้ ง ระบบการบริหารจดั การและการพัฒนากำลงั คน โดยมุ่งปฏริ ูป
องค์การเพอื่ หลอมรวมภารกจิ และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพนั ธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้าน - 10 -
กฎหมาย ฯลฯ เพ่อื เพม่ิ ประสิทธภิ าพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลเข้ามาช่วยในการบรหิ ารงาน
และการจัดการศกึ ษา
2. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน และเปดิ กวา้ ง ระบบการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ โดยมงุ่ ให้ครอบคลุมถงึ การ
จดั การศกึ ษาเพอ่ื คณุ วุฒิ และการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ท่ีสามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
3. ปลดลอ็ ก ปรับเปล่ียน เปิดกวา้ ง ท่ีเป็นเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ เพอื่ ให้บรรลผุ ลตามนโยบายการศึกษายกกำลงั
สอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศกึ ษาที่เขา้ ใจ Supply และตอบโจทย์ Demand โดยให้
ทกุ หนว่ ยงานพิจารณาวิเคราะห์ขอ้ มลู รว่ มกนั อย่างรอบดา้ น ครบถ้วน รว่ มกนั พิจารณาหาแนวทาง ข้นั ตอน และวิธกี าร
ดำเนินการร่วมกันแบบบรู ณาการการทำงานทกุ ภาคส่วน
จดุ เน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
ประกอบด้วย 7 เรอ่ื งย่อย ได้แก่ (1) Data Center ศูนย์ข้อมลู กลาง (2) Big Data ข้อมลู ขนาดใหญ่ (คลังข้อมลู การนำ
ขอ้ มลู มารวมกนั ) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5)
e-office e-mail และ document (6) ระบบบริหารจดั การหอ้ งเรียน School และ Classroom Management และ
(7) โครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure (Internet)
2. การจัดการองค์ความร้แู ละยกระดบั ทักษะท่จี ำเป็น เน้นพฒั นาความรู้และสมรรถนะดา้ น Digital
Literacy สำหรบั ผู้เรยี นทีม่ คี วามแตกต่างกนั ตามระดบั และประเภทของการจัดการศกึ ษา เช่น STEM Coding เป็นตน้
3. การศกึ ษาเพ่ือทกั ษะอาชพี และการมีงานทำ พฒั นา 3 ทักษะหลัก ไดแ้ ก่ โลกทัศนอ์ าชพี การเสรมิ ทกั ษะ
ใหม่ (Up Skill) และการเพมิ่ ทกั ษะใหมท่ จ่ี ำเป็น (Re-Skills) ใหแ้ ก่กลมุ่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยใู่ นระบบ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
การศึกษา (การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และอาชวี ศกึ ษา) (2) ผอู้ ยนู่ อกระบบการศกึ ษา (3) วยั แรงงาน และ (4) ผสู้ งู อายุ
เพือ่ ให้มีทกั ษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงท่เี กิดจากเทคโนโลยดี ิจิทลั และอาชีพท่ีเกิดข้ึนใหม่ (Digital
Disruption) โดยเนน้ เพม่ิ บทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้านอาชวี ศกึ ษากับสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา
4. การต่างประเทศ เน้นภารกิจที่ตอ้ งใช้ความร่วมมือระดบั นานาชาตใิ นการจัดหาครชู าวต่างชาติให้แก่
สถานศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภทของกระทรวงศึกษาธกิ ารเพ่อื จัดการศึกษาในสถานศกึ ษา 2 ดา้ นหลัก ๆ ไดแ้ ก่ (1)
ดา้ นภาษาต่างประเทศ และ (2) ด้านวชิ าการ โดยเฉพาะอาชีวศึกษา
5. กฎหมายและระเบยี บ เนน้ แผนงาน 2 เรื่อง ทีบ่ รรจุอยใู่ นแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
ประกอบด้วย
เรอ่ื งที่ 1 : การปฏริ ูประบบการศึกษาและการเรียนร้โู ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหง่ ชาติฉบับใหมแ่ ละกฎหมายลำดับรอง มปี ระเด็นปฏริ ูป 5 ประเด็น ได้แก่
– การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. และมกี ารทบทวน จัดทำ แก้ไข และปรับปรงุ
กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง
– การสรา้ งความร่วมมอื ระหว่างรัฐ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินและเอกชน เพ่ือการจดั การศึกษา
– การขับเคลอื่ นการจดั การศึกษาเพ่อื การพฒั นาตนเองและการศกึ ษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชวี ิตเพื่อ
รองรับการพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต - 11 -
– การทบทวนและปรับปรงุ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
– การจดั ตง้ั สำนักงานคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแหง่ ชาติ
เรอ่ื งที่ 6 การปรับโครงสรา้ งของหนว่ ยงานในระบบการศึกษา ประกอบดว้ ยประเดน็ ปฏิรูป 3 ประเดน็
ได้แก่ สถานศกึ ษามีความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา พืน้ ทนี่ วตั กรรมการศึกษา การปรับปรุงโครงสรา้ ง
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
6. ระบบบริหารจดั การและการพฒั นาบคุ ลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของแต่ละหน่วยงานในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความซ้ำซอ้ นในการจดั ฝึกอบรมใหแ้ ต่ละกลุ่มเป้าหมาย และใชป้ ระโยชน์จากสถาบัน
พัฒนาท่ีมีอยู่แล้ว เชน่ สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการจัด
ฝึกอบรมพัฒนาทักษะสมรรถนะใหแ้ ก่บคุ ลากรของกระทรวงศึกษาธกิ าร (ผู้บริหารหนว่ ยงานทกุ ระดบั ผู้บริหาร
สถานศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท ครู อาจารย์ และบคุ ลากรอื่น ๆ) รวมทัง้ พัฒนายกระดับให้เป็นสถาบันฝกึ อบรมระดบั
นานาชาติ
7. การประชาสมั พนั ธ์ โดยจัดตัง้ ศูนย์ประชาสัมพนั ธ์ของกระทรวงศึกษาธกิ าร เปน็ หน่วยงานสังกดั สำนักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ดำเนนิ การผลิตสื่อและจัดทำเนื้อหา (Content) เพือ่ เผยแพรผ่ ลงาน กิจกรรมและการเข้า
รว่ มงานตา่ ง ๆ ของทุกหน่วยงานในภาพรวมของ กระทรวงศกึ ษาธิการ
8. การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ดำเนนิ การขับเคลือ่ นนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้
สำหรับเด็กปฐมวัย
9. การพฒั นาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการส่งเสรมิ โครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ
10. การรับเรือ่ งราวร้องทุกขท์ ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั กระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการบริหาร
จัดการ เช่น การยกระดบั ตอบรบั อัตโนมัติเพ่ือแก้ไขปญั หาเบอ้ื งต้น (Call Center ดา้ นกฎหมาย) การวางระบบ
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารจดั การการรบั เรือ่ งราวร้องทกุ ขใ์ นภาพรวมของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
11. การปฏริ ูปองคก์ ารและโครงสร้างกระทรวงศึกษาธกิ าร
12. การพฒั นาครู ในสาขาวชิ าต่าง ๆ เพื่อใหม้ ีมาตรฐานวชิ าชพี ท่สี ูงขน้ึ
13. การศึกษายกกำลังสอง โดย
– พฒั นาครทู ุกระดบั ให้มีทักษะ ความรูท้ ่จี ำเป็น เพอ่ื ทำหน้าท่วี ทิ ยากรมืออาชีพ (Train The Trainer)
และขยายผลการพฒั นาผ่านศนู ยพ์ ัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพอื่ ความเป็นเลศิ (Human Capital Excellence Center :
HCEC)
– จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดลอ็ กและเปิดกว้างให้
ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพฒั นาเนอ้ื หา เพอื่ ให้ผเู้ รียน ครู และผบู้ รหิ ารทางการศกึ ษามีทางเลอื กในการเรยี นรู้ท่ี
หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพือ่ ความเปน็ เลศิ (Digital Education Excellence
Platform : DEEP)
– ให้ผเู้ รียน ครู ผู้บรหิ ารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบุคคลผ่านแผนพฒั นารายบคุ คลสู่ความเป็นเลศิ
(Excellence Individual Development Plan : EIDP)
– จัดทำ “คมู่ ือมาตรฐานโรงเรยี น” เพื่อกำหนดใหท้ กุ โรงเรียนตอ้ งมีพืน้ ฐานท่จี ำเปน็
การสร้างความสามารถในการแข่งขนั
• มงุ่ เนน้ การศกึ ษาเพ่ือทกั ษะอาชีพและการมีงานทำดว้ ยคณุ ภาพ โดยสรา้ งค่านยิ มอาชีวศกึ ษา และเติม - 12 -
เต็มชอ่ งวา่ งระหว่างทกั ษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชีวศึกษาทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน เน้น
รว่ มมอื กบั สถานประกอบการช้นั นำ (Tailor-made Curriculum) ขับเคล่อื นความร่วมมอื การจดั การอาชวี ศกึ ษา
ระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนสู่มาตรฐานนานาชาติ
• มุ่งเน้น Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝกึ อบรมวชิ าชพี ระยะส้นั รวมท้ังผลติ กำลังแรงงานทมี่ ี
คุณภาพตามความเปน็ เลศิ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบรบิ ทของพนื้ ที่ เพ่อื ตอบโจทย์การพฒั นาประเทศและสถาน
ประกอบการ
• มุ่งเนน้ พฒั นาศนู ยป์ ระสานงานกลางการผลิตและพัฒนากำลงั คนอาชีวศกึ ษา (TVET Excellence
Center) ส่มู าตรฐานสากล ผลติ อาชีวะพนั ธุใ์ หม่ รวมถึงการนำนวตั กรรม Digital เพ่ือม่งุ ส่กู ารอาชวี ศกึ ษาดิจทิ ัล
(Digital College)
• มุง่ เน้นพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนอาชวี ศกึ ษา ให้เป็นผูป้ ระกอบการ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ผเู้ รียนเพอื่ การ
ดำรงชวี ติ ใหม้ คี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์และทักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 (Technical Vocational Education
and Training : TVET, Student Skill Set) รวมทั้งใหค้ วามร่วมมือในการพฒั นาขีดความสามารถของผู้เรียนผา่ นการ
ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพในตา่ งประเทศและการแขง่ ขันในเวทีระดับนานาชาติ
• มุง่ เนน้ การเพมิ่ ปริมาณผ้เู รยี นในหลกั สตู รอาชีวศึกษา สร้างภาพลักษณ์สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาเพ่ือดึงดดู
ใหผ้ ู้ท่ีสนใจเข้ามาเรียน
• สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาบริหารจัดการอยา่ งมคี ุณภาพ และจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเคร่ืองมอื
ปฏบิ ตั ิท่ีทันสมัย
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
• ขับเคลือ่ นพนื้ ท่นี วัตกรรมการศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกับพระราชบญั ญัติพ้ืนท่ีนวตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ.2562
• สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นที่ยตุ ิการศกึ ษา ท้ังกอ่ นและหลังสำเรจ็ การศกึ ษาภาคบังคับใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา
จนสำเร็จการศกึ ษาภาคบงั คับ
การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม
• เสรมิ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี ึงประสงค์ด้าน
สง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้ังการปรับตัวรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
• สง่ เสรมิ การพฒั นาสงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมทีเ่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ให้สามารถเป็นอาชพี และสรา้ ง
รายได้
การพัฒนาการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง
• เฝ้าระวงั ภยั ทุกรูปแบบทีเ่ กิดข้นึ กบั ผูเ้ รยี น ครู และสถานศกึ ษา
การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
• ปฏิรูปองคก์ ารเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และความเป็นเอกภาพของหนว่ ยงาน
• ปรบั ปรงุ กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกาศต่าง ๆ ที่เปน็ อปุ สรรคและข้อจำกดั ในการดำเนนิ งาน โดย
คำนงึ ถึงประโยชนข์ องผเู้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม
• ยกระดับการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and - 13 -
Transparency Assessment : ITA) ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
• พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ด้านการศึกษา (Big Data)
การขบั เคลื่อนนโยบายและจดุ เน้นส่กู ารปฏิบัติ
1. ให้สว่ นราชการ หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ นำนโยบายและจดุ เน้น เปน็ กรอบแนวทางในการ
วางแผนและจดั ทำงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ตามท่ีรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดใ้ ห้
แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้
2. ใหม้ คี ณะกรรมการติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขบั เคลอ่ื นนโยบายและจุดเนน้ สู่การปฏิบัตริ ะดับ
พ้นื ท่ี โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน สำนักงานศึกษาธกิ ารภาคและสำนกั ตรวจราชการและ
ตดิ ตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานกุ ารและผู้ช่วยเลขานุการตามลำดับ โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ
ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจดั ทำรายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร และ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลำดับ
3. กรณีมีปัญหาในเชงิ พ้นื ทห่ี รือข้อขัดขอ้ งในการปฏิบัตงิ าน ใหศ้ ึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและดำเนนิ การแกไ้ ข
ปัญหาในระดับพ้นื ท่กี อ่ น โดยใช้ภาคีเครือขา่ ยในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมท้ังรายงานต่อคณะกรรมการตดิ ตามฯ
ข้างตน้ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการตามลำดบั
อนง่ึ สำหรบั ภารกิจของสว่ นราชการหลักและหน่วยงานท่ีปฏบิ ัตใิ นลักษณะงานในเชงิ หนา้ ท่ี (Function) งานใน
เชงิ ยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชงิ พ้ืนท่ี (Area) ซงึ่ ได้ดำเนนิ การอย่กู ่อน เม่อื รัฐบาลหรือกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมี
นโยบายสำคัญเพิม่ เตมิ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นอกเหนือจากทกี่ ำหนดหากมีความสอดคลอ้ งกับหลักการนโยบาย
และจดุ เน้นขา้ งต้น ให้ถือเปน็ หน้าทีข่ องส่วนราชการหลักและหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งตอ้ งเรง่ รัด กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ
ให้การดำเนินการเกดิ ผลสำเร็จ และมปี ระสิทธภิ าพอย่างเปน็ รูปธรรมด้วยเชน่ กนั
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
นโยบายและจุดเนนการดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน.
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. ด้านการจัดการเรียนรคู้ ุณภาพ
1.1 นอ้ มนำพระบรมราโชบายส่กู ารปฏบิ ัตริ วมทง้ั สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดำเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำรทิ ุกโครงการ และโครงการอนั เกีย่ วเนอ่ื งจากราชวงศ์
1.2 ขบั เคลอ่ื นการจัดการเรียนรทู้ ่ีสนองตอบยุทธศาสตรช์ าติและนโยบายของ รัฐมนตรีว่าการและรฐั มนตรีชว่ ย
วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1.3 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสร้างความม่นั คง การสร้างความเขา้ ใจทถ่ี ูกต้อง ในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย การเรยี นรู้ทีป่ ลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม สรา้ งวนิ ยั จติ สาธารณะ อุดมการณ์ ความยึดม่ันในสถาบนั หลกั
ของชาติ การเรียนรปู้ ระวัติศาสตรข์ องชาติและท้องถิน่ และหนา้ ทคี่ วามเปน็ พลเมอื งที่ เข้มแขง็ รวมถงึ การมจี ิตอาสา
ผ่านกจิ กรรมตา่ ง ๆ
1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทกุ ระดับทกุ ประเภท ท้งั หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและ
หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ ง ใหส้ อดรับกับการพฒั นาคน ทศิ ทางการพฒั นาประเทศ สอดคลอ้ งกับบริบททเี่ ปลยี่ นแปลง
ความต้องการและความหลากหลายของผเู้ รียน/ผู้รับบริการ รวมถงึ ปรับลด ความหลากหลายและความซ้ำซอ้ นของ - 14 -
หลกั สตู ร เชน่ หลกั สตู รการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายบนพืน้ ทีส่ ูง พน้ื ท่ีพเิ ศษและพน้ื ท่ชี ายแดน รวมท้ังกล่มุ ชาติพนั ธ
1.5 ปรับระบบทดสอบ วดั ผล และประเมนิ ผลโดยเนน้ การใช้เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือ ให้ผู้เรียนสามารถเขา้ ถึง
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้ตามความต้องการ เพอ่ื การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ใหค้ วามสำคญั กบั การเทยี บระดบั
การศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมิน สมรรถนะผเู้ รียนให้ตอบโจทยก์ าร
ประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน่ การประเมนิ สมรรถภาพผใู้ หญ่ ตลอดจนกระจายอ านาจไปยังพ้ืนทใี่ น
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.6 สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสตู รการเรยี นรูใ้ นระบบออนไลนด์ ้วยตนเอง ครบวงจร ต้ังแตก่ าร
ลงทะเบียนจนการประเมินผลเมือ่ จบหลกั สตู ร ทั้งการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือเป็นการสรา้ งและขยายโอกาสในการเรยี นรู้ ให้กบั กล่มุ เป้าหมายท่ีสามารถเรียนรไู้ ด้
สะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผู้เรยี น
1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรม์ การเรียนรขู้ องสำนักงาน กศน. ตลอดจนพฒั นาสือ่ การ
เรยี นร้ทู ัง้ ในรปู แบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มคี ลงั สอื่ การเรยี นรูท้ ่ีเปน็ สอ่ื ที่ถกู ตอ้ ง ตามกฎหมาย งา่ ยตอ่ การสืบคน้
และน าไปใช้ในการจดั การเรียนรู้
1.8 เรง่ ดำเนินการเร่ือง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทยี บโอน หน่วยกติ เพือ่ การสร้าง
โอกาสในการศกึ ษา
1.9 พัฒนาระบบนเิ ทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ท้ังในระบบ On-Siteและ Online รวมทง้ั สง่ เสริมการวจิ ยั
เพื่อเปน็ ฐานในการพฒั นาการดำเนนิ งานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั
2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ
2.1 ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ท่เี นน้ การพฒั นาทกั ษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และการจดั
การศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกับแต่ละกลุม่ เปา้ หมายและบรบิ ทพ้นื ที่
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
2.2 พัฒนาหลักสตู รอาชีพ ระยะสัน้ ท่ีเน้น New skill Up skill และ Reskill ทสี่ อดคล้องกับบริบทพนื้ ที่ ความ
ตอ้ งการและความหลากหลายของกลุ่มเปา้ หมาย เชน่ ผ้พู กิ าร ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลมุ่ อาชพี
ใหม่ท่ีรองรบั Disruptive Technology
2.3 ประสานการทำงานรว่ มกบั ศนู ย์ให้คำปรึกษาการจดั ต้งั ธุรกจิ (ศูนย์ Start-up) ของอาชวี ศกึ ษา จดั อบรม
หลกั สูตรวิชาชพี ระยะส้นั ฐานสมรรถนะในทักษะอนาคต (FutureSkills) ให้กบั แรงงานท่กี ลับภูมลิ ำเนาในช่วง
สถานการณ์ COVID – 19
2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ที่เนน้ “ส่งเสริมความรู้ สรา้ งอาชีพ
เพ่ิมรายได้ และมีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี” ให้มคี ุณภาพมาตรฐาน เปน็ ท่ยี อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นเพือ่ สร้าง
มูลคา่ เพ่ิม พัฒนาสู่วิสาหกิจชมุ ชน ตลอดจนเพ่มิ ช่องทางประชาสัมพนั ธ์และ ช่องทางการจำหน่าย
2.5 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาของผู้สูงอายุ เพ่อื ให้เปน็ Active Ageing Workforce และมีLife skill ในการ
ดำรงชีวิตทีเ่ หมาะกบั ชว่ งวยั
2.6 ส่งเสริมการจัดการเรยี นรูเ้ พอ่ื เตรียมความพร้อม/การปฏบิ ัตติ ัวสำหรับสตรี ตัง้ ครรภ์ และจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้สำหรบั แมแ่ ละเดก็ ใหเ้ หมาะสมกับบริบทของชุมชนและช่วงวัย
2.7 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาท่พี ัฒนาทักษะทจ่ี าเปน็ สำหรบั กลุม่ เป้าหมายพเิ ศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสตกิ
เด็กเรร่ อ่ น และผดู้ ้อยโอกาสอน่ื ๆ
2.8 สง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะดิจิทัลและทักษะดา้ นภาษา ใหก้ บั บุคลากรและผู้เรยี น กศน. เพอ่ื รองรบั การ - 15 -
พัฒนาประเทศ รวมทัง้ จดั ทำกรอบสมรรถนะดจิ ทิ ัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
2.9 ส่งเสริมให้ความร้ดู า้ นการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรา้ งวินยั ทางการเงนิ
ใหก้ ับบคุ ลากรและผู้เรยี น กศน.
2.10 ส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมของผเู้ รียน กศน.
2.11 สร้างอาสาสมคั ร กศน. เพื่อเปน็ เครอื ข่ายในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษา ตลอดชวี ิตในชุมชน
2.12 สง่ เสรมิ การสรา้ งและพัฒนานวตั กรรมของบคุ ลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่เพือ่ ให้หนว่ ยงาน /
สถานศึกษา น าไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ร่วมกนั
3. ด้านองค์กร สถานศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ
3.1 ทบทวนบทบาทหนา้ ทขี่ องหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศกึ ษาและพัฒนา
ต่อเน่อื งสิรนิ ธร สถานศกึ ษาขึน้ ตรง ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการ
ขับเคลอ่ื นการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในพ้นื ที่
3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” (ศศช.) ใหม้ คี วาม
พรอ้ มเพื่อเปน็ พ้ืนที่การเรยี นรู้ตลอดชีวติ ท่ีสำคัญของชมุ ชน
3.3 ปรบั รปู แบบกิจกรรมในหอ้ งสมดุ ประชาชน ท่ีเนน้ Library Delivery เพ่ือเพ่ิม อัตราการอ่านและการรู้
หนังสอื ของประชาชน
3.4 ใหบ้ รกิ ารวิทยาศาสตรเ์ ชงิ รุก Science @home โดยใช้เทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมือนำวิทยาศาสตรส์ ู่
ชวี ิตประจำวันในทกุ ครอบครวั
3.5 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การสร้างพนื้ ทกี่ ารเรยี นรู้ในรปู แบบ Public Learning Space/Co - learning
Space เพื่อการสร้างนเิ วศการเรียนรูใ้ หเ้ กดิ ข้ึนสังคม
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3.6 สง่ เสริมและสนับสนนุ การดำเนนิ งานของกลมุ่ กศน. จงั หวัดให้มปี ระสิทธภิ าพ
4. ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ
4.1 ขบั เคลอื่ นกฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ตลอดจนทบทวน ภารกิจบทบาทโครงสร้าง
ของหนว่ ยงานเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย
4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำส่ัง และข้อบังคับตา่ ง ๆ ใหม้ ีความทันสมัยเอือ้ ต่อ การบริหารจัดการ และ
การจัดการเรยี นรู้ เช่น การปรับหลกั เกณฑค์ ่าใช้จ่ายในการจัดหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
4.3 ปรับปรงุ แผนอัตรากำลัง รวมทั้งกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนำคนเข้าส่ตู ำแหนง่ การยา้ ย โอน และการ
เล่อื นระดับ
4.4 ส่งเสริมการพัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดบั ให้มีความร้แู ละทักษะตามมาตรฐานตำแหนง่ ใหต้ รงกบั สายงาน และ
ทักษะท่จี ำเปน็ ในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
4.5 เสริมสรา้ งขวญั และกำลังใจให้กับขา้ ราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ประกาศเกยี รติ
คณุ การมอบโล่ / วฒุ ิบตั ร
4.6 ปรบั ปรุงระบบการจดั สรรทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาให้มคี วามครอบคลุม เหมาะสม เชน่ การปรบั ค่าใช้จ่าย
ในการจดั การศกึ ษาของผพู้ กิ าร เด็กปฐมวัย
4.7 ปรบั ปรงุ ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาเพ่ือการบริหารจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ เช่น ขอ้ มูลการ
รายงานผลการดำเนินงาน ขอ้ มลู เดก็ ตกหลน่ จากการศกึ ษาในระบบและเดก็ ออกกลางคัน เด็กเร่ร่อน ผู้พิการ - 16 -
4.8 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครือ่ งมอื ในการบริหารจัดการอย่างเตม็ รูปแบบ
4.9 ส่งเสรมิ พฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั สรู่ ะบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพและความ
โปรง่ ใสการดำเนนิ งานของภาครฐั (ITA)
4.10 สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื สรา้ งความพร้อมในการจดั การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน
ภารกจิ ต่อเนอื่ ง
1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
1) สนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบตงั้ แตป่ ฐมวยั จนจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานโดยดำเนินการใหผ้ ู้เรียน
ไดร้ ับการสนบั สนุนคา่ จัดซื้อหนงั สอื เรยี น ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และค่าจดั การเรยี น การสอนอย่างท่วั ถึง
และเพียงพอเพ่อื เพม่ิ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย
2) จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานให้กับกลุ่มเปา้ หมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทาง
การศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกล่มุ การเรยี นแบบชน้ั เรียน และการจัด การศึกษาทางไกล
3) พัฒนาประสทิ ธิภาพ คณุ ภาพ และมาตรฐานการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ทัง้ ดา้ นหลกั สตู รรูปแบบ/กระบวนการเรยี นการสอน ส่ือและนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น และ
ระบบการให้บริการนักศึกษาในรปู แบบอื่น ๆ
4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ ทมี่ ีความ
โปรง่ ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามทก่ี ำหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
5) จดั ใหม้ กี ิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนท่ีมคี ุณภาพทผี่ ู้เรียนตอ้ งเรียนรแู้ ละเขา้ ร่วมปฏบิ ัติ กิจกรรม เพื่อ
เปน็ สว่ นหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามคั คีกิจกรรมเกีย่ วกบั การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายา
เสพติดการแขง่ ขันกีฬา การบ าเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กจิ กรรม จติ อาสา และการจัดต้ังชมรม/
ชมุ นุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนนำกจิ กรรมการบำเพญ็ ประโยชน์อื่น ๆ นอกหลักสตู รมาใชเ้ พ่ิมชัว่ โมงกจิ กรรมให้
ผ้เู รียนจบตามหลักสูตรได้
1.2 การส่งเสริมการร้หู นงั สอื
1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ผ้ไู มร่ หู้ นังสอื ใหม้ ีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัยและเปน็ ระบบ เดียวกันท้งั
ส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าค
2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สอื่ แบบเรยี นเคร่ืองมอื วดั ผลและเครอื่ งมือการดำเนินงาน การสง่ เสรมิ การ
รหู้ นังสือที่สอดคลอ้ งกับสภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย
3) พฒั นาครู กศน. และภาคีเครอื ข่ายทรี่ ว่ มจัดการศกึ ษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ให้กบั ผู้ไม่รูห้ นงั สอื อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจัดใหม้ อี าสาสมัครส่งเสริมการรู้หนงั สือ ในพื้นทที่ ีม่ ี
ความต้องการจำเป็นเปน็ พเิ ศษ
4) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การร้หู นังสือ การคงสภาพการรู้หนงั สือ การพัฒนา
ทกั ษะการรหู้ นังสือให้กับประชาชนเพอื่ เปน็ เครอ่ื งมือในการศึกษาและเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิต ของประชาชน - 17 -
1.3 การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
1) จดั การศึกษาอาชพี เพอื่ การมีงานท าอย่างย่งั ยืน โดยใหค้ วามสำคญั กับการจดั การศกึ ษาอาชีพ เพอ่ื การมี
งานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรอื การบริการ รวมถึง
การเน้นอาชพี ช่างพนื้ ฐานทสี่ อดคล้องกบั ศกั ยภาพของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศกั ยภาพ ของแต่ละพน้ื ทมี่ ีคุณภาพได้
มาตรฐานเป็นทยี่ อมรบั สอดรบั กบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรา้ งความเขม้ แข็ง
ให้กบั ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน โดยจดั ใหม้ กี ารส่งเสริมการรวมกล่มุ วสิ าหกจิ ชมุ ชน การพฒั นาหนึ่งตำบลหนึง่ อาชพี เดน่ การ
ประกวดสนิ คา้ ดีพรีเมย่ี ม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการสง่ เสรมิ และจดั หาชอ่ งทางการจำหนา่ ยสินคา้ และ
ผลิตภัณฑ์ และให้มีการกำกบั ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทำอย่างเปน็ ระบบและ
ต่อเนอ่ื ง
2) จัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิตให้กับทุกกลมุ่ เปา้ หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู้ งู อายุ ท่ีสอดคลอ้ งกับ
ความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และม่งุ เน้นให้ทกุ กลุม่ เป้าหมายมีทักษะการด ารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบ
อาชพี พง่ึ พาตนเองไดม้ คี วามรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชวี ิตของตนเองใหอ้ ยู่ในสังคม ได้อยา่ งมีความสขุ
สามารถเผชิญสถานการณต์ ่าง ๆ ท่เี กดิ ข้ึนในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และเตรยี มพร้อมสำหรบั การปรบั ตัว
ให้ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของขา่ วสารขอ้ มูลและเทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกจิ กรรมทม่ี ีเนอื้ หาสำคัญตา่ ง ๆ
เช่น การอบรมจติ อาสา การให้ความรูเ้ พ่ือการป้องการการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) การ
อบรมพัฒนาสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจรยิ ธรรม การปอ้ งกนั ภยั ยาเสพติด เพศศึกษา การ
ปลกู ฝ่ังและการสรา้ งคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรปู แบบต่าง ๆ
อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวติ การจัดต้ังชมรม/ชมุ นุม การอบรมส่งเสริมความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ เป็นตน้
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3) จดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการ
ในรูปแบบของการฝกึ อบรมการประชมุ สัมมนา การจดั เวทีแลกเปล่ยี นเรยี นรกู้ ารจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชน
นักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่เี หมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย และบรบิ ทของชมุ ชนแต่ละพน้ื ท่ี เคารพความคดิ ของผ้อู ่ืน
ยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสงั คม พหุวฒั นธรรม โดยจัดกระบวนการให้
บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้รว่ มกนั สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะ การสร้างจติ ส านกึ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย
การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้ าที่ ความเปน็ พลเมอื งท่ดี ีภายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ การส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม การเป็นจติ อาสา การบำเพญ็ ประโยชนใ์ นชมุ ชนการ
บริหารจดั การน้ำ การรบั มอื กบั สาธารณภยั การอนุรกั ษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การชว่ ยเหลอื ซึ่ง
กันและกันในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน อยา่ งย่งั ยนื
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั สามารถยนื หยดั อย่ไู ดอ้ ย่างมนั่ คง และมกี ารบรหิ ารจดั การ
ความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยง่ั ยืน
1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย
1) พัฒนาแหล่งการเรียนรูท้ ีม่ บี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ต่อการอ่านและพฒั นาศักยภาพการเรยี นรู้
ใหเ้ กิดข้นึ ในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอยา่ งกว้างขวางและทว่ั ถงึ เช่น การพัฒนา กศน. ตำบล ห้องสมดุ ประชาชนทกุ แหง่ ให้มี
การบรกิ ารท่ที นั สมยั ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน การสรา้ ง เครือข่ายสง่ เสริมการอา่ น จดั หน่วย - 18 -
บรกิ ารห้องสมดุ เคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พรอ้ มหนงั สือและอุปกรณ์ เพ่ือจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้
ทห่ี ลากหลายใหบ้ ริการกับประชาชนในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ อย่างท่วั ถงึ สม่ำเสมอ รวมท้งั เสริมสรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร
สื่ออปุ กรณ์เพ่ือสนบั สนนุ การอ่าน และการจดั กิจกรรม เพอ่ื ส่งเสริมการอา่ นอย่างหลากหลายรปู แบบ
2) จัดสรา้ งและพฒั นาศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา ให้เป็นแหลง่ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดชีวิตของ
ประชาชน เป็นแหลง่ สร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการ ประจำท้องถิ่น
โดยจัดทำและพฒั นานิทรรศการสื่อและกจิ กรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้ และสร้างแรงบันดาลใจดา้ น
วทิ ยาศาสตรส์ อดแทรกวธิ ีการคดิ เชิงวิเคราะห์ การคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ และปลูกฝังเจตคติ ทางวทิ ยาศาสตรผ์ ่านการ
กระบวนการเรียนรทู้ ี่บูรณาการความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ควบคู่กบั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตรร์ วมท้งั
สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับ ภมู ภิ าคและระดับโลก
เพื่อให้ประชาชนมคี วามรแู้ ละสามารถนำความรแู้ ละทักษะไปประยกุ ต์ใชใ้ นการด าเนินชีวติ การพัฒนาอาชีพ การรักษา
สิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกนั ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ รวมทง้ั มคี วามสามารถ ในการปรับตัวรองรบั ผลกระทบจาก
การเปลีย่ นแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่างรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
3) ประสานความร่วมมอื หน่วยงาน องคก์ ร หรือภาคสว่ นต่าง ๆ ท่มี ีแหลง่ เรยี นรู้อน่ื ๆ เพอ่ื สง่ เสริมการจัด
การศกึ ษาตามอัธยาศัยใหม้ ีรปู แบบทห่ี ลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน เช่น พพิ ิธภัณฑ์ ศูนย์
เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถึงภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เปน็ ต้น
2. ด้านหลกั สูตร ส่ือรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้และกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริม การศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่หี ลากหลาย ทันสมยั รวมถงึ การพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ และหลกั สตู รทอ้ งถ่นิ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ทส่ี อดคล้องกบั สภาพบริบทของพนื้ ทแ่ี ละความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายและชุมชน
2.2 ส่งเสรมิ การพฒั นาส่ือแบบเรียน ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์และสือ่ อืน่ ๆ ทีเ่ อื้อต่อการเรียนร้ขู องผู้เรยี น
กลมุ่ เปา้ หมายท่ัวไปและกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ทกุ ที ทุกเวลา
2.3 พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มคี วามทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรยี นรู้ ด้วยระบบ
ห้องเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์
2.4 พฒั นาระบบการประเมนิ เพอ่ื เทียบระดบั การศึกษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละ ประสบการณเ์ พอ่ื ให้มี
คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั มีการ
ประชาสัมพนั ธใ์ ห้สาธารณชนได้รับรูแ้ ละสามารถเข้าถงึ ระบบการประเมินได้
2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สูตร โดยเฉพาะหลกั สตู ร ในระดับ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานใหไ้ ด้มาตรฐานโดยการน าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2.6 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาวิจยั เพื่อพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล และเผยแพรร่ ปู แบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย
รวมทง้ั ให้มกี ารน าไปสู่การปฏบิ ัติอย่างกวา้ งขวางและมีการพฒั นาให้เหมาะสมกับบรบิ ท อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2.7 พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพ
ภายในทส่ี อดคลอ้ งกับบรบิ ทและภารกิจของ กศน. มากขน้ึ เพอ่ื พรอ้ มรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนา - 19 -
บุคลากรใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของระบบการประกนั คณุ ภาพ และสามารถ ดำเนนิ การประกัน
คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งโดยใช้การประเมนิ ภายในด้วยตนเอง และจดั ให้มี ระบบสถานศึกษา
พ่เี ลย้ี งเขา้ ไปสนบั สนนุ อยา่ งใกล้ชิด สำหรบั สถานศึกษาทีย่ ังไม่ได้เขา้ รับการประเมนิ คุณภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพ
การจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด
3. ด้านเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา
3.1 ผลติ และพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทศั น์เพ่อื การศกึ ษาเพ่ือให้เชอ่ื มโยงและตอบสนอง ตอ่ การจดั
กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษาเพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษา สำหรับ
กล่มุ เปา้ หมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพฒั นาตนเอง ใหร้ ู้เท่าทนั สือ่ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมงี านทำ รายการติวเขม้ เติมเต็มความรู้ รายการ
รายการทำกินกไ็ ด้ ทำขายกด็ ี ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานวี ทิ ยุศกึ ษา สถานีวทิ ยุโทรทศั น์ เพอ่ื การศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ น็ต
3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยผา่ นระบบ เทคโนโลยีดิจทิ ัล
และช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เชน่ Youtube Facebook หรือ Applicationอน่ื ๆ เพื่อสง่ เสริม ให้ครู กศน.นำเทคโนโลยี
ดจิ ิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
3.3 พัฒนาสถานวี ทิ ยศุ กึ ษาและสถานโี ทรทัศน์เพ่อื การศึกษาเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการผลติ และการ
ออกอากาศใหก้ ลมุ่ เป้าหมายสามารถใช้เป็นชอ่ งทางการเรียนรู้ทีม่ คี ุณภาพไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต โดยขยายเครอื ข่าย
การรบั ฟงั ให้สามารถรบั ฟังได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพนื้ ท่ีทว่ั ประเทศและเพิ่มชอ่ งทางให้สามารถรับชมรายการ
โทรทัศน์ไดท้ ง้ั ระบบ Ku - Band C -Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะรองรับการพฒั นาเปน็ สถานวี ิทยุ
โทรทัศน์เพอ่ื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV)
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสอ่ื เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาเพอ่ื ใหไ้ ดห้ ลายชอ่ งทางทงั้ ทาง อินเทอรเ์ น็ต และ
รูปแบบอน่ื ๆ อาทิApplication บนโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังสอื่ Offline ในรปู แบบต่าง ๆ เพ่อื ให้
กลุม่ เปา้ หมายสามารถเลือกใช้บรกิ ารเพ่อื เข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ ได้ตามความตอ้ งการ
3.5 สำรวจ วิจยั ตดิ ตามประเมนิ ผลด้านการใช้สอื่ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพอ่ื นำผลมาใชใ้ นการ
พัฒนางานใหม้ ีความถกู ตอ้ ง ทนั สมัยและสามารถส่งเสริมการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ของประชาชนไดอ้ ยา่ ง
แทจ้ รงิ
4. ดา้ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การด าเนินงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำรหิ รือโครงการ อันเกี่ยวเน่ืองจาก
ราชวงศ์
4.2 จดั ทำฐานขอ้ มูลโครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทีส่ นองงานโครงการอันเนอื่ งมาจาก พระราชดำรหิ รือ
โครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศเ์ พ่ือนำไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผล และการพัฒนางานได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
4.3 สง่ เสรมิ การสร้างเครือข่ายการดำเนินงานเพือ่ สนับสนุนโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ เพือ่ ให้เกิด
ความเขม้ แข็งในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
4.4 พฒั นาศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง”เพ่ือให้มีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา้ ที่ท่กี ำหนดไว้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ - 20 -
4.5 จัดและสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกบั วิถชี ีวติ ของประชาชนบนพื้นทสี่ งู ถิน่ ทรุ กนั ดาร และ
พื้นทีช่ ายขอบ
5. ด้านการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พื้นทเี่ ขตเศรษฐกิจพิเศษและพืน้ ทบ่ี ริเวณชายแดน
5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
1) จดั และพัฒนาหลกั สูตร และกิจกรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองปัญหา และความ
ตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทั้งอัตลกั ษณ์และความเปน็ พหวุ ฒั นธรรมของพน้ื ท่ี
2) พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานอยา่ งเขม้ ขน้ และต่อเนื่อง เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถนำความรู้ท่ไี ด้รบั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ
3) ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาจดั ใหม้ ีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภยั แก่บคุ ลากรและ นกั ศึกษา กศน.
ตลอดจนผมู้ าใช้บรกิ ารอย่างทั่วถงึ
5.2 พฒั นาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ
1) ประสานความรว่ มมือกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องในการจดั ทำแผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตร์ และบรบิ ทของ
แต่ละจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
2) จดั ทำหลกั สูตรการศกึ ษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเนน้ สาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ
พฒั นาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพนื้ ท่ี
5.3 จัดการศกึ ษาเพ่ือความม่นั คงของศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)
1) พฒั นาศนู ยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพอ่ื ใหเ้ ป็นศนู ย์ฝึกและสาธิต การประกอบ
อาชีพดา้ นเกษตรกรรม และศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบการจัดกจิ กรรมตามแนวพระราชดำริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง
สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
2) มงุ่ จดั และพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วธิ กี ารหลากหลายใชร้ ปู แบบเชงิ รุกเพอื่ การเข้าถงึ กลุ่มเป้าหมาย
เชน่ การจัดมหกรรมอาชพี การประสานความร่วมมอื กับเครอื ข่าย การจัดอบรมแกนนำดา้ นอาชพี ที่เน้นเรอื่ งเกษตร
ธรรมชาติทสี่ อดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน
6. ด้านบุคลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน
6.1 การพฒั นาบคุ ลากร
1) พฒั นาบุคลากรทกุ ระดบั ทุกประเภทใหม้ ีสมรรถนะสงู ขึ้นอย่างต่อเน่ือง ท้งั ก่อนและระหว่าง การดำรง
ตำแหน่งเพอื่ ใหม้ ีเจตคติที่ดใี นการปฏิบัติงานให้มีความรแู้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตำแหน่ง ให้ตรงกบั สายงาน ความ
ชำนาญ และความต้องการของบคุ ลากรสามารถปฏิบัตงิ านและบริหารจดั การการด าเนินงานของ หน่วยงานและ
สถานศกึ ษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทง้ั สง่ เสรมิ ใหข้ ้าราชการในสงั กัดพฒั นาตนเองเพอื่ เลอื่ น ตำแหนง่ หรือเลื่อน
วทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชิงประจักษ์
2) พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ กศน. ให้มสี มรรถนะที่จำเปน็ ครบถ้วน มีความเป็นมอื อาชีพ สามารถปฏิบัตกิ าร
นเิ ทศไดอ้ ย่างมีศักยภาพ เพ่ือรว่ มยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยใน
สถานศกึ ษา
3) พฒั นาหวั หน้า กศน.ตำบล/แขวงใหม้ ีสมรรถนะสูงขึน้ เพ่อื การบริหารจัดการ กศน.ตำบล/ แขวง และ
การปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทภารกิจอย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยเน้นการเป็นนกั จัดการความรูแ้ ละผู้อำนวย ความสะดวกใน
การเรียนรเู้ พือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรทู้ ่ีมปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งแท้จริง - 21 -
4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรทีเ่ กย่ี วข้องกับการจดั การศึกษาใหส้ ามารถจัดรูปแบบ การเรียนรไู้ ด้อยา่ งมี
คุณภาพโดยส่งเสรมิ ให้มีความร้คู วามสามารถในการจดั ทำแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและ
ประเมินผล และการวจิ ยั เบ้อื งตน้
5) พฒั นาศกั ยภาพบุคลากร ที่รบั ผิดชอบการบรกิ ารการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถ
และมคี วามเปน็ มืออาชีพในการจัดบรกิ ารสง่ เสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิตของประชาชน
6) สง่ เสรมิ ใหค้ ณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสว่ นร่วม ในการบรหิ ารการด
าเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหนา้ ที่สนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
8) พฒั นาสมรรถนะและเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ ลากรรวมทัง้ ภาคเี ครอื ขา่ ยท้งั ใน และต่าง
ประเทศในทกุ ระดับ โดยจดั ให้มกี ิจกรรมเพือ่ เสรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพและเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการทำงานร่วมกนั ใน
รปู แบบที่หลากหลายอยา่ งต่อเนอ่ื ง อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการทำงาน
6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและอัตรากำลงั
1) จัดทำแผนการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานและดำเนนิ การปรับปรุงสถานทีแ่ ละวัสดุอุปกรณ์ ใหม้ คี วามพรอ้ มใน
การจัดการศึกษาและการเรียนรู้
2) สรรหา บรรจุ แตง่ ตง้ั และบรหิ ารอัตรากำลงั ท่ีมอี ยทู่ ้ังในสว่ นทเี่ ปน็ ขา้ ราชการ พนักงาน ราชการ และลูกจ้าง
ใหเ้ ป็นไปตามโครงสร้างการบรหิ ารและกรอบอตั รากำลงั รวมทั้งรองรบั กบั บทบาทภารกจิ ตามทกี่ ำหนดไวใ้ หเ้ กิด
ประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคเี ครือข่ายทุกภาคสว่ นในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใช้ ในการปรับปรุง
โครงสร้างพน้ื ฐานใหม้ ีความพร้อมสำหรบั ดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการ
ส่งเสริมการเรียนรู้สำหรบั ประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ
1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลใหม้ คี วามครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมยั และเชอื่ มโยงกนั ทวั่ ประเทศ อยา่ งเป็นระบบ
เพอ่ื ใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดสามารถนำไปใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือสำคัญในการบริหาร การวางแผนการปฏบิ ัติงาน
การตดิ ตามประเมนิ ผล รวมทง้ั จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกำกับ ควบคมุ และเรง่ รัดการเบกิ จ่าย
งบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
3) พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู รวมของนักศกึ ษา กศน. ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกนั ทวั่
ประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทันความตอ้ งการเพ่อื ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาใหก้ ับ ผู้เรยี นและการบรหิ าร
จดั การอยา่ งมีประสิทธิภาพ
4) สง่ เสรมิ ให้มกี ารจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศกึ ษาทุกระดบั รวมท้ังการศกึ ษาวจิ ัย เพ่อื สามารถ
นำมาใชใ้ นการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการดำเนนิ งานทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนพรอ้ มทง้ั
พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา
5) สรา้ งความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ น ท้งั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ท้งั ในประเทศและ - 22 -
ตา่ งประเทศ รวมทัง้ สง่ เสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มของชุมชนเพือ่ สร้างความเขา้ ใจ และให้เกดิ ความรว่ มมอื ในการ
ส่งเสรมิ สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรียนรใู้ ห้กับประชาชนอย่างมคี ุณภาพ
6) ส่งเสรมิ การใชร้ ะบบสำนกั งานอิเล็กทรอนิกส์ (e -office) ในการบริหารจดั การ เช่น ระบบ การลา ระบบ
สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใชห้ อ้ งประชุม เป็นตน้
7) พฒั นาและปรับระบบวธิ กี ารปฏิบตั ิราชการให้ทนั สมัย มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ
บรหิ ารจดั การบนข้อมลู และหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ม่งุ ผลสมั ฤทธม์ิ ีความโปรง่ ใส
6.4 การกำกับ นิเทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล
1) สร้างกลไกการก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยให้เชอื่ มโยงกบั หน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครือขา่ ยท้ังระบบ
2) ใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกย่ี วขอ้ งทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกำกับ ตดิ ตามและรายงานผลการ
นำนโยบายสู่การปฏิบตั ิ ใหส้ ามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรือ่ งไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
3) สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร และสือ่ อื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการกำกับ นิเทศ ติดตาม
ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีของ
หน่วยงาน สถานศกึ ษา เพ่ือการรายงานผลตามตวั ช้วี ัดในคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี ของสำนกั งาน กศน.
ให้ดำเนนิ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี ารและระยะเวลาท่กี ำหนด
5) ใหม้ กี ารเชอื่ มโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ทั้งหนว่ ยงานภายในและภายนอกองค์กร ตงั้ แตส่ ่วนกลาง
ภูมิภาค กลุม่ จังหวดั จงั หวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพือ่ ความเป็นเอกภาพในการใชข้ อ้ มลู และการพัฒนางาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565 - 23 -
ยทุ ธศาสตรห์ ้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง
วสิ ัยทศั น์
หอ้ งสมดุ ประชาชนเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ของชมุ ชน ให้บรกิ ารประชาชนทกุ กล่มุ เป้าหมาย เพื่อส่งเสรมิ
และสนับสนุนใหป้ ระชาชนรักการอ่านและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต อยา่ งมีคุณภาพตามนโยบายห้องสมุด 3 ดี
พันธกิจ
1. ใหบ้ รกิ ารหนงั สอื และสือ่ การเรียนรทู้ ีม่ ีคุณภาพ
2. ให้บริการในบรรยากาศท่ีดี เออื้ ตอ่ การเรียนรู้
3. ใหบ้ ริการสง่ เสรมิ การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
4. หอ้ งสมุดเป็นศูนยก์ ลางขอ้ มูลขา่ วสาร
5. ห้องสมุดเปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้ของชุมชน
6. การพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนใหเ้ ป็นศนู ย์กลางการจดั กจิ กรรมของชุมชน
7. การพฒั นาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ป็นเครอื ข่ายการเรียนรู้ชมุ ชน
เปา้ ประสงค์
1. พฒั นาห้องสมดุ ใหเ้ ปน็ ห้องสมดุ 3 ดี เพือ่ ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานห้องสมดุ ประชาชน
2. พัฒนาหอ้ งสมุดใหเ้ ป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการใหบ้ ริการ
3. พฒั นาเป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสำหรับประชาชน
4. พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ท่ีเชือ่ มโยงกับแหล่งเรียนร้อู ืน่ ๆ ในชมุ ชน
ยทุ ธศาสตร์
1. สง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย
2. สรา้ งบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ตอ่ การอา่ น การเรียนรู้ การคน้ คว้า และสะทอ้ นเอกลกั ษณ์
ของชมุ ชน
3. จดั บรกิ ารท่เี อือ้ อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศอยา่ งท่วั ถึงทุกกล่มุ เป้าหมาย
4. จัดกิจกรรมที่สง่ เสริม สนับสนนุ สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติและยุทธศาสตรข์ องสำนกั งาน กศน.
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
สว่ นท่ี 1 บรบิ ทอำเภอพานทอง
แผนท่ีอำเภอพานทอง
- 24 -
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
คำขวัญอำเภอพานทอง
เมืองอฐิ แกรง่ แหลง่ เกษตร เขตอตุ สาหกรรม คณุ ธรรมหมอพระ ศลิ ปะชา่ งทอง
- 25 -
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ประวัติอำเภอพานทอง
ยอ้ นหลังไปเมอ่ื ประมาณ 200 ปี เมือ่ กรุงศรีอยธุ ยาเสียแก่พม่า พระเจ้าตากสนิ ได้นำทหาร
ในบังคับบญั ชาตีฝา่ วงลอ้ มทหารพม่าหลบหนีจากกรงุ ศรอี ยธุ ยาได้ กวาดตอ้ นครวั เรอื นรายทางมาต้ังเมอื งและ
ทหารชั่วคราวข้นึ ท่ีตำบลโป่งตามุข เรียกว่า ตำบลโป่งตามขุ เปน็ เมืองควบคุมหวั เมืองชายทะเล มตี วั เมอื งตงั้ อยู่
บรเิ วณวัดโปง่ ตามขุ ตำบลหนองหงษ์ในปัจจุบนั
ในสมัยนัน้ พรานปา่ คนหน่งึ ชอื่ "ทอง" เปน็ ชาวอยุธยาได้อพยพครอบครวั และญาตพิ ี่นอ้ งหนพี ม่ามา
ตงั้ ภมู ลิ ำเนาทำมาหากนิ เล้ียงชีพในทางล่าสัตว์ อยู่ทีห่ มู่บา้ นเล็กๆ ริมคลองบางปะกง (ปจั จุบันเรียกคลองพานทอง)
ตรงระหว่างตำบลบา้ นเกา่ กับตำบลบางนางปัจจุบัน และพรอ้ มกันนนั้ นายพรานทอง ไดท้ ำหน้าทเ่ี ป็นจารชนสืบข่าว
ของขา้ ศึกถวายพระเจ้าตากสิน และได้รวบรวมกำลงั เข้ารว่ มกบั พระเจ้าตากสินกอบกูอ้ ิสรภาพขับไล่พมา่ จนกรุงศรี
อยธุ ยาเป็นเอกราชตามเดิม เม่ือเสร็จศึกสงครามแล้วนายพรานทองจงึ ได้สร้างวดั ขึน้ วดั หนง่ึ ณ ริมคลองสายเดียวกนั
ใหช้ ือ่ ว่า " วดั พรานทอง" เพ่ือเป็นการลา้ งบาปท่ีตนเองมีอาชพี ในทางลา่ สัตว์และไดอ้ พยพครอบครวั มาประกอบอาชีพ
เปน็ หลักเป็นฐานอยูใ่ นบริเวณใกล้วดั พานทองน้ี ชาวบ้านจึงเรียกหม่บู ้านออกเสยี งควบกล้ำ ร และ ล ไมช่ ัดเจน ฉะนั้น
คำว่า " วัดพรานทอง" "บ้านพรานทอง" และ "คลองพรานทอง" จงึ ไดเ้ พย้ี นเปน็ "วัดพานทอง" "บ้านพานทอง"และ
"คลองพานทอง" ดงั ท่ีเหน็ ในปัจจบุ นั
ตอ่ มา เมอื่ ประมาณ 70 ปี เศษมานี้ ประชากรไดเ้ พม่ิ จำนวนหนาแนน่ มากขนึ้ ซ่งึ สภาพพืน้ ท่ีของอำเภอ - 26 -
พานทองในสมัยนัน้ เปน็ ท่ีราบลมุ่ คลา้ ยทอ้ งกระทะ เหมาะแก่การทำไรน่ า มคี ลองธรรมชาติจากอำเภอพนัสนิคม
ผา่ นหมบู่ ้านทา่ ตะกดู หมู่บ้านพานทอง หมู่บา้ นบ้านเก่า ถึงแม่นำ้ บางปะกง ผลผลติ ทางการเกษตรจากอำเภอ
พนัสนคิ ม จะถูกขนส่งมาทางเรือในฤดูนำ้ หลาก มารวมจุดพักขนถ่ายและซ้ือขายทีห่ มู่บา้ นทา่ ตะกดู สว่ นหนา้ แลง้
ประชาชนส่งผลผลิตทางการเกษตรมาทางล้อเลอ่ื นซ่ึงมลี กั ษณะคล้ายเกวียน ชาวบ้านเรยี กวา่ "ตะกูด" และเรียกหมู่บา้ น
ท่เี ป็นชุมชนการนีว้ า่ "ทา่ ตะกดู " เมื่อมปี ระชากรมากข้นึ ก็เริม่ มโี จรผ้รู ายรบกวนทำให้ประชาชนเดือดร้อนและมคี วาม
จำเปน็ ทต่ี ้องติดตอ่ ราชการมากข้ึน ทางราชการจงึ ได้ตงั้ ทวี่ า่ การอำเภอขึ้น ณ ท่ีเดมิ และได้เปลี่ยนช่ืออำเภอใหมจ่ ากทา่
ตะกดู เปน็ "อำเภอพานทอง" จนถึง พ.ศ.2451 จึงได้ปลกู สรา้ งท่ีวา่ การอำเภอถาวรหลงั ใหม่ขึ้น ณ ทีเ่ ดมิ และได้เปลี่ยน
ชอื่ อำเภอใหม่จากท่าตะกูด เปน็ "อำเภอพานทอง" จนถงึ พ.ศ. 2481 ทางราชการเหน็ วา่ ท่วี ่าการอำเภออย่ไู กลชุมชน
ประกอบกับตวั อาคารทรดุ โทรมมากและต้ังอยใู่ นทีล่ มุ่ นำ้ ท่วมขังจึงได้ยา้ ยมา สร้างอาคารใหม่เป็นอาคารไมส้ องชน้ั ใน
ทดี่ นิ ของ นายเพิม่ ภกั ดี ผอู้ ุทิศท่ีดนิ ให้แก่ทางราชการ หลังจากน้นั อีก 56 ปี ทว่ี า่ การอำเภอซง่ึ เปน็ อาคารไม้ ได้ทรุด
โทรมไปตามกาลเวลา และคับแคบไม่สะดวกแก่การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีของเจ้าหนา้ ท่ีและประชาชนทต่ี ิดต่อราชการ ในปี พ.ศ.
2537 นายปรีชา พรหมสุรินทร์ นายอำเภอพานทอง ได้รบั งบประมาณจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จึงได้
สร้างท่วี า่ การอำเภอหลังใหม่เป็นอาคารคอนกรตี สองชัน้ ดงั ทเี่ หน็ เชน่ ทุกวนั น้ี ประชาชน
ในเขตอำเภอพานทองได้รว่ มกนั บรจิ าคเงินสร้างสนามคอนกรตี และปรบั ปรงุ โดยรอบทีว่ า่ การอำเภอ รวมท้งั จดั ซอ้ื วสั ดุ
อุปกรณต์ า่ งๆ และติดต้ังเคร่ืองปรบั อากาศทัง้ หลงั เพื่ออำนวยความสะดวกให้แกป่ ระชาชนได้อีกนานเทา่ นาน
อาคารทีว่ า่ การอำเภอหลังปัจจบุ นั นีไ้ ด้ทำพิธีวางศิลาฤกษ์เมือ่ วนั ที่ 21 ธันวาคม 2537 โดยนายกนก ยะสารวรรณ
ผวู้ ่าราชการจังหวัดชลบรุ ี เปน็ ประธานในพิธี อาคารไดส้ ร้างเสร็จและเรมิ่ ให้บรกิ ารประชาชนตั้งแต่วันท่ี 17 ธนั วาคม
2538 และไดก้ ระทำพธิ ีเปดิ ท่วี า่ การอำเภอพานทองในวนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2539 โดยมี ดร.ชวู งศ์ ฉายะบุตร
อธบิ ดีกรมการปกครอง เปน็ ประธานในพิธี ข้อมลู อา้ งอิงจาก http://www.amphoe.com
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ภมู ิประเทศอำเภอพานทอง
ทีต่ ั้งและอาณาเขต
อำเภอพานทอง ต้งั อยู่ในทางทศิ เหนอื ของจังหวดั ชลบรุ ี ห่างจากศาลากลางจงั หวัดชลบุรีประมาณ
22 กิโลเมตร ท่วี ่าการอำเภอพานทองตั้งอยทู่ ่ี หมู่ท่ี 4 ตำบลพานทอง สภาพพ้ืนท่ีสว่ นใหญเ่ ป็นทีร่ าบลมุ่
มลี กั ษณะเป็นท้องกะทะ ไม่มภี ูเขาเหมาะแก่การทำนา ปลกู พชื ไร่ เลีย้ งสัตว์ เช่น ก้งุ ปลา เป็นตน้
อำเภอพานทองมเี นื้อทที่ ัง้ สน้ิ 173.037 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 112,916 ไร่ มอี าณาเขตติดต่อ ดังน้ี
- ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางปะกง อำเภอบา้ นโพธ์ิ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
- ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อำเภอบา้ นบึง จังหวดั ชลบรุ ี
- ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
- ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อำเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี
- 27 -
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
การปกครองสว่ นภมู ิภาค
อำเภอพานทอง แบ่งเขตการปกครองออกตามพระราชบญั ญัตลิ กั ษณะปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. 2475
เป็น 11 ตำบล 76 หมบู่ ้าน ดงั น้ี
ตำบลพานทอง 10 หมูบ่ ้าน
ตำบลมาบโปง่ 10 หมู่บ้าน
ตำบลหนองตำลงึ 9 หมู่บา้ น
ตำบลบางนาง 9 หมบู่ ้าน
ตำบลบา้ นเกา่ 7 หมูบ่ ้าน
ตำบลเกาะลอย 6 หมู่บ้าน
ตำบลหนองหงษ์ 6 หมบู่ ้าน
ตำบลหนองกะขะ 5 หมบู่ ้าน
ตำบลโคกข้หี นอน 5 หมู่บา้ น
ตำบลหน้าประดู่ 5 หมู่บา้ น
ตำบลบางหัก 4 หมบู่ ้าน
มอี งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน จำนวน 10 แห่ง แบง่ เป็น
เทศบาลตำบล จำนวน 2 แหง่ - 28 -
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล จำนวน 8 แห่ง
ท้องที่อำเภอพานทองประกอบดว้ ยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 10 แหง่ ไดแ้ ก่
• เทศบาลตำบลพานทอง
ครอบคลุมพื้นทบี่ างสว่ นของตำบลพานทอง
• เทศบาลตำบลหนองตำลงึ
ครอบคลมุ พ้ืนท่ีตำบลหนองตำลึงทงั้ ตำบล หมูท่ ี่ 6,7 ตำบลมาบโป่ง และหมทู่ ่ี 1,2,4 ตำบลหนองกะขะ
• องค์การบริหารส่วนตำบลพานทองหนองกะขะ
ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี ำบลพานทอง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลพานทอง) และหมูท่ ี่ 3-5 ตำบลหนองกะขะ
• องค์การบริหารสว่ นตำบลมาบโปง่
ครอบคลุมพ้ืนท่ีหมู่ที่ 1-5,8-10 ตำบลมาบโป่ง
• องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลหนองหงษ์
ครอบคลุมพ้นื ที่ตำบลหนองหงษท์ ง้ั ตำบล
• องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลโคกขีห้ นอน
ครอบคลุมพ้ืนทต่ี ำบลโคกขี้หนอนทัง้ ตำบล
• องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบ้านเกา่
ครอบคลุมพื้นท่ตี ำบลบา้ นเก่าท้งั ตำบล
• องคก์ ารบริหารส่วนตำบลหนา้ ประดู่
ครอบคลุมพ้นื ทต่ี ำบลหนา้ ประดทู่ ั้งตำบล
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
• องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบางนาง
ครอบคลุมพน้ื ทตี่ ำบลบางนางท้ังตำบล
• องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเกาะลอยบางหกั
ครอบคลมุ พ้นื ที่ตำบลเกาะลอยและตำบลบางหักทัง้ ตำบล
ขอ้ มูลประชากร
จำนวนประชากรในอำเภอพานทอง 62,593 คน (ข้อมูล ปี 2558)
พื้นท่ี 173.037 ตารางกิโลเมตร
ความหนาแนน่ 361.80 คน/ตร.กม.
สถานที่ท่องเทยี่ ว
อำเภอพานทอง มีสถานท่ีท่ีน่าสนใจ และแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในอำเภอพานทองมี ดังน้ี
1. วัดใหมย่ ุคคลราษฎรสามัคคี หรือ วัดหนองฝาแฝด ตัง้ อยทู่ ่ี หมทู่ ี่ 4ตำบลเกาะลอย วัดน้ใี นอดีต
ที่ผา่ นมามชี ่อื เสียงในการรกั ษาผูป้ ว่ ยเก่ียวกับกระดกู หกั ตามสว่ นต่างๆของร่างกาย เช่น แขน ขา ข้อมือหกั
อัมพฤกษ์ และอัมพาต ตามวิธีโบราณ คอื การนวดและเหยียบด้วยน้ำมนั ซงึ่ มชี อื่ เสียงมากเปน็ ที่รู้จกั โดยท่ัวไป
และรกั ษาโดยพระสงฆ์ ทเ่ี รียกทัว่ ไปวา่ "หมอพระ" (คำขวัญอำเภอพานทองที่วา่ "คุณธรรมหมอพระ") และปจั จบุ นั - 29 -
สถานท่ีแห่งนีไ้ ดป้ รับปรงุ พัฒนาพืน้ ที่บริเวณในวดั โดยมีสระน้ำพญานาคขนาดใหญ่ มกี ารล่องแพเพื่อข้ามไปกราบไหว้
พระพุทธรปู
2. วัดชลธีบญุ ญาวาส (วัดบางหัก) ต้งั อยหู่ มู่ที่ 1 ตำบลบางหัก วัดชลธีบญุ ญาวาส หรอื วัดบางหกั
เปน็ วดั ที่มอี โุ บสถสวยงามลวดลายงามแบบลายไทยดั้งเดมิ สูงสง่างามกวา่ โบสถท์ ่ีอนื่ และบรเิ วณท่ีต้ังวดั บางหักนั้น
อยู่ตดิ คลองแม่นำ้ บางอ้อมใหญ่ ซ่งึ เปน็ คลองท่ีแยกออกมาจากแม่น้ำบางปะกง สามารถล่องเรอื ผ่านวดั เขาดนิ
เพ่อื ออกไปส่แู ม่นำ้ บางปะกง จนถงึ ปากอา่ วไทยได้ และในระหว่างทางยังมีปา่ ธรรมชาติ ปา่ ชายเลน เชน่ ปา่ จาก
และป่าแสม ซึ่งเป็นลักษณะการท่องเท่ยี วเชิงนเิ วศน์
3. โบสถค์ ริสต์ ตัง้ อยู่หมูท่ ่ี 1 ตำบลโคกขห้ี นอน เป็นโบสถ์หลังเดียวในอำเภอพานทองเป็นท่ที ำพธิ ี
ทางศาสนาของชาวบ้านทนี่ บั ถือศาสนาคริสตน์ กิ ายโรมนั คาทอลิก
4. การทำทองโบราณ "ทองพานทอง" ตั้งอย่ใู นเขตเทศบาลพานทอง มีการทำทองรปู พรรณ สิง่ ประดษิ ฐ์
ตา่ งๆ ด้วยทองคำที่มีคุณภาพสงู โดยใช้ชา่ งทองในการประดษิ ฐท์ องคำลายต่างๆ ดว้ ยมอื มีลวดลายที่งดงามและฝีมอื
เปน็ ทย่ี อมรบั และมีช่ือเสียงมากเปน็ ท่ีรูจ้ กั ทวั่ ประเทศในช่ือของ "ทองพานทอง" (คำขวัญอำเภอพานทองทว่ี ่า
"ศิลปะช่างทอง") มรี า้ นทองที่มชี อ่ื เสยี งและเปน็ ท่ีรู้จกั คอื รา้ นทอง "เจ๊ไน"๊ และร้านทอง "รงุ่ สที อง"
5. อิฐแกร่งพานทอง การเผาอิฐแดง หรือทเี่ รยี กกันว่า อฐิ มอญ ซงึ่ มีชอื่ เสียงและเปน็ ท่รี จู้ ักท่ัวไปว่า
เป็นอิฐที่มีคุณภาพแข็งแกร่ง เพราะมวี ธิ กี ารเผาโดยใชเ้ ตาเผาอฐิ และใช้ความรอ้ นสูงทำใหอ้ ิฐมคี วามแขง็ แกรง่ ทนทานซึง่
ไม่เหมอื นท่อี ื่น สถานทผ่ี ลิตและจำหน่าย ณ หมู่ที่ 2 หมู่ท่ี 3 หมทู่ ่ี 10 ตำบลพานทอง และหมทู่ ่ี 4
ตำบลหนองกะขะ (คำขวญั อำเภอพานทองทีว่ า่ เมืองอิฐแกร่ง)
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
สถานบรกิ ารภาครัฐ
1. โรงเรยี นพานทองสภาชนูปถัมภ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845-1120
2. โรงเรียนพานทอง (ตน้ สน) หมายเลขโทรศัพท์ 0-3820-6000
3. วทิ ยาลัยการอาชีพพานทอง หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-2271
4. ศนู ย์การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั ราชภัฎราชนครินทร์ หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-2271
5. ทว่ี า่ การอำเภอพานทอง หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845-1110,0-3845-1982
6. สถานตี ำรวจอำเภอพานทอง หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-1112
7. สำนักงานทีด่ นิ หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-2001
8. สำนักงานสรรพากร หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845- 1430
9. สำนักงานสัสดี หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-2001
10. สำนักงานเกษตร หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-1106
11. สำนกั งานพัฒนาชุมชน หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-1481
12. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-1038
13. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพานทอง หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845-1907
14. สำนักงานวฒั นธรรมอำเภอ หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845-2001 - 30 -
15. โรงพยาบาลพานทอง หมายเลขโทรศัพท์ 0-3845-4712
16. ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง หมายเลขโทรศพั ท์ 0-3845-1907
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ประวัติความเป็นมาหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง
หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ต้งั อยู่ท่ี หมู่ที่ 4 ถนนพานทอง-หัวไผ่ อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี
โทรศัพท/์ โทรสาร 038-451907
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองได้เรมิ่ ทำการเปดิ มาตั้งแต่ พ.ศ.2500 โดยเช่าห้องแถวบริเวณตลาดเกา่ ต่อมา
เม่อื พ.ศ.2510 ย้ายมาอยู่ช้ันล่างของอาคารทีว่ า่ การอำเภอพานทอง ขนึ้ อยู่กับสำนักงานศกึ ษาธกิ ารอำเภอ หลงั จาก
น้ันมคี รูจากองค์การบริหารสว่ นจังหวัดมาชว่ ยทำหนา้ ท่ีบรรณารักษ์พร้อมกับย้ายห้องสมดุ มาเปดิ ทำการท่ีหอประชมุ ของ
อำเภอ(ศาลาประชาคม) ทำการเปน็ หอ้ งสมดุ ประชาชนประจำอำเภอและไดเ้ ปดิ ทำการอยูท่ ่นี ่นั
ต้ังแต่ ปี พ.ศ.2527 จนถึง พ.ศ.2535
จนถึงปี พ.ศ.2535 กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น ไดใ้ ห้งบประมาณสร้างห้องสมุดใหม่(หลังปจั จุบัน) ระหว่าง
ก่อสร้างได้ใช้อาคารห้องประชุมสำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอพานทองเป็นท่ีทำการชั่วคราว) เริ่มเปิดทำการได้
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2536 มาจนถงึ ปัจจุบนั (ข้อมลู : คณุ เบญจมาภรณ์ พันธุ์คงช่ืน)
- 31 -
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
การบรหิ ารงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทองมีรูปแบบการบรหิ ารจัดการท่ีสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ หวั ข้อ ดงั น้ี
- เขา้ ถึงกลุ่มเป้าหมาย - 32 -
- จดั กจิ กรรมท่หี ลากหลาย
- พัฒนาแหลง่ เรยี นรใู้ ห้มกี ิจกรรมทีห่ ลากหลาย
- ผนึกกำลังภาคีเครือข่าย
- บริการท่ีเป่ยี มไปด้วยคุณภาพ
การใหบ้ รกิ ารของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง
ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทองมีรปู แบบการให้บรกิ ารดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้
- การให้บรกิ ารยืม-คืนหนังสอื
- การใหบ้ ริการยืม-คนื สอื่ ซีดี
- การให้บรกิ ารสบื ค้นสารสนเทศจากอินเทอรเ์ น็ต (Internet)
- ใหค้ วามรดู้ ้านคอมพิวเตอร์ โดยมีหอ้ งปฏิบตั ิการ Learning Center ไวใ้ หบ้ ริการ
- สถานทีจ่ ัดกิจกรรม ประชมุ อบรม
- บรกิ ารห้องสมุดนอกเวลา 24 ชวั่ โมง
- หอ้ ง Coffee Library บรกิ ารฟรสี ำหรับสมาชกิ และผ้มู าใช้บริการ
โดยหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทองเปิดใหบ้ รกิ ารทุกวัน เว้นวนั หยดุ นักขตั ฤกษ์เวลา ตั้งแต่เวลา
08.30 น.–16.30 น.
ใหบ้ ริการยืม-คืน หนังสอื และส่อื ต่างๆ เชน่ วซี ีดี ดวี ีดี วีดโี อ ฯลฯ บริการสืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตและ
บรกิ ารกาแฟฟรโี ดยไม่เสยี คา่ ใช้จ่าย โดยสมาชิกห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง สามารถยืมหนังสอื และสอื่ ต่างๆ
กลับบ้านได้
การเปน็ สมาชกิ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ใช้หลกั ฐานการสมัคร คือ
- สำเนาบัตรประชาชน จำนวน 1 ฉบบั
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ส่วนท่ี 2 แผนงานโครงการปีงบประมาณ 2565
แผนงานโครงการ/กจิ กรรมของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ในปงี บประมาณ 2565
ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ไดจ้ ัดทำแผนการดำเนินงานการจดั โครงการในปงี บประมาณ 2565 - 33 -
ให้สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ของชาติ ยุทธศาสตร์ของสำนกั งาน กศน.และของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ดงั นี้
1. โครงการห้องสมดุ เคลือ่ นที่สำหรบั ชาวตลาด
กิจกรรมในโครงการ
1. กจิ กรรมจัดทำตู้หนงั สือ ให้บริการยมื คืนหนงั สือในตลาด
2. กจิ กรรมรบั บรจิ าคหนังสอื
3. กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสริมการอ่าน
2. โครงการ “2 เมษายน ตามรอยเจ้าฟา้ สู่เดอื นรกั การอา่ น”
กิจกรรมในโครงการ
1. นิทรรศการเทิดพระเกยี รตสิ มเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้าฯ
2. กิจกรรมลงนามถวายพระพร/ลงนามถวายพระพรออนไลน์
3. กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรแู้ บบออนไลน์
- เรอื่ ง 2 เมษายน วันรกั การอ่าน
3. โครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรแู้ บบออนไลน์
กจิ กรรมในโครงการ
1. จดั ทำแบบทดสอบออนไลน์ เดือนละ 1 เรือ่ ง
4. โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนเคลอื่ นท่ี
กิจกรรมในโครงการ
1. พัฒนาหอ้ งสมุดโรงเรียน จำนวน 6 แหง่
2. พัฒนาบ้านหนงั สอื ชุมชน จำนวน 2 แห่ง
5. โครงการจัดนทิ รรศการเพอื่ สง่ เสริมการอ่าน
กิจกรรมในโครงการ
1. จัดนิทรรศการ เดอื นละ 1 เรอ่ื ง
2. กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านภายในหอ้ งสมดุ เดอื นละ 1 เรือ่ ง
6. โครงการสปั ดาห์วนั ทีร่ ะลึกสากลแหง่ การรูห้ นงั สอื
กิจกรรมในโครงการ
1. จดั นทิ รรศการวนั ที่ระลกึ สากลแหง่ การรหู้ นงั สือ
2. กจิ กรรมเรยี นรแู้ ละทำแบบทดสอบออนไลน์ เรอื่ ง “8 กันยายนวนั ทร่ี ะลกึ สากลแหง่ การร้หู นงั สอื
และวนั การศึกษานอกโรงเรียน”
3 พธิ ีมอบเกียรตบิ ตั รใหก้ ับ นักเรียน นักศกึ ษา สมาชิกห้องสมดุ และเครือขา่ ยทม่ี ีผลงานดา้ นส่งเสรมิ
การอา่ นและสนับสนุนกิจกรรมของ กศน.อำเภอพานทอง
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
1. โครงการห้องสมุดเคลอ่ื นทส่ี ำหรบั ชาวตลาด
1. ช่ือโครงการ หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่สี ำหรบั ชาวตลาด
2. สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ภารกิจต่อเนือ่ ง
ข้อ 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ทีม่ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้ือตอ่ การอ่านและพัฒนาศกั ยภาพการ
เรียนร้ใู หเ้ กิดข้ึนในสงั คมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกวา้ งขวางและทวั่ ถึง เชน่ การพัฒนา กศน. ตำบล ห้องสมุดประชาชนทกุ
แหง่ ใหม้ กี ารบริการท่ที นั สมัย สง่ เสริมและสนบั สนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอา่ น
จัดหนว่ ยบรกิ ารห้องสมดุ เคลอื่ นที่ หอ้ งสมดุ ชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณเ์ พือ่ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและ
การเรียนรทู้ หี่ ลากหลายให้บรกิ ารกับประชาชนในพน้ื ที่ต่าง ๆ อย่างทัว่ ถงึ สมำ่ เสมอ รวมทัง้ เสริมสร้างความพร้อมใน
ด้านบุคลากร สอื่ อปุ กรณ์เพ่อื สนับสนนุ การอา่ น และการจดั กจิ กรรมเพ่อื ส่งเสรมิ การอ่านอยา่ งหลากหลายรูปแบบ
สอดคลอ้ งกับ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั - 34 -
หัวข้อท่ี 1.7 ผู้รบั บรกิ ารได้รบั ความรู้และประสบการณจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม โครงการศึกษาตามอธั ยาศยั
หวั ขอ้ ท่ี 2.9 คุณภาพกระบวนการการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. หลกั การและเหตผุ ล
จากการประชมุ เพื่อหาแนวทางการดำเนนิ งานและขอ้ ส่งั การของเลขาธิการ กศน. ในการประชมุ ชแ้ี จง
และสรา้ งความเข้าใจแนวทางการดำเนนิ งานของ กศน. เมื่อวันท่ี 11 สิงหาคม 2559 เกี่ยวกบั แผนการสง่ เสริม
นสิ ัยรักการอ่านของสำนักงาน กศน. วา่ ในปี 2560 มอบให้สถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้
ทำหนงั สอื ถงึ ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวัดทกุ แห่ง แจง้ ให้จัดทำหอ้ งสมุดในตลาดสด ซงึ่ เป็นรบั สงั่ ของ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ภายใตช้ อ่ื โครงการ หอ้ งสมุดเคลื่อนทส่ี ำหรบั ชาวตลาด
ในโครงการพระราชดำริ โดยจดั ทำเป็นตหู้ นังสอื บรกิ ารหนงั สือและบรกิ ารยมื คืนหนังสือในตลาดโดยขอความรว่ มมือกับ
เจา้ ของตลาดเพอ่ื สร้างการมสี ่วนรว่ มและให้นำหนังสือทไ่ี ดจ้ ากการรับบรจิ าคโครงการบรรณสญั จรมาไว้ในต้หู นังสอื
จากเป้าหมายการดำเนินงานของสำนักงาน กศน.ข้างต้น กศน.อำเภอพานทองจงึ ไดจ้ ดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั
โดยเนน้ ใหห้ ้องสมุดประชาชนจัดกิจกรรมท่สี ง่ เสริมใหป้ ระชาชนรักการอา่ น รกั การเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมตา่ งๆ ท้งั ภายใน
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองและกิจกรรมเคลอ่ื นทีส่ ชู่ มุ ชนในทุกตำบลของอำเภอพานทองเพื่อใหก้ ารสง่ เสริมการ
อา่ นไดเ้ ขา้ ถึงประชาชนในระดับชุมชน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ กลมุ่ เป้าหมายชาวตลาด และเพื่อใหส้ อดคล้องและรองรบั การ
ดำเนนิ งานที่จะมกี ารส่งเสรมิ การอ่านให้ครอบคลุมทุกพ้นื ท่ใี นจงั หวดั ชลบุรี
4. วตั ถุประสงค์
เพือ่ สง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายพอ่ ค้า แม่ค้าและประชาชนทีม่ าจบั จ่ายในตลาด ได้ใช้
เวลาว่างดว้ ยการอา่ นหนงั สอื และมีทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ การอ่านหนังสือ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
6. เป้าหมาย
ด้านปริมาณ
- จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านในตลาด จำนวน 4 แห่ง
ด้านคุณภาพ
- พ่อคา้ แม่คา้ ในตลาดใช้วลาว่างในการอ่านหนังสือเพ่ิมขึ้นจากเดมิ
7. กจิ กรรมการดำเนนิ งาน
- กจิ กรรมจดั ทำตหู้ นังสอื ให้บริการยืมคนื หนังสอื ในตลาด
- กจิ กรรมรับบริจาคหนังสอื
- กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการอา่ นรปู แบบต่าง ๆ
8. ระยะเวลาดำเนินการ
เดือนตุลาคม 2564 – กนั ยายน 2565
9. วธิ ีการดำเนินงาน วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ
กจิ กรรมหลกั ตุลาคม 2564
เพ่อื ขออนุมัติ ดำเนนิ งาน - 35 -
1. จัดทำโครงการ หลกั การ/ มกราคม 2565
ขออนมุ ัตโิ ครงการและ งบประมาณ ห้องสมดุ
การประชาสมั พันธ์ มกราคม 2565
เพื่อกำหนด ประชาชน
2. ตง้ั คณะกรรมการ/ ผู้รบั ผดิ ชอบ มกราคม 2565
คณะทำงาน อำเภอ -
เพอ่ื ดำเนินงาน เพือ่ กำหนด
กรอบ รปู แบบ พานทอง กนั ยายน 2565
3. ประชมุ และวธิ ีการ กันยายน 2565
คณะกรรมการ ดำเนินงาน 1. บรรณารกั ษห์ อ้ งสมดุ
คณะทำงาน เพ่ือให้ความรู้
แกป่ ระชาชน ประชาชนอำเภอ
4. ดำเนนิ การ
พานทอง
2. ครู กศน.อำเภอ
พานทอง
คณะกรรมการ/
คณะทำงาน
ประชาชนท่วั ไป
6. สรุปผลการ เพอ่ื สรปุ ผลการ
ดำเนนิ งานและจดั ทำ ดำเนินการจัด
เอกสาร กจิ กรรม
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
10. งบประมาณ
จากเงนิ งบประมาณ ปี 2565 งบดำเนินงาน ผลผลิตที่ 5 ผ้รู บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั
11. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
นางสาวสชุ าดา ตรงกบั ใจ
12. หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง
- ท่ีว่าการอำเภอพานทอง
- เจา้ ของกิจการตลาดสดในพืน้ ที่อำเภอพานทอง
13. โครงการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
-
14. ดชั นีชวี้ ัดผลสำเร็จของโครงการ - 36 -
14.1 ตัวชีว้ ดั ผลผลติ (Outputs)
- สามารถจดั ห้องสมดุ เคลอื่ นท่ีสำหรบั ชาวตลาดได้ 4 ครง้ั ในปีงบประมาณ 2565
14.2 ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ (Outcomes)
- ผรู้ ับบริการมีความพงึ พอใจในกจิ กรรมอย่างนอ้ ยร้อยละ 80
15. การติดตามและประเมินผล
- จากจำนวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
- แบบสอบถาม
16. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
พ่อค้า แม่ค้าและประชาชนทม่ี าจบั จา่ ยในตลาดเข้าร่วมกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน และมีทัศนคติทด่ี ตี ่อการอ่าน
หนังสอื
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
2. โครงการ “2 เมษายน ตามรอยเจ้าฟา้ สู่เดือนรกั การอ่าน”
1. ชื่อโครงการ “2 เมษายน ตามรอยเจ้าฟ้าสู่เดือนรกั การอ่าน”
2. สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ขอ้ 4 บรู ณาการความรว่ มมอื ในการสง่ เสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมี
คุณภาพ
4.1 ความรว่ มมือกบั เครอื ขา่ ยท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ รวมทงั้ สง่ เสริม
สนบั สนนุ การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน อาทิ การส่งเสรมิ อาชีพท่เี ป็นอัตลกั ษณแ์ ละบรบิ ทของชุมชนส่งเสรมิ การตลาดและ
ขยายช่องทางการจำหนา่ ยเพือ่ ยกระดับผลิตภัณฑ/์ สนิ ค้า กศน.
4.2 บูรณาการความรว่ มมือกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ทัง้ ในส่วนกลางและภมู ิภาค
ภารกิจต่อเน่อื ง
ข้อ 6 ด้านบคุ ลากรระบบการบริหารจัดการ และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
6.3 สร้างความร่วมมือของภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วนท้งั ภาครัฐ กาคเอกชน ประชาสงั คมทงั้ ในประเทศและ
ตา่ งประเทศ รวมทัง้ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของชุมชนเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ และให้เกดิ ความร่วมมือในการ
สง่ เสริม สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ - 37 -
สอดคลอ้ งกับ มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
หัวขอ้ ท่ี 1.3 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณและ
แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ร่วมกับผูอ้ นื่
หัวข้อท่ี 1.4 ผู้เรยี นขัน้ พื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชน้ิ งานและนวัตกรรม
หวั ขอ้ ที่ 1.8 ผู้เรียนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานนำความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานทีไ่ ด้รับไปใช้หรอื ประยกุ ต์ใช้
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
หัวขอ้ ที่ 2.3 ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา
หวั ขอ้ ท่ี 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทีเ่ น้นการมสี ่วนร่วม
หวั ขอ้ ท่ี 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
หัวขอ้ ท่ี 3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
หัวข้อท่ี 3.7 การส่งเสริม สนับสนนุ ภาคีเครือข่ายใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
หวั ขอ้ ท่ี 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3. หลักการและเหตุผล
“วันรกั การอ่าน” เริ่มข้ึนในปี พ.ศ.2552 โดยคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพอ่ื เสริมสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
ได้เล็งเหน็ ความสำคัญของการอ่านหนังสือ จึงได้กำหนดใหว้ ันที่ 2 เมษายนของทกุ ปซี ึง่ เป็นวนั คล้ายวนั พระราชสมภพ
ของสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผู้ทรงมีคณุ ูปการตอ่ วงการ
หนงั สอื ไทย พระราชกรณียกจิ ของพระองค์ในการพัฒนาประเทศนั้นต่อเนือ่ งยาวนานในทกุ ดา้ น ทรงเปน็ ม่งิ ขวัญสถิต
กลางใจพสกนิกรทุกหมเู่ หล่า คณะรัฐมนตรเี ห็นชอบใหว้ ันท่ี 2 เมษายน เปน็ วนั รักการอ่าน จากพระจรยิ าวตั รและความ
สนพระทยั ในการอา่ น การจดบันทกึ การเขียนและการเรียนรู้ บังเกดิ เป็นพระราชนพิ นธจ์ ำนวนมาก ท่ีเป็นแบบอย่างอนั
งดงามใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนไทย ดังนัน้ วนั ที่ 2 เมษาของทกุ ปีจงึ เป็นวนั สำคญั ที่กระทรวงศกึ ษาธิการได้กำหนดขนึ้ เพือ่
สง่ เสรมิ ให้เยาวชนและประชาชนทวั่ ไปรกั และให้ความสำคัญกับการอา่ นหนังสือ เพราะนอกจากการอา่ นหนงั สือจะได้
ความสนุกสนานเพลดิ เพลินแล้วยงั สามารถสร้างเสริมความรู้ ความคิด จินตนาการ และพัฒนาอาชีพของตนเองได้
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง จงึ ได้จดั กิจกรรมข้ึนเพ่อื ใช้โอกาสอนั เปน็ ม่งิ มหามงคลน้จี ัดกิจกรรมเพอ่ื
สง่ เสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีนสิ ยั รักการอ่าน แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง เกิดการใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี นตลอดชวี ิต และเพื่อ
ประชาสัมพนั ธ์แหล่งเรียนรู้ หอ้ งสมุดประชาชนให้เป็นท่รี จู้ ักมากยิง่ ข้ึน
4. วัตถปุ ระสงค์
เพอื่ สง่ เสริมให้ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ มนี สิ ัยรักการอ่าน รู้จกั แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง เกิดการใฝร่ ู้ใฝ่เรียนตลอด - 38 -
ชีวติ และเพ่ือประชาสัมพันธ์แหลง่ เรยี นรู้ ห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นท่ีรจู้ ักมากยงิ่ ขึ้น
5. เป้าหมาย
5.1 เชิงปรมิ าณ
5.1.1 สมาชิกและผู้ใชบ้ รกิ ารของห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทองรว่ มกจิ กรรมตามโครงการ
5.1.2 บคุ ลากร กศน.อำเอพานทองทุกคนรว่ มกิจกรรมตามโครงการ
5.2 เชงิ คณุ ภาพ
5.2.1 สมาชกิ และผู้ใชบ้ ริการของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ร้อยละ 80 มีนิสัยรกั การอา่ น การ
เรียนรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ
5.2.2 ผบู้ ริหารและบุคลากร กศน.อำเอพานทองร้อยละ 90 มีนสิ ัยรักการอา่ น การเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
6. กิจกรรมการดำเนนิ งาน
กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
เปา้ หมาย ดำเนนิ การ 20-25 .-
ม.ี ค.65
1.ข้นั วางแผน (Plan) เพื่อวางแผน บคุ ลากร 17 คน ห้องสมุด
- วางแผนการปฏิบัติ การดำเนนิ งาน กศน.อำเภอ ประชาชน
- แต่งตง้ั คณะทำงาน และจดั กจิ กรรม พานทอง อำเภอ
- จดั ทำโครงการและขอ การเรยี นรู้ พานทอง
อนุมัติโครงการ
2.ขั้นดำเนินงาน (Do) เพ่ือจัดกิจกรรม คณะกรรมการ 600 คน ห้องสมดุ 1-31 -
เม.ย.65
ให้ผู้รว่ ม สถานศึกษา, ประชาชน
โครงการได้มี บุคลากร อำเภอ
นสิ ัยรกั การอา่ น กศน.อำเภอ พานทอง
รจู้ ักแสวงหา พานทอง,
ความร้ดู ว้ ย เครอื ขา่ ย ,
ตนเองเกดิ การ สมาชิกและ
ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ผใู้ ชบ้ รกิ าร - 39 -
ตลอดชวี ิตและ
เพือ่ ประชา
สัมพันธ์
ห้องสมดุ
ประชาชนให้
เปน็ ท่ีรู้จัก
3.ขน้ั ตรวจสอบ -เพ่อื ประเมิน บคุ ลากร 17 คน ห้องสมุด 1-31 -
เม.ย.65
(Check) ความเปน็ ไปได้ กศน.อำเภอ ประชาชน
-การประเมนิ ผลกอ่ น ของโครงการ พานทอง อำเภอ
ดำเนนิ โครงการ -เพ่อื ประเมนิ พานทอง
-การประเมินผล ความก้าวหนา้
ระหว่างดำเนินโครงการ ของโครงการ
-การประเมินผลเมือ่ -เพอื่ ประเมนิ
เสรจ็ สิ้นโครงการ ผลสำเร็จของ
โครงการ
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย พ้นื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
เปา้ หมาย ดำเนนิ การ
4.ขนั้ ปรับปรุงแกไ้ ข เพอื่ ปรบั ปรุง บุคลากร 1-31 -
(Action) แกไ้ ขและ กศน.อำเภอ 17 คน หอ้ งสมุด เม.ย.65
-รวบรวมขอ้ มูล สรปุ ผล พฒั นาการ พานทอง ประชาชน
และจดั ทำรายงานฯ ดำเนนิ โครงการ อำเภอ
-ประชมุ คณะทำงานเพื่อ พานทอง
นำข้อมลู จากงานการ
ประเมนิ โครงการไปใช้ 31 เม.ย.65
ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และ
พฒั นาการดำเนิน
โครงการ
7. งบประมาณ
-
8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ - 40 -
กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ม.ค.65-ม.ี ค.65) (เม.ย.65-ม.ิ ย.65) (ก.ค.65-ก.ย.65)
(ต.ค.63-ธ.ค.64)
- - -
โครงการพัฒนา -
ห้องสมุดประชาชน
เคล่ือนท่ี
9. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ
9.1 นางสาวระพพี ร วงคม์ น ครูผชู้ ว่ ย หัวหนา้ งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย
9.2 นางสาวสุชาดา ตรงกบั ใจ บรรณารักษ์
10. เครือข่าย/หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
-
11. โครงการท่เี กยี่ วขอ้ ง
-
12. ดชั นชี วี้ ัดความสำเร็จของกจิ กรรม
ตัวชี้วดั ผลผลิต
มผี ูร้ ว่ มโครงการไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์
ผู้ร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับดขี ึ้นไป รอ้ ยละ 80
13. การติดตามและประเมนิ กิจกรรม
13.1 แบบติดตามผลการดำเนนิ งาน
13.2 แบบสอบถาม/แบบสมั ภาษณ์ผู้เข้ารว่ มโครงการ
14. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ
ผูร้ ว่ มกจิ กรรมโครงการฯ มีนสิ ยั รักการอ่าน ร้จู กั แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดการใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียนตลอดชวี ติ และ
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองได้เป็นทร่ี ูจ้ ักของประชาชนมากยิ่งข้นึ
- 41 -
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
3. โครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรแู้ บบออนไลน์
1. ชือ่ โครงการ สง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรูแ้ บบออนไลน์
2. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ขอ้ 4 บรู ณาการความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนร้ใู ห้กับประชาชนอย่างมี
คุณภาพ
4.1 ความร่วมมือกบั เครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คมและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ รวมทัง้ สง่ เสริม
สนบั สนนุ การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน อาทิ การส่งเสรมิ อาชีพท่ีเป็นอัตลกั ษณแ์ ละบริบทของชมุ ชนส่งเสริมการตลาดและ
ขยายชอ่ งทางการจำหน่ายเพอื่ ยกระดับผลิตภัณฑ/์ สินคา้ กศน.
4.2 บรู ณาการความร่วมมอื กับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ท้งั ในสว่ นกลางและภมู ภิ าค
ภารกจิ ตอ่ เน่ือง
ขอ้ 6 ดา้ นบุคลากรระบบการบริหารจดั การ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
6.3 สร้างความรว่ มมอื ของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วนทงั้ ภาครฐั กาคเอกชน ประชาสงั คมทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ รวมทงั้ สง่ เสริมและสนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของชุมชนเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ และให้เกิดความรว่ มมือในการ
สง่ เสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ - 42 -
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
หวั ขอ้ ที่ 1.3 ผู้เรียนการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณและ
แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ รว่ มกบั ผ้อู น่ื
หวั ขอ้ ท่ี 1.4 ผู้เรียนขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์งาน ชน้ิ งานและนวัตกรรม
หวั ข้อที่ 1.8 ผู้เรยี นจบการศึกษาข้ันพ้นื ฐานนำความรู้ ทกั ษะพื้นฐานทีไ่ ด้รบั ไปใชห้ รือประยุกตใ์ ช้
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
หัวข้อที่ 2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา
หัวข้อท่ี 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ น้นการมีส่วนรว่ ม
หัวข้อที่ 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
หัวข้อที่ 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
หวั ข้อท่ี 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนุนภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
หัวขอ้ ท่ี 3.8 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
3. หลกั การและเหตุผล
ตามนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมีเป้าประสงค์
ใหป้ ระชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมใหม้ นี ิสยั รักการอ่าน เพ่ือการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองแตเ่ นอ่ื งด้วยสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) กระทรวงศึกษาธิการจึงมปี ระกาศปิดสถานศึกษา และ
หอ้ งสมดุ ประชาชน เพอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพของประชาชน ตลอดจนปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กดิ การแพร่ระบาดของโรคใน
วงกว้าง ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองจึงปรับเปล่ียนรปู แบบการให้บริการและจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน เพ่ือให้
งานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน. อำเภอพานทองดำเนนิ งานไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ศูนย์การ
ศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพานทอง โดยห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง จงึ กำหนดจดั
โครงการส่งเสรมิ การอา่ นและการเรยี นรูแ้ บบออนไลน์ประจำปีงบประมาณ 2565 เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ประชาชน มนี สิ ยั รกั
การอ่าน และการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนื่อง ตลอดชีวิต ผ่านส่ือออนไลน์ เพ่ือส่งเสรมิ ให้ประชาชนไดร้ ับขา่ วสาร
ความรู้จากสื่อออนไลน์แมใ้ นยามสถานการณ์ไมเ่ ออื้ อำนวย
4. วัตถุประสงค์ - 43 -
4.1 เพอ่ื ส่งเสริมใหป้ ระชาชน มนี ิสยั รักการอา่ น และการเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิตผ่าน
ส่ือออนไลน์
4.2 เพื่อส่งเสรมิ ให้ประชาชนได้รับข่าวสาร ความรู้จากสอ่ื ออนไลน์
4.3 เพ่ือสรา้ งโอกาสและชอ่ งทางการศึกษาให้กับประชาชนในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
5. เปา้ หมาย
5.1 เชงิ ปรมิ าณ
5.1.1 สมาชกิ และผู้ใช้บริการของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองร่วมกจิ กรรมตามโครงการ
5.1.2 บคุ ลากร กศน.อำเอพานทองทุกคนร่วมกิจกรรมตามโครงการ
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 สมาชกิ และผู้ใช้บรกิ ารของห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ร้อยละ 80 มนี สิ ยั รักการอา่ น การ
เรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ
5.2.2 สมาชกิ และผูใ้ ชบ้ รกิ ารของห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง มโี อกาสและช่องทางการศกึ ษาด้วย
ตนเองในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
6. กจิ กรรมการดำเนินงาน
กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย พ้นื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
17 คน ดำเนนิ การ ต.ค.64 .-
เปา้ หมาย หอ้ งสมดุ
ประชาชน -
1.ขั้นวางแผน (Plan) เพ่ือวางแผน บุคลากร อำเภอ พ.ย.64
พานทอง ต.ค.64 -
- วางแผนการปฏบิ ัติ การดำเนินงาน กศน.อำเภอ
-
- แต่งตงั้ คณะทำงาน และจดั กิจกรรม พานทอง ก.ย.65
- จดั ทำโครงการและ การเรยี นรู้ ก.ย.65 -
ขออนุมตั โิ ครงการ
2.ขน้ั ดำเนินงาน (Do) เพือ่ จดั กิจกรรม สมาชกิ และ 1,000 คน ห้องสมดุ
ประชาชน
ให้ผูร้ ว่ ม ผู้ใชบ้ รกิ าร อำเภอ
พานทอง
โครงการได้มี
นสิ ัยรักการอ่าน
ร้จู กั แสวงหา
ความร้ดู ว้ ย
ตนเองเกิดการ - 44 -
ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น
ตลอดชวี ติ และ
เพอ่ื ประชา
สมั พันธ์
หอ้ งสมุด
ประชาชนให้
เป็นท่ีรจู้ ัก
3.ขน้ั ตรวจสอบ -เพ่อื ประเมนิ บคุ ลากร 17 คน หอ้ งสมุด
ประชาชน
(Check) ความเปน็ ไปได้ กศน.อำเภอ อำเภอ
พานทอง
-การประเมินผลก่อน ของโครงการ พานทอง
ดำเนนิ โครงการ -เพื่อประเมิน
-การประเมินผล ความกา้ วหน้า
ระหวา่ งดำเนิน ของโครงการ
โครงการ -เพือ่ ประเมิน
-การประเมนิ ผลเมื่อ ผลสำเรจ็ ของ
เสร็จสนิ้ โครงการ โครงการ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย ดำเนินการ ก.ย.65 -
4.ขนั้ ปรบั ปรุงแกไ้ ข เพอ่ื ปรบั ปรงุ บุคลากร
(Action) แกไ้ ขและ กศน.อำเภอ 17 คน หอ้ งสมุด
-รวบรวมข้อมลู สรปุ ผล พฒั นาการ พานทอง ประชาชน
และจดั ทำรายงานฯ ดำเนินโครงการ อำเภอ
-ประชุมคณะทำงานเพื่อ พานทอง
นำขอ้ มูลจากงานการ
ประเมินโครงการไปใช้
ปรับปรงุ แกไ้ ข และ
พัฒนาการดำเนนิ
โครงการ
7. งบประมาณ
-
8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ - 45 -
กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ม.ค.65-ม.ี ค.65) (เม.ย.65-มิ.ย.65) (ก.ค.65-ก.ย.65)
(ต.ค.63-ธ.ค.64)
- - -
โครงการส่งเสริมการ -
อ่านและการเรยี นรู้
แบบออนไลน์
9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
9.1 นางสาวระพีพร วงค์มน ครผู ู้ช่วย หัวหนา้ งานการศกึ ษาตามอัธยาศยั
9.2 นางสาวสุชาดา ตรงกับใจ บรรณารักษ์
10. เครอื ขา่ ย/หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง
-
11. โครงการทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
-
12. ดัชนชี ีว้ ดั ความสำเร็จของกิจกรรม
ตวั ชี้วัดผลผลิต
มผี รู้ ่วมโครงการไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
ตัวชี้วัดผลลัพธ์
ผ้รู ว่ มโครงการมคี วามพึงพอใจ อยูใ่ นระดบั ดีขนึ้ ไป ร้อยละ 80
13. การติดตามและประเมินกจิ กรรม
13.1 แบบติดตามผลการดำเนนิ งาน
13.2 แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
14. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มนี สิ ยั รกั การอ่าน และการเรียนร้ดู ้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ ผ่านสื่อออนไลน์
ได้รับข่าวสาร ความรู้จากส่อื ออนไลน์ มโี อกาสและช่องทางการศึกษาด้วยตนเองในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
- 46 -
แผนการดำเนินงานห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
4. โครงการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเคลือ่ นที่
1. ชื่อโครงการ พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนเคลื่อนท่ี
2. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ขอ้ 4 บรู ณาการความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมี
คุณภาพ
4.1 ความร่วมมือกับเครอื ขา่ ยทงั้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คมและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ รวมทง้ั ส่งเสริม
สนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน อาทิ การสง่ เสรมิ อาชพี ท่เี ป็นอัตลกั ษณแ์ ละบรบิ ทของชมุ ชนส่งเสรมิ การตลาดและ
ขยายชอ่ งทางการจำหน่ายเพ่ือยกระดับผลิตภัณฑ/์ สนิ ค้า กศน.
4.2 บูรณาการความร่วมมือกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ท้งั ในสว่ นกลางและภูมิภาค
ภารกิจต่อเนอื่ ง
ขอ้ 6 ด้านบุคลากรระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
6.3 สร้างความรว่ มมือของภาคีเครอื ข่ายทกุ ภาคส่วนท้งั ภาครฐั กาคเอกชน ประชาสังคมทัง้ ในประเทศและ
ตา่ งประเทศ รวมทั้งสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการมีส่วนรว่ มของชุมชนเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และให้เกดิ ความร่วมมือในการ
สง่ เสริม สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ - 47 -
สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
หัวข้อที่ 1.3 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ รว่ มกับผอู้ ่ืน
หัวขอ้ ที่ 1.4 ผู้เรียนข้นั พน้ื ฐานมีความสามารถในการสร้างสรรคง์ าน ชนิ้ งานและนวัตกรรม
หวั ขอ้ ที่ 1.8 ผู้เรียนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพ้นื ฐานทไ่ี ดร้ ับไปใช้หรอื ประยุกตใ์ ช้
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
หัวข้อที่ 2.3 ครมู ีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั
มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
หัวขอ้ ท่ี 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ นน้ การมสี ่วนร่วม
หวั ข้อท่ี 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
หัวข้อที่ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
หวั ข้อที่ 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนุนภาคีเครอื ขา่ ยใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
หัวข้อที่ 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนุนการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
3. หลักการและเหตุผล
จากการปฏิรปู ระบบการบรหิ ารราชการแผน่ ดินของประเทศไทยใหม้ เี ป้าหมายการพัฒนาในระยะยาว และเพื่อ
เป็นการกำหนดให้ฝ่ายบริหารมคี วามรบั ผดิ ชอบท่ีจะตอ้ งขบั เคลื่อนประเทศไปสูเ่ ป้าหมายท่ีเป็นทย่ี อมรบั ร่วมกนั และเป็น
เอกภาพ ประเทศไทยจำเปน็ จะต้องมี “ยทุ ธศาสตรช์ าต”ิ ซ่ึงภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเทศไทย ต้องปฏิรูป และ
ปรบั เปล่ยี นอย่างเปน็ ระบบขนานใหญ่ เพ่อื ใหโ้ ครงสร้างทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศเหมาะสมกับภูมทิ ัศนใ์ หม่
ของโลก ยืดหยุ่นปรับตวั ได้เร็ว สามารถรับมอื กบั ความเส่ียงและภัยคุกคามแบบใหมไ่ ด้ และสามารถอาศยั โอกาสจากการ
เปลีย่ นแปลงบริบทสามารถยังประโยชนส์ ขุ ใหก้ บั คนในชาติได้ ดงั น้นั รฐั บาลไดจ้ ดั ทำ“ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี” เพ่ือเป็น
เปา้ หมายการพฒั นาในระยะยาว จึงเปน็ องคป์ ระกอบจำเปน็ ของการปฏริ ปู ระบบการบริหารราชการแผน่ ดนิ ของ
ประเทศไทยให้สามารถดำเนินงานในการขบั เคลื่อนการพัฒนาไปสู่ เปา้ หมายอนาคตของประเทศท่ีพึงประสงคไ์ ดใ้ น
ระยะยาว ดงั นน้ั หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง จึงได้ศึกษายทุ ธศาสตร์ชาติ เพอ่ื นำมาเปน็ แนวทางในการดำเนินงาน
ของหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทองให้สอดรับสนองต่อนโยบายของชาติ จึงได้จดั ทำโครงการพัฒนาห้องสมดุ
ประชาชนเคลือ่ นท่ีขน้ึ เพื่อสง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรใู้ หก้ บั นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนให้มนี ิสัยรกั การอา่ น
มากขึ้น ด้วยการทำงานเชงิ รุกเข้าหากลมุ่ เปา้ หมายในพื้นที่ เพือ่ ให้กลุม่ เป้าหมายที่อยู่ห่างไกลได้มีโอกาสเขา้ ถงึ แหลง่ การ
เรยี นรูท้ ่ีดี ทง้ั นต้ี รงตาม ยทุ ธศาสตรช์ าติท่ี 3 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสร้าง ยุทธศาสตร์การพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ คือ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ปฏริ ูปการเรยี นร้แู บบพลิกโฉมเปน็ การ
วางรากฐานการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยเ์ ป็นปัจจัยสำคญั ในการนำพาประเทศไปสู่การเปน็ ประเทศพัฒนาแล้วซง่ึ เป็น - 48 -
เป้าหมายใน 20 ปีข้างหน้า โดย คนไทยในอนาคต ตอ้ งเป็นมนุษย์ท่สี มบรู ณ์ มีความพรอ้ มทั้งกาย ใจ สติปัญญา
สามารถเรียนรู้ ได้ตลอดชวี ติ
4. วตั ถุประสงค์
4.1 เพื่อสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรูใ้ ห้กบั นกั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนใหม้ ีนสิ ัยรกั การอา่ น ด้วยการ
ทำงานเชงิ รกุ เขา้ หากลุ่มเปา้ หมายในพน้ื ที่
4.2 เพอ่ื พัฒนาแหลง่ เรยี นร้ใู นพน้ื ท่ี กลุม่ เปา้ หมายท่อี ยู่หา่ งไกลได้มโี อกาสเขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ทด่ี ี
4.3 เพื่อประชาสัมพันธ์หนว่ ยงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทองและงานการศกึ ษานอกโรงเรียน
4.4 เพอื่ สรา้ งเครือขา่ ยการดำเนนิ งานสง่ เสริมการอา่ น
5. เป้าหมาย
5.1 เชิงปริมาณ
1) ออกบรกิ ารเคลื่อนท่ี 2 ครัง้
2) พัฒนาแหลง่ เรียนรู/้ ห้องสมุดโรงเรียน จำนวน 2 แห่ง
3) ผรู้ ่วมโครงการรวมท้ังสิน้ 500 คน
5.2 เชิงคณุ ภาพ
นักเรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนในชมุ ชนท่อี ยหู่ า่ งไกลไดม้ ีโอกาสเข้าถงึ แหลง่ การเรยี นรู้ท่ดี ี
มนี ิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้
แผนการดำเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปงี บประมาณ 2565
6. กิจกรรมการดำเนนิ งาน
กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
ดำเนนิ การ ม.ค.65 3,900.-
เปา้ หมาย
17 คน กศน.อำเภอ - 49 -
1.ข้ันวางแผน เพอ่ื วางแผน การ บคุ ลากร พานทอง
(Plan) ดำเนินงานและจัด กศน.อำเภอ
วางแผนการ กิจกรรมการ พานทอง
ปฏบิ ัติ เรยี นรู้
แตง่ ต้ัง
คณะทำงาน
- จัดทำ
โครงการและขอ
อนุมัตโิ ครงการ
2.ขน้ั ดำเนินงาน เพอ่ื พัฒนา บคุ ลากร , 60 คน -ร.ร.วัดหนอง ม.ค.65
17 คน กาน้ำ -
(Do) หอ้ งสมดุ ของ เครอื ขา่ ย , -ร.ร.บ้านเนิน
ถาวร ส.ค.65
โรงเรยี นให้มี นกั เรียน,ครู, -ร.ร.ประชา
สงคระห์ ม.ค.65
บรรยากาศที่ดี ผู้ปกครอง -ร.ร.บา้ นบาง -
หัก
มีความพรอ้ มใน กศน.อำเภอ ส.ค.65
พานทอง
การใหบ้ ริการ
3.ข้ันตรวจสอบ -เพ่ือประเมนิ บุคลากร
กศน.อำเภอ
(Check) ความเปน็ ไปได้ พานทอง
-การประเมนิ ผล ของโครงการ
กอ่ นดำเนิน -เพอื่ ประเมิน
โครงการ ความกา้ วหน้า
-การประเมนิ ผล ของโครงการ
ระหว่างดำเนิน -เพื่อประเมนิ
โครงการ ผลสำเร็จของ
-การประเมินผล โครงการ
เม่ือ
เสรจ็ สิ้น
โครงการ
แผนการดำเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอพานทอง ปีงบประมาณ 2565
กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย พ้นื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
17 คน ดำเนินการ
4.ข้ันปรบั ปรุง เป้าหมาย กศน.อำเภอ ส.ค.65 - 50 -
แกไ้ ข พานทอง -
(Action) เพอ่ื ปรับปรงุ แก้ไข บุคลากร
-รวบรวมขอ้ มลู ก.ย.65
สรุปผล และพฒั นาการ กศน.อำเภอ
และจดั ทำ
รายงานฯ ดำเนินโครงการ พานทอง
-ประชุม
คณะทำงานเพ่ือ
นำขอ้ มูลจาก
งานการประเมนิ
โครงการไปใช้
ปรบั ปรงุ แก้ไข
และพฒั นาการ
ดำเนนิ โครงการ
7. งบประมาณ
- งบประมาณประจำปี พ.ศ.25645 แผนงานยทุ ธศาสตร์เพื่อสนับสนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลอ่ื นการพฒั นาการศึกษาท่ยี ่งั ยืน กิจกรรมเสริมสรา้ งและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
รหัสงบประมาณ 2000235052700018 แหล่งของเงนิ 6511500 งบรายจา่ ยอ่ืน เพื่อเปน็ ค่าใช้จ่ายในโครงการพัฒนา
ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนท่ี ในวงเงิน 3,900 บาท (สามพนั เกา้ ร้อยบาทถว้ น)
8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ม.ค.65-มี.ค.65) (เม.ย.65-ม.ิ ย.65) (ก.ค.65-ก.ย.65)
(ต.ค.63-ธ.ค.64)
3,900 บาท - -
โครงการพัฒนา -
หอ้ งสมุด
ประชาชน
เคล่อื นที่