The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการจัดกิจกรรม
โครงการเรียนรู้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิประจำวัน ไตรมาส1-2 ประจำปีงบประมาณ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2020-05-11 05:03:24

โครงการเรียนรู้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิประจำวัน

สรุปผลการจัดกิจกรรม
โครงการเรียนรู้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิประจำวัน ไตรมาส1-2 ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: สรุปผลการจัดกิจกรรม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม ก

โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวิประจาวนั

คำนำ

การจัดกิจกรรมโครงการเรยี นรู้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวปิ ระจาวนั ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอพนัสนคิ ม ไดใ้ หค้ วามสาคัญในการจัดกจิ กรรมโครงการเรียนรปู้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชี
วปิ ระจาวนั ณ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลทุ่งขวาง ตาบลทุ่งขวาง อาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี เพ่ือให้
ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามรเู้ ก่ยี วกบั สมุนไพรในชวี ิตประจาวันและสามารถนาความรทู้ ่ีได้รับไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
ซึ่งจัดในวันท่ี 11 กุมภาพนั ธ์ 2563 ในการจัดกจิ กรรมคร้งั นี้มผี ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมจานวน 22 คน

กจิ กรรมดังกล่าวได้ดาเนนิ เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ซง่ึ รายละเอียดผลการดาเนนิ งานตา่ งๆ ตลอดจนปญั หา
อปุ สรรค ในการดาเนินงาน เพอื่ รวบรวมกระบวนการดาเนินงาน ผลทไ่ี ด้นาไปใช้ ตลอดจนการพฒั นาเพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพวิถชี ีวิต และการตอบสนองความต้องการของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ทา้ ยคือการนาไปใช้ประโยชน์
อย่างแท้จรงิ และสามารถแนะนาผอู้ น่ื ได้ ใหเ้ กิดการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอพนสั นคิ ม
กมุ ภาพันธ์ 2563

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม ข

โครงการเรียนรูป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชวี ิประจาวัน

สำรบญั

คานา........................................................................................................................................................................ ก
สารบญั .................................................................................................................................................................... ข
บทที่ 1..................................................................................................................................................................... 1
บทนา....................................................................................................................................................................... 1

หลกั การและเหตผุ ล ........................................................................................................................................... 1
วตั ถุประสงค์ ...................................................................................................................................................... 1
เปา้ หมาย ........................................................................................................................................................... 1

ดา้ นปรมิ าณ ................................................................................................................................................. 1
ด้านคุณภาพ ................................................................................................................................................ 1
ผลลัพธ์............................................................................................................................................................... 1
ดัชนชี ้ีวัดผลสาเรจ็ ของโครงการ.......................................................................................................................... 1
ตัวช้ีวัดผลผลิต ............................................................................................................................................. 1
ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ ............................................................................................................................................. 1
บทท่ี 2..................................................................................................................................................................... 2
เอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................................................ 2
ความหมายของสมุนไพร .................................................................................................................................... 2
ความสาคัญของพชื สมุนไพร............................................................................................................................... 3
1. ความสาคญั ในดา้ นสาธารณสุข ................................................................................................................ 3
ความสาคญั ในด้านเศรษฐกจิ .............................................................................................................................. 4
ประโยชน์ของสมุนไพร ....................................................................................................................................... 4
สรรพคุณของสมนุ ไพร 10 ชนดิ .......................................................................................................................... 5
ขมิน้ ชนั ........................................................................................................................................................ 5
ต้นดปี ลี........................................................................................................................................................ 5
ตะไคร้.......................................................................................................................................................... 5
ใบบวั บก....................................................................................................................................................... 5
ดอกอญั ชนั ................................................................................................................................................... 6
มะกรดู ......................................................................................................................................................... 7
ทองพนั ช่งั .................................................................................................................................................... 7
ว่านหางจระเข้.............................................................................................................................................. 7
กระวานไทย................................................................................................................................................. 7
กระเทียม ..................................................................................................................................................... 8
ขิง................................................................................................................................................................ 9
บทท่ี 3...................................................................................................................................................................10
วิธดี าเนินงาน .........................................................................................................................................................10
1. ข้นั เตรยี มการ .............................................................................................................................................10
การศึกษาเอกสารทเ่ี กี่ยวข้องกบั การดแู ลรักษาสุขภาพกายและสขุ ภาพจิต .................................................10
การสารวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรฐั บาล) .................................................10
การประสานงานผนู้ าชมุ ชน/ประชาชน ......................................................................................................10
การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ.....................................................................................................................10

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม ค

โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวปิ ระจาวนั

ประชมุ เตรียมการ / วางแผน .....................................................................................................................10
การรบั สมคั รผู้เข้ารว่ มโครงการฯ................................................................................................................10
กาหนดสถานท่ีและระยะเวลาดาเนินการ ...................................................................................................11
2. ขั้นดาเนินงาน.............................................................................................................................................11
กลมุ่ เปา้ หมาย ............................................................................................................................................11
สถานทดี่ าเนนิ งาน......................................................................................................................................11
การขออนุมัติแผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ ..............................................................11
การทาจดั ทาเคร่ืองมือการวัดความพึงพอใจของผู้รว่ มกิจกรรม...................................................................11
ขนั้ ดาเนินการ / ปฏบิ ัติ ..............................................................................................................................11
3. การประเมินผล...........................................................................................................................................11
การวเิ คราะห์ข้อมลู ....................................................................................................................................11
คา่ สถติ ทิ ่ใี ช้.................................................................................................................................................12
เกณฑ์การประเมิน .....................................................................................................................................12
บทที่ 4...................................................................................................................................................................13
ผลการดาเนนิ งานและการวิเคราะห์ข้อมลู ..............................................................................................................13
ตอนท่ี 1...........................................................................................................................................................13
ตอนที่ 2...........................................................................................................................................................13
ตารางที่ 1 ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการเรียนร้กู ารใชป้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชีวติ ประจาวัน ทีต่ อบ
แบบสอบถาม จาแนกไดด้ ังนี้ ....................................................................................................................13
ตารางท่ี 2 แสดงค่ารอ้ ยละเฉล่ยี ความสาเรจ็ ของตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ ดงั ปรากฏตามตารางท่ี 2 ดังต่อไปน้ี .......15
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร..................................................................................................................15
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก .......................................................................................15
บทท่ี 5...................................................................................................................................................................17
สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................................17
วตั ถุประสงค์ ....................................................................................................................................................17
เป้าหมาย .........................................................................................................................................................17
เชิงปริมาณ................................................................................................................................................. 17
เชงิ คณุ ภาพ................................................................................................................................................17
เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู .............................................................................................................17
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ......................................................................................................................................17
สรุปผลการดาเนนิ การ......................................................................................................................................17
ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................18
ผจู้ ัดทารายงาน ......................................................................................................................................................19
ท่ปี รึกษา ..........................................................................................................................................................19
ผจู้ ดั ทารายงาน ................................................................................................................................................19

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 1

โครงการเรยี นรปู้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชวี ิประจาวัน

บทที่ 1
บทนำ

หลักกำรและเหตุผล

การใชส้ มนุ ไพรเพ่ือรักษาโรค เป็นภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ท่ี บรรพบรุ ุษได้สร้างสรรคจ์ ากประสบการณ์เพ่ือ
แกป้ ญั หาการดารงชวี ิตโดย พัฒนาเป็นองค์ความรภู้ ูมปิ ัญญาตามศักยภาพและสภาพแวดล้อมท่เี ป็นอยู่ ของตนผา่ น
การสงั เกต ทดลองและถ่ายทอดเป็นความรู้มาสรู่ นุ่ ต่อรุ่นมีการประยุกต์ ปรบั เปล่ยี นไปตามสภาพการณท์ างสงั คม
วัฒนธรรม และ ส่งิ แวดลอ้ ม แต่ในปจั จุบนั นกั ศึกษาและประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ และไม่มีการนาเอา
สมุนไพรต่าง ๆ มาใชป้ ระโยชนเ์ ทา่ ท่คี วร การเรียนรู้ชนดิ และสรรพคณุ ของสมนุ ไพรท่ีอยู่ใกลต้ วั แลว้ นามาใช้ให้เกดิ
ประโยชนต์ ่าง ๆ เพ่อื รักษาโรคและดูแลตนเองด้วยสมุนไพรทง้ั ในด้านการกินอาหารเป็นยา หรอื การรักษาอาการ
เจบ็ ปว่ ยตา่ ง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง จะเปน็ สง่ ทีช่ ่วยรักษาภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ มิให้สญู หายต่อไป

กศน.ตาบลทุ่งขวางจงึ ได้เลง็ เหน็ ความสาคัญจากเหตุผลขา้ งตน้ ดังกลา่ ว จงึ ได้ดาเนินการจัดทาโครงการ
เรยี นร้กู ารใชป้ ระโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวิตประจาวนั ของประชาชนตาบลทุ่งขวางเพอื่ ให้ประชาชนในตาบลทงุ่ ขวาง
รูว้ ธิ ีการดูแลสขุ ภาพและแกป้ ัญหาดา้ นสขุ ภาพด้วยตนเองโดยสามารถใช้สมนุ ไพรในครัวเรือนนามาปรบั ใช้
ชีวิตประจาวันของตนเอง และครอบครวั ต่อไปได้

วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมีความรู้เกีย่ วกบั สมนุ ไพรในชีวติ ประจาวัน
2. เพือ่ ใหผ้ ้รู ว่ มกจิ กรรมนาความรูท้ ีไ่ ดร้ ับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

เปำ้ หมำย

ดำ้ นปริมำณ
- ประชาชนตาบลทุ่งขวาง จานวน 20 คน

ดำ้ นคณุ ภำพ
- ประชาชนตาบลท่งุ ขวางมีความรู้เกยี่ วกับสมุนไพรและนามาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั

ผลลพั ธ์

- ประชาชนตาบลนามะตูมมีความรู้เกยี่ วกับสมนุ ไพรและนามาปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

ดชั นีช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงกำร

ตวั ชวี้ ดั ผลผลิต
- ประชาชนตาบลทุง่ ขวางเขา้ รว่ มโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ตัวชี้วัดผลลัพธ์
- ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการมคี วามพึงพอใจต่อโครงการ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
- ผเู้ ข้าร่วมโครงการสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 2

โครงการเรยี นรปู้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชวี ิประจาวนั

บทที่ 2
เอกสำรและรำยงำนท่ีเกยี่ วข้อง

ควำมหมำยของสมุนไพร

* คาว่า [สมุนไพร] ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถงึ พืชทีใ่ ช้ ทาเป็นเครื่อง
ยา สมนุ ไพรกาเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงท้ังการ
ส่งเสริมสขุ ภาพและการรกั ษาโรค ความหมายของยาสมนุ ไพรในพระราชบญั ญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยา
สมุนไพร หมายความว่า ยาท่ีได้จากพฤกษาชาติสตั วห์ รอื แร่ธาตุ ซึ่งมิไดผ้ สมปรงุ หรือแปรสภาพ เช่น พืชก็ยงั เป็นส่วน
ของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซงึ่ มิไดผ้ ่านข้ันตอนการแปรรปู ใด ๆ แตใ่ นทางการค้า สมนุ ไพรมักจะถูกดัดแปลงใน
รปู แบบต่าง ๆ เช่น ถกู ห่ันให้เปน็ ช้ินเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออดั เป็นแทง่ แต่ในความรู้สกึ ของคนทัว่ ไปเมื่อ
กล่าวถึงสมนุ ไพร มักนกึ ถึงเฉพาะตน้ ไม้ที่นามาใช้เปน็ ยาเท่านัน้

* สมนุ ไพร หมายถึง พชื ท่ีมีสรรพคณุ ในการรกั ษาโรค หรอื อาการเจ็บป่วยต่าง ๆ การใช้สมุนไพรสาหรับ
รักษาโรค หรืออาการเจ็บป่วยต่างๆ นี้ จะต้องนาเอาสมนุ ไพรตง้ั แตส่ องชนดิ ขึน้ ไปมาผสมรวมกนั ซง่ึ จะเรยี กวา่ “ยา”
ในตารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแลว้ ยงั อาจประกอบดว้ ยสัตวแ์ ละแรธ่ าตอุ ีกด้วย เราเรียกพืช สตั ว์ หรอื แรธ่ าตทุ ่ีเป็น
ส่วนประกอบของยาน้ีวา่ “เภสัชวตั ถุ”พืชสมนุ ไพรบางชนิด เชน่ เรว่ กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เปน็ ต้น เป็น
พืชท่มี ีกล่ินหอมและมีรสเผ็ดร้อน ใชเ้ ป็นยาสาหรบั ขบั ลม แกท้ ้องอืด ท้องเฟ้อ พชื เหล่านี้ถา้ นามาปรงุ อาหารเราจะ
เรยี กว่า “เครื่องเทศ” ในพระราชบัญญตั ยิ าฉบับที่ 3 ปีพทุ ธศกั ราช 2522 ไดแ้ บ่งยาที่ไดจ้ ากเภสชั วตั ถนุ ้ีไวเ้ ปน็ 2
ประเภทคือ

1. ยาแผนโบราณ[1] หมายถงึ ยาท่ใี ช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบาบัดโรคของ
สตั ว์ ซ่ึงมีปรากฏอยู่ในตารายาแผนโบราณทีร่ ฐั มนตรีประกาศ หรอื ยาท่ีรัฐมนตรปี ระกาศใหเ้ ปน็ ยาแผนโบราณ หรอื
ได้รับอนุญาตใหข้ น้ึ ทะเบียนตารบั ยาเป็นยาแผนโบราณ

2. ยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ไดจ้ ากพชื สัตว์แรธ่ าตุทยี่ งั มไิ ดผ้ สมปรงุ หรอื แปรสภาพสมนุ ไพรนอก จากจะ
ใช้เป็นยาแล้ว ยงั ใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ อาหาร ใช้เตรียมเปน็ เคร่ืองดม่ื ใช้เปน็ อาหารเสริม เป็นสว่ นประกอบใน
เคร่อื งสาอาง ใชแ้ ต่งกลน่ิ แต่งสอี าหารและยา ตลอดจนใชเ้ ปน็ ยาฆา่ แมลงอีกดว้ ย ในทางตรงกันขา้ ม มสี มุนไพร
จานวนไมน่ ้อยทมี่ ีพษิ ถา้ ใชไ้ ม่ถูกวธิ หี รือใช้เกินขนาดจะมีพิษถึงตายได้ ดงั นัน้ การใชส้ มุนไพรจึงควรใชด้ ว้ ยความ
ระมัดระวงั และใช้อย่างถูกต้อง ปัจจบุ ันมีการตื่นตัวในการนาสมุนไพรมาใชพ้ ฒั นาประเทศมากขึน้ สมนุ ไพรเป็นสว่ น
หนงึ่ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสขุ ได้ดาเนนิ โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสขุ มูล
ฐาน โดยเนน้ การนาสมนุ ไพรมาใช้บาบัดรักษาโรคใน สถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐมากขน้ึ และ สง่ เสริมให้ปลกู
สมุนไพรเพ่อื ใชภ้ ายในหมู่บ้านเปน็ การสนบั สนุนให้มกี ารใช้ สมุนไพรมากย่งิ ขนึ้ อันเปน็ วิธีหนง่ึ ทีจ่ ะชว่ ยประเทศชาติ
ประหยัดเงนิ ตราในการสง่ั ซื้อยาสาเรจ็ รูปจากตา่ งประเทศไดป้ ลี ะเป็นจานวนมาก

* สมุนไพร หมายถึง “พืชท่ีใช้ทาเป็นเคร่ืองยา” ส่วน ยาสมุนไพร หมายถึง “ยาทีไ่ ดจ้ ากส่วนของพชื
สตั ว์ และแร่ ซงึ่ ยังมิได้ผสมปรุง หรอื แปรสภาพ” สว่ นการนามาใช้ อาจดดั แปลงรูปลักษณะของสมุนไพรให้ใชไ้ ด้
สะดวกขึน้ เช่น นามาหัน่ ให้มีขนาดเล็กลง หรือ นามาบดเป็นผงเป็นตน้ มีแต่พืชเพยี งอย่างเดียวหามิได้เพราะยังมสี ัตว์
และแร่ ธาตุอ่นื ๆอีกสมุนไพร ทเ่ี ปน็ สัตว์ได้แก่ เขา หนงั กระดูก ดี หรอื เป็นสัตว์ท้งั ตวั กม็ ี เช่น ตุ๊กแกไส้เดือน มา้ น้า
ฯลฯ

“พชื สมนุ ไพร” นั้นตง้ั แต่โบราณกท็ ราบกนั ดวี ่ามีคณุ ค่าทางยามากมายซงึ่ เช่ือกันอีกด้วยวา่ ตน้ พืชต่างๆ
ก็เปน็ พืชท่ีมีสารท่ีเปน็ ตัวยาด้วยกนั ทั้งสนิ้ เพียงแต่วา่ พชื ชนิดไหนจะมีคุณ ค่าทางยามากนอ้ ยกว่ากนั เทา่ นน้ั

* “พชื สมุนไพร” หรอื วัตถุธาตุน้ี หรือตวั ยาสมนุ ไพรน้ี แบง่ ออกเปน็ 5 ประการ
1. รปู ไดแ้ ก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลอื กไม้ แกน่ ไม้ กระพไ้ี ม้ รากไม้ เมล็ด

กศน.ตาบลท่งุ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 3

โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวิประจาวนั

2. สี มองแลว้ เหน็ ว่าเปน็ สีเขยี วใบไม้ สเี หลือง สีแดง สีสม้ สีมว่ ง สนี า้ ตาล สีดา
3. กลิ่น ใหร้ ูว้ า่ มรกล่ิน หอม เหมน็ หรอื กล่นิ อย่างไร
4. รส ให้รูว้ ่ามรี สอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปร้ียว รสเย็น
5. ชื่อ ตอ้ งรู้ว่ามีชอ่ื อะไรในพืชสมนุ ไพรน้ันๆ ใหร้ ู้ว่า ขิงเปน็ อยา่ งไร ข่า เป็นอยา่ งไร ใบข้ีเหลก็ เปน็
อย่างไร
* ปัจจุบนั มผี ูพ้ ยายามศกึ ษาค้นควา้ เพอ่ื พฒั นายาสมุนไพรใหส้ ามารถนามาใช้ใน รปู แบบท่สี ะดวกยง่ิ ข้ึน
เช่น นามาบดเป็นผงบรรจแุ คปซูล ตอกเป็นยาเมด็ เตรยี มเป็นครีมหรอื ยาข้ผี งึ้ เพื่อใชท้ าภายนอก เป็นต้น ใน
การศกึ ษาวจิ ยั เพื่อนาสมนุ ไพรมาใช้เป็นยาแผนปัจจุบนั นั้น ได้มกี ารวิจยั อย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกดั สารสาคญั
จากสมุนไพรเพื่อให้ได้สารทบ่ี ริสุทธิ์ ศกึ ษาคุณสมบัตทิ างด้านเคมี ฟสิ กิ ส์ของสารเพื่อใหท้ ราบวา่ เป็นสารชนิดใด
ตรวจสอบฤทธิด์ ้านเภสัชวิทยาในสตั วท์ ดลองเพอื่ ดูให้ได้ผลดใี นการรกั ษาโรคหรือ ไม่เพียงใด ศึกษาความเป็นพิษและ
ผลขา้ งเคยี ง เมื่อพบวา่ สารชนดิ ใดให้ผลในการรักษาท่ีดี โดยไมม่ ีพษิ หรือมีพิษข้างเคียงน้อยจึงนาสารนั้นมาเตรยี ม
เปน็ ยารูปแบบที่ เหมาะสมเพ่ือทดลองใชต้ ่อไป

ควำมสำคญั ของพืชสมนุ ไพร

1. ควำมสำคญั ในด้ำนสำธำรณสุข
พืชสมนุ ไพร เป็นผลผลติ จากธรรมชาติ ท่ีมนษุ ย์ร้จู ักนามาใช้เป็นประโยชน์ เพื่อการรักษาโรคภยั ไข้เจบ็

ต้ังแต่โบราณกาลแล้ว เช่นในเอเชยี ก็มหี ลักฐานแสดงว่ามนุษยร์ ู้จักใช้พืชสมนุ ไพรมากวา่ 6,000 ปี แต่หลงั จากท่ี
ความรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ มีการพฒั นาเจริญก้าวหนา้ มากขึน้ มีการสงั เคราะห์ และผลติ ยาจากสารเคมี ในรูปทใี่ ช้
ประโยชนไ์ ดง้ ่าย สะดวกสบายในการใช้มากกวา่ สมุนไพร ทาให้ความนยิ มใช้ยาสมุนไพรลดลงมาเป็นอนั มาก เป็นเหตุ
ใหค้ วามรวู้ ทิ ยาการด้านสมุนไพรขาดการพัฒนา ไม่เจริญกา้ วหน้าเท่าทีค่ วร ในปัจจุบนั ทวั่ โลกไดย้ อมรบั แลว้ ว่าผลท่ี
ไดจ้ ากการสกัดสมุนไพร ให้คุณประโยชน์ดีกว่ายา ท่ีไดจ้ ากการสังเคราะหท์ างวทิ ยาศาสตรป์ ระกอบกบั ในประเทศ
ไทยเปน็ แหลง่ ทรัพยากรธรรมชาติ อันอดุ มสมบูรณ์ มีพืชต่าง ๆ ทใี่ ชเ้ ปน็ สมุนไพรได้อยา่ งมากมายนับหมนื่ ชนดิ ยัง
ขาดกแ็ ต่เพยี งการค้นควา้ วจิ ัยในทางท่ีเป็นวทิ ยาศาสตรม์ ากขน้ึ เทา่ นัน้ ความตืน่ ตัวทจี่ ะพัฒนาความรูด้ ้านพืชสมุนไพร
จงึ เร่มิ ข้นึ อีกครง้ั หนึ่ง มีการเร่ิมต้นนโยบายสาธารณสุขขั้นมูลฐานอยา่ งเป็นทางการของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2522
โดยเพ่ิมโครงการสาธารณสุขข้ันมลู ฐานเขา้ ในแผนพัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนา การเศรษฐกจิ และสงั คม
แห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ตอ่ เน่ืองจนถึงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 7 (พ.ศ.
2535-2539) โดยมี กลวธิ ีการพัฒนาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยในงานสาธารณสขุ มูลฐาน คอื

(1) สนบั สนนุ และพฒั นำวชิ ำกำรและเทคโนโลยีพ้ืนบ้ำนอนั ได้แก่ การแพทย์แผนไทย เภสชั กรรม
แผนไทย การนวดไทย สมนุ ไพร และเทคโนโลยพี ้ืนบา้ น เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นการแก้ไขปญั หา สุขภาพของชุมชน

(2) สนับสนนุ และสง่ เสรมิ กำรดแู ลรักษำสุขภำพของตนเอง โดยใช้ สมนุ ไพร การแพทย์พน้ื บ้าน การ
นวดไทย ในระดับบคุ คล ครอบครัว และชุมชน ให้เป็นไปอยา่ งถูกต้องเป็นระบบสามารถปรับประสานการดูแล
สุขภาพแผนปัจจุบนั ได้ อาจกล่าวไดว้ า่ สมนุ ไพรสาหรับสาธารณสขุ มลู ฐานคือสมนุ ไพรที่ใช้ในการส่งเสรมิ สขุ ภาพ
และการรักษาโรค/อาการเจบ็ ป่วยเบอื้ งต้น เพ่ือให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขนึ้

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง สังกัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 4

โครงการเรียนรปู้ ระโยชน์จากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวัน

ควำมสำคัญในด้ำนเศรษฐกจิ

ในปจั จุบนั พชื สมุนไพรจดั เปน็ พชื เศรษฐกิจชนิด หนึง่ ท่ตี ่างประเทศกาลงั หาทางลงทนุ และคดั เลือก
สมนุ ไพรไทยไปสกัดหาตวั ยาเพ่ือ รกั ษาโรคบางโรคและมหี ลายประเทศทนี่ าสมุนไพรไทยไปปลูกและทาการคา้ ขาย
แขง่ กบั ประเทศไทย สมนุ ไพรหลายชนิดท่เี ราส่งออกเปน็ รูปของวตั ถุดบิ คือ กระวาน ขม้ินชัน เรว่ เปล้าน้อยและ
มะขามเปยี กเป็นตน้ ซงึ่ สมุนไพรเหลา่ นี้ตลาดต่างประเทศยังคงมีความต้องการอกี มาก และในปัจจบุ นั กรมวชิ าการ
เกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไดใ้ ห้ความสนใจในการศึกษาเพม่ิ ขึน้ และมีโครงการวจิ ัย
บรรจไุ วใ้ นแผนพัฒนาระบบการผลติ การตลาดและการสรา้ งงานในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี
6 (พ.ศ. 2530-2534) เพอื่ หาความเปน็ ไปได้ในการพัฒนาคุณภาพและแหลง่ ปลกู สมนุ ไพรเพอื่ ส่งออก โดยกาหนด
ชนดิ ของสมนุ ไพรท่ีมีศักยภาพ 13 ชนดิ คือ มะขามแขก กานพลู เทียนเกล็ดหอย ดองดึง เรว่ กระวาน ชะเอมเทศ
ขมน้ิ จันทรเ์ ทศ ใบพลู พริกไทย ดีปลี และนา้ ผึ้ง

ประโยชนข์ องสมนุ ไพร

1. สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ โดยไม่ต้องใชย้ าแผนปัจจุบัน ซ่ึงบางชนิดอาจมรี าคาแพง และต้องเสีย
ค่าใชจ้ ่ายมาก อกี ท้งั อาจหาซ้ือได้ยากในท้องถิน่ นน้ั

2. ใหผ้ ลการรักษาได้ดีใกลเ้ คียงกับยาแผนปัจจบุ ัน และให้ความปลอดภยั แก่ผ้ใู ช้มากกวา่ แผนปัจจบุ ัน
3. สามารถหาได้งา่ ยในท้องถน่ิ เพราะสว่ นใหญ่ไดจ้ ากพชื ซ่ึงมีอยทู่ ่วั ไปท้งั ในเมืองและ ชนบท
4. มรี าคาถูก สามารถประหยดั คา่ ใช้จา่ ยในการซื้อยาแผนปัจจุบัน ที่ต้องส่งั ซ้ือจากตา่ ง ประเทศเป็นการ
ลดการขาดดลุ ทางการค้า
5. ใช้เปน็ ยาบารงุ รักษาใหร้ ่างกายมสี ุขภาพแข็งแรง
6. ใชเ้ ปน็ อาหารและปลูกเป็นพชื ผักสวนครวั ได้ เชน่ กะเพรา โหระพา ขิง ข่า ตาลงึ
7. ใช้ในการถนอมอาหารเช่น ลูกจนั ทร์ ดอกจันทร์และกานพลู
8. ใชป้ รงุ แตง่ กล่ิน สี รส ของอาหาร เชน่ ลกู จนั ทร์ ใช้ปรุงแต่งกล่ินอาหารพวก ขนมปัง เนย ไส้กรอก
แฮม เบคอน
9. สามารถปลูกเป็นไมป้ ระดับอาคารสถานที่ต่าง ๆ ใหส้ วยงาม เช่น คนู ชุมเหด็ เทศ
10. ใชป้ รงุ เปน็ เครื่องสาอางเพื่อเสริมความงาม เชน่ ว่านหางจระเข้ ประคาดีควาย
11. ใชเ้ ปน็ ยาฆ่าแมลงในสวนผกั , ผลไม้ เช่น สะเดา ตะไคร้ หอม ยาสบู
12 เป็นพืชท่ีสามารถส่งออกทารายไดใ้ ห้กบั ประเทศ เชน่ กระวาน ขมิ้นชนั เรว่
13. เป็นการอนุรักษ์มรดกไทยใหป้ ระชาชนในแตล่ ะท้องถ่ิน รจู้ กั ช่วยตนเองในการ นาพืชสมุนไพรใน
ท้องถ่ินของตนมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ตามแบบแผนโบราณ
14. ทาให้คนเห็นคุณค่าและกลับมาดาเนนิ ชวี ติ ใกลช้ ิดธรรมชาติย่ิงขึ้น
15. ทาให้เกดิ ความภมู ิใจในวัฒนธรรม และคุณค่าของความเป็นไทย

กศน.ตาบลทุง่ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม 5

โครงการเรียนรูป้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชีวปิ ระจาวนั

สรรพคุณของสมุนไพร 10 ชนดิ

ขมิ้นชนั
สรรพคณุ ทางยาของขมิน้ ชนั กัน ส่วนท่ใี ชก้ ค็ ือ "เหง้า" ทมี่ รี สฝาดน่นั เอง โดยเหงา้ มีฤทธฆิ์ ่าเช้อื แบคทเี รยี

เช้อื รา ลดการอักเสบ และมฤี ทธ์ใิ นการขับนา้ ดี ตา้ นอนุมลู อิสระป้องกันการเกิดมะเร็งในตบั ช่วยบารงุ ตับ นอกจากน้ี
ยังมีสารอาหารหลายชนดิ ทง้ั วิตามนิ เอ วิตามนิ ซี วิตามินอี และเกลือแร่ตา่ ง ๆ

สว่ นน้ามนั หอมระเหยในขม้ินชัน ก็มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุกเสยี ดได้ด้วย จึงนิยม
นาขมิ้นมาใช้สมานแผลในกระเพาะอาหาร ทาความสะอาดลาไส้ รักษาโรคกระเพาะอาหาร

การศึกษาวิจัยเพิ่มเติมยังพบวา่ ขมน้ิ มีสรรพคุณบารุงร่างกายอีกหลายอยา่ ง ทั้งช่วยรักษาระบบทางเดนิ
หายใจทีผ่ ิดปกติ หดื ไอ เวียนศรี ษะ รักษาอาการปวดและอักเสบเน่ืองจากไขข้ออักเสบ เพ่ิมภมู ิคุ้มกันให้แกร่ ่างกาย ช่วย
ขบั น้านมสตรีหลงั คลอดบตุ ร

ต้นดีปลี
สรรพคุณ : ในผลสุกของดีปลีมีนา้ มันหอมระเหย ในน้ามันของดปี ลีตามการวิจยั ของสถาบนั การแพทย์แผน

ไทยบอกวา่ มีฤทธิ์ฆ่าแมลง ด้วงงวงและดว้ งถ่วั ถ้าหากนามาสกดั เป็นสารกาจัดแมลงสตู รจากธรรมชาตกิ ็ไม่เลว
- ลาตน้ หรือเถา รสเผ็ดร้อน แก้ปวดฟัน จุกเสยี ด แก้ริดสดี วงทวาร ช่วยเจริญอาหาร
- ดอกนั้นรสเผด็ ร้อนขม แกท้ ้องรว่ ง ขับลมในลาไส้ แก้หืดหอบ แก้ลม วงิ เวยี นปรุงเป็นยาธาตุ แก้ตับพิการ
- รากรสเผด็ ร้อนขม แก้หืดหอบ แก้ลมวิงเวยี น แกเ้ สมหะ แก้ปวดท้อง บารุงธาตุ แกเ้ ส้นอัมพฤกษ์ อมั พาต
- ดอกแก่ ต้มน้าด่ืมแก้ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ และชว่ ยให้หายวิงเวียน สว่ นหากจะแก้ไข้ใหใ้ ชด้ อกแก่แหง้ ครงึ่ กา

มือฝนกับน้ามะนาว กวาดคอหรอื จิบบ่อย ๆ

ตะไคร้
สรรพคุณ : ทั้งตน้ ใชเ้ ป็นยารักษาโรคหืด แก้ปวดท้อง ขบั ปัสสาวะและแก้อหวิ าตกโรค หรือทาเป็นยาทา

นวดก็ได้ และยังใชร้ วมกับสมุนไพรชนิดอ่ืนรักษาโรคได้ เช่น บารงุ ธาตุ เจริญอาหาร และขับเหง่ือ
หัว เปน็ ยารกั ษาเกล้ือน แกท้ ้องอืดท้องเฟ้อ แก้ปสั สาวะพิการ แก้น่ิว บารงุ ไฟธาตุ แก้อาการขัดเบา ถา้ ใช้

รวมกับสมุนไพรชนิดอืน่ จะเป็นยาแก้อาเจียน แก้ทราง ยานอนหลับลดความดันสูง แกล้ มอมั พาต แก้กษยั เส้น และแก้
ลมใบ ใบสด ๆ จะชว่ ยลดความดนั โลหิตสูง แก้ไข้

ราก ใชเ้ ป็นยาแก้ไข้เหนือ ปวดท้องและท้องเสีย
ตน้ ใชเ้ ป็นยาแก้ขับลม แก้เบ่ืออาหาร แกผ้ มแตก แกโ้ รคทางเดนิ ปสั สาวะ นวิ่ เป็นยาบารงุ ไฟธาตุให้เจริญ
แต่ถ้าเอาผสมกับสมุนไพรชนิดอน่ื จะแก้โรคหนองใน และนอกจากน้ียังใช้ดับกลนิ่ คาวดว้ ย

ใบบวั บก
1.ขบั ร้อน ขับชื้นเนื่องจากรสขม ฤทธิเ์ ย็น ขมสามารถสลายชื้น เย็นสามารถขับร้อนได้ ดังนั้น โรคทีม่ ีสาเหตุ

จากความชน้ื กบั ความร้อนร่วมกนั เกดิ การอุดกั้น จงึ สามารถใช้บวั บกรักษาได้
ดีซ่าน ในทศั นะแพทยแ์ ผนจนี เกดิ จากภาวะร้อนขึ้น เมื่อความชืน้ ตกคา้ งในทางเดินอาหารไม่สามารถ

ขบั ท้ิง เกดิ การอุดกั้นสะสมความร้อน จึงเกิดการรวมตัว เช่น เกดิ นวิ่ ในถุงน้าดี ถงุ น้าดอี ักเสบ ฯลฯ หลักการรักษาดีซ่าน
ใน จินคยุ้ เอ่ียวเลีย้ กล่าวไวว้ า่

"โรคดซี ่านทั้งหลาย ใหข้ ับทางปสั สาวะ" ให้ขบั ไฟด้านบน ขับช้ืนด้านล่าง (ปัสสาวะ) ทาใหเ้ สยี ชี่ (ส่ิงก่อ
โรค) ออกทางปสั สาวะ ถ้าร้อนช้นื หาย ดีซา่ นกจ็ ะหาย

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 6

โครงการเรียนรู้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิประจาวนั

ทอ้ งเสยี ในฤดรู ้อน ฤดรู ้อนมีอากาศร้อน มักมีความชื้นเขา้ เก่ียวขอ้ งชว่ งอากาศร้อนบริโภคของเย็น
อาหารดิบมากเกินไป ทาใหเ้ กิดความร้อนช้นื ปดิ กัน้ กระเพาะอาหารและลาไส้ เกดิ อาการท้องเสยี ถ้าขจดั ความร้อนชน้ื
ออกไป ท้องเสยี กจ็ ะหยุด

โรคบิด อาการปวดเบง่ อุจจาระ หรือมีมูกมเี ลือดปน เรยี กว่ามีภาวะร้อนช้นื ของลาไส้ บัวบกมฤี ทธเ์ิ ย็น
รสขม เหมาะสาหรับการรักษาโรคบิด

2.ระบายร้อนขับไฟและความร้อนเป็นพลังหยาง มีสาเหตจุ ากภายนอก (ความรอ้ นของอากาศ สงิ่ แวดล้อม)
และจากความร้อน (ไฟ) ทีเ่ กิดภายในรา่ งกาย ความร้อนเหลา่ นี้ก่อให้เกดิ อาการไข้ ตัวร้อน กระหายน้า เชน่ การติดเช้ือ
ทางเดินอาหารแลว้ มีการอักเสบไขส้ ูง (แผนปจั จุบัน) ตาอักเสบบวมแดงรวมท้ังการอักเสบของผิวหนงั เช่น ไฟลามทุ่ง
เป็นต้น

อากาศร้อนในฤดูร้อน ทาให้เกิดไข้ อักเสบตัวร้อน กระหายน้าเหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย พิษรอ้ นสะสม
ภายใน คือเสียช่ี (สิ่งก่อโรค) เข้าสู่ระดับชี่ การใช้บัวบกที่มฤี ทธ์เิ ยน็ รสขม จึงชว่ ยระบายความร้อนการอักเสบในฤดูรอ้ น
ได้ดี

ดอกอัญชัน

สรรพคุณอัญชัน
1. นา้ อัญชันมสี ว่ นช่วยต่อต้านอนมุ ลู อิสระในร่างกาย
2. เคร่ืองด่ืมน้าอัญชนั ช่วยเสริมสร้างภูมติ ้านทานให้รา่ งกายและเพมิ่ พลังงานให้ร่างกาย
3. มสี ่วนช่วยในการชะลอวยั และริ้วรอยแห่งวัย
4. ประโยชน์ของดอกอญั ชนั มีส่วนช่วยในการบารุงสมอง เพ่ิมการไหลเวยี นเลือด
5. ดอกอัญชนั มีฤทธ์ิในการละลายลิม่ เลือด
6. ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดสมองตบี
7. ช่วยรกั ษาอาการผมรว่ ง (ดอก)
8. อญั ชันทาค้ิว ทาหวั ใชเ้ ป็นยาปลูกผม ปลูกขนช่วยให้ดกเดาเงางามยิ่งข้ึน (น้าคนั้ จากดอก)
9. ช่วยลดความเสีย่ งจากการเกดิ เส้นเลือดอดุ ตัน
10. ชว่ ยลดความเส่ยี งของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลอื ดหัวใจอุดตนั
11. ชว่ ยลดความเสีย่ งจากการเกดิ โรคมะเร็งด้วยสารต้านอนุมลู อิสระ
12. ชว่ ยลดระดับนา้ ตาลในเลือดของผูป้ ว่ ยท่ีเปน็ โรคเบาหวาน
13. อัญชันมคี ุณสมบตั ิในการช่วยลา้ งสารพิษและของเสยี ออกจากร่างกาย
14. ช่วยบารงุ สายตา แก้อาการตาฟาง ตาแฉะ (น้าค้นั จากดอกสดและใบสด)
15. ช่วยปอ้ งกันโรคต้อกระจก ต้อหนิ ตามเส่ือมจากโรคเบาหวาน (ดอก)
16. ชว่ ยเพิ่มความสามารถในการมองเห็นให้ดยี ิ่งขึ้น
17. นารากไปถกู ับนา้ ฝน นามาใชห้ ยอดตาและหู (ราก)
18. นามาถูฟนั แก้อาการปวดฟนั และทาให้ฟันแข็งแรง (ราก)
19. ใชเ้ ปน็ ยาระบาย แต่อาจทาให้คลน่ื ไส้อาเจียนได้ (เมล็ด)
20. ใชร้ ากปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ (ราก,ใบ)
21. แก้อาการปัสสาวะพิการ
22. สรรพคุณอญั ชันใชแ้ กอ้ าการฟกช้า (ดอก)
23. ช่วยปอ้ งกันและแก้อาการเหนบ็ ชาตามน้ิวมอื นวิ้ เท้า
24. นามาทาเป็นเคร่ืองดื่มน้าอัญชนั เพ่ือใชด้ ับกระหาย
25. ดอกอัญชนั ตากแหง้ สามารถนามาชงด่ืมแทนน้าชาได้เหมือนกนั

กศน.ตาบลท่งุ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 7

โครงการเรียนร้ปู ระโยชน์จากสมนุ ไพรในชีวิประจาวนั

26. ดอกอัญชนั นามารับประทานเป็นผกั ก็ได้ เช่น นามาจ้ิมน้าพริกสดๆ หรือนามาชบุ แปง้ ทอดก็ได้
27. น้าดอกอัญชนั นามาใชท้ าเปน็ สผี สมอาหารโดยใหส้ ีม่วง เชน่ ขนมดอกอญั ชนั ข้าวดอกอญั ชัน
(ดอก)
28. ชว่ ยปลกู ผมทาใหผ้ มดกดาขึ้น (ดอก)
29. ใช้เป็นสว่ นผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ อย่าง ครีมนวดผม ยาสระผม เป็นต้น
30.ประโยชน์ของอัญชันข้อสดุ ทา้ ยคือนิยมนามาปลูกไว้ตามร้ัวบ้านเพ่ือความสวยงาม

มะกรูด
สรรพคุณ : ขับลมแกจ้ กุ เสียด
1. ตดั จุกผลมะกรูดควา้ นไส้กลางออกเอามหาหิงส์ใสแ่ ลว้ ปิดจกุ นาไปเผาไฟจนดาเกรียมบดเป็นผง

ละลายกับนา้ ผ้ึงรบั ประทาน จะช่วยขับลม แก้ปวดท้องหรือป้ายลิ้นเด็กอ่อน เป็นยาขับข้ีเทาได้
2. นา้ มะกรูดใชถ้ กู ฟนั แก้เลือดออกตามไรฟัน
3. เอาผลมะกรูดมาดอง เป็นยาดองเปรี้ยวรับประทานขับลมขับระดู
4. เปลอื กผลฝานบาง ๆ ชงน้าเดือดใส่การะบูรเล็กน้อย รับประทานแก้ลมวงิ เวียน
5. เปลอื กฝนใช้ผสมในเคร่ืองสาอางบางชนิด เช่น แชมพู สบู

ทองพันชง่ั
ใบ รสเบ่ือเมา ดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง แก้รดิ สีดวงทวาร แกไ้ อเป็นเลือด ฆ่าพยาธิกลากเกล้ือน แก้

มะเร็ง
ราก รสเมาเบ่ือ ต้มรบั ประทานแก้พิษไข้ แก้โรคมะเรง็ เรื้อน วัณโรค โรคผวิ หนัง แกผ้ มหงอกเน่ืองจากเชื้อ

รา

ว่ำนหำงจระเข้
1.รกั ษาแผลไฟไหมแ้ ละน้าร้อนลวก โดยปอกเปลือกนอก นาวุ้นสดภายในใบไปล้างยางออกใหส้ ะอาด แล้ว

นาไปประคบแผลตลอด 2 วันแรก จะช่วยบรรเทาอาการปวดแสบปวดร้อน สมานแผลให้เร็วข้ึน และไมท่ ้ิงร่องรอย
แผลเป็นอีกดว้ ย

2.ป้องกนั และบรรเทารอยไหม้จากการออกแดด นาใบสด ๆ ของวา่ นหางจระเข้ผสมกับโลช่ันทาลงบน
ผวิ หนังก่อนออกแดด จะชว่ ยป้องกันแสงแดดได้ แต่ถ้าหากเกิดรอยไหม้ข้นึ บนผิวหนังหลังออกแดดแล้ว ให้ใช้วุน้ ที่ล้าง
สะอาดมาทาเพ่ือลดอาการอักเสบ ถ้าจะใหด้ ีลองผสมกับนา้ มันพืช หรือ น้ามันมะกอก เพื่อลดอาการผวิ แหง้ ตึงจนเกนิ ไป

3.บรรเทารอยไหมจ้ ากการฉายรังสขี องผปู้ ่วย โดยใช้วธิ ีการนาวนุ้ ว่านหางจระเขท้ ี่ล้างสะอาดมาประคบท่ี
รอยไหม้จากการทาคีโม จะช่วยบรรเทาอาการปวดแสบปวดรอ้ น และทาให้ฟื้นตัวเร็วขึ้น

4.สมานแผลจากของมีคมและแผลถลอก หากได้รับบาดเจ็บจากของมีคม ใช้ว้นุ จากวา่ นหางจระเข้ท่ยี งั มี
เมือกอยู่ แปะลงไปบนแผล จะช่วยเพ่ิมประสิทธภิ าพในการสมานแผลให้เร็วขนึ้ ได้

5.รกั ษาฝีและโรคริดสีดวงทวาร ทาความสะอาดบริเวณที่เกิดโรคให้แห้งแลว้ นาว้นุ ไปแปะลงบนแผล หาก
เป็นทวารหนักใหป้ อกวุ้นใหเ้ ป็นแท่งแล้วลา้ งใหส้ ะอาด นาไปแชเ่ ยน็ ให้แขง็ เพ่ือสอดเหน็บในช่องทวารหนักวันละ 1-2
คร้ัง อาการริดสีดวงจะดีข้ึน

กระวำนไทย
สรรพคุณ:ตารายาไทย: ผลแก่ รสเผด็ ร้อน กลิ่นหอม ใช้แก้อาหารท้องอืด ท้องเฟ้อ ชว่ ยขับลม และแก้

แน่นจุกเสียด มีฤทธ์ขิ ับลม และบารุงธาตุ แกธ้ าตุไม่ปกติ บารุงกาลัง ขับโลหติ แกล้ มในอกให้ปดิ ธาตุ แก้ลมเสมหะให้
ปดิ ธาตุ แก้ลมในลาไส้ เจรญิ อาหาร รักษาโรครามะนาด แก้ลมสนั นิบาต แก้สะอึก แกอ้ ัมพาตรักษาอาการเบื่ออาหาร

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม 8

โครงการเรียนรูป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวนั

คลื่นไส้ อาเจยี น เมล็ด แก้ธาตพุ ิการ อจุ จาระพิการ บารุงธาตุ ขับเสมหะ แก้ปวดท้อง ขับลม นอกจากน้ียังใชผ้ สมกับ
ยาถ่ายเพ่ือบรรเทาอาการไซ้ท้อง (คลนื่ ไส้อาเจยี น) เช่น มะขามแขก

เป็นสว่ นประกอบในพิกดั ยาไทย คือ พกิ ัดตรีธาตุ ประกอบดว้ ย กระวาน ดอกจันทน์ และอบเชย เป็นยาแก้
ธาตุพิการ แก้ลม แกเ้ สมหะ แกไ้ ข้ พิกัดตรีทุราวสา ประกอบด้วย ผลกระวาน ผลโหระพาเทศ ผลราชดดั เป็นยาแก้
เสมหะ แก้ลม บารุงน้าดี แก้พิษตานซาง

กระเทยี ม
1. แกป้ ญั หาผมหลดุ ร่วง
ปญั หาผมหลุดรว่ งคงเป็นปัญหากวนใจใครหลาย ๆ คน โดยเฉพาะสาวผมยาว และผมท่ีผา่ นการทาเคมี

ตา่ ง ๆ เชน่ การดัด ย้อม หรือยืด แต่ทราบไหมคะวา่ กระเทียมชว่ ยยับย้ังปัญหาเหล่าน้ีได้ชะงัด เพียงแค่ฝานกระเทียม
เปน็ ชนิ้ บาง ๆ แล้วนามานวดศีรษะ หรือจะผสมลงในออยล์แลว้ นามานวดศีรษะก็ได้เชน่ กัน เพราะในกระเทียมมีอัลซลิ นิ
(allicin) และซัลเฟอร์ (sulfur) สงู ซ่ึงมปี ระสิทธิภาพในการลดปญั หาผมหลุดรว่ งน่ันเอง

2. รักษาสวิ
กระเทียมถือเปน็ ยารักษาสิวจากธรรมชาติ ที่มีประสิทธภิ าพเปน็ อย่างมาก เพราะมแี อนตี้ออกซิแดนท์

ซงึ่ มีฤทธิ์ฆ่าเช้ือแบคทีเรยี ได้อยู่หมัด เราจึงสามารถนามาฆ่าเชอ้ื แบคทเี รียทีท่ าให้เกิดสิวได้ โดยฝานกระเทียมสดบาง ๆ
แล้วนามาประคบลงบนสวิ เบา ๆ ท้ิงไวส้ ักพัก แลว้ ลา้ งออกดว้ ยนาสะอาด เท่านส้ี ิวกวนใจก็จะอันตรธานหายไปอยา่ ง
แน่นอน

3. ป้องกนั และรกั ษาโรคหวดั
ถา้ เรามีสารแอนตี้ออกซิแดนท์พอเพียงในระบบภูมิคุ้มกัน เรากจ็ ะป่วยไดย้ าก ดังนัน้ คงจะดีไมน่ ้อยหาก

เราจะเพิ่มสารแอนต้ีออกซิแดนทใ์ หร้ ่างกายมีกาลงั ไปต่อสกู้ ับโรคต่าง ๆ ด้วยการรับประทานกระเทียมเป็นประจา แต่
หากตอนน้ีการป้องกันดูทา่ จะไม่ทนั เพราะโรคหวัดเข้ามาคุกคามเรียบร้อยแล้ว เรากส็ ามารถไล่หวดั ได้งา่ ย ๆ ดว้ ยการ
ห่นั กระเทยี มเป็นแว่น แช่ในน้ารอ้ นประมาณ 2-3 นาที แลว้ กรองเอากากออก จิบเป็นชากระเทียมอุ่น ๆ กด็ ี หรือถา้ ทน
กลิน่ ไม่ไหว จะเติมนา้ ผ้ึงหรือน้าขิงเข้าไปสักหน่อยก็ได้จ้า

4. บรรเทาอาการอักเสบจากโรคสะเก็ดเงนิ
เมื่อกระเทียมมีฤทธ์ติ ้านอาการอักเสบ ดงั นน้ั จึงชว่ ยบรรเทาอาการอกั เสบจากผ่นื แดงไดด้ ี โดยเฉพาะ

ผ่นื แดงที่เกิดจากโรคสะเกด็ เงิน ให้ทาน้ามนั กระเทียมบริเวณท่เี ป็นแผล เพ่ือให้สะเก็ดหลุดไป และลดผ่ืนแดงบนผวิ หนัง
กไ็ ด้ค่ะ

5. ชว่ ยควบคุมนา้ หนกั
ผลการศึกษาจาก Nutritionist Cynthia Sass ที่ทาการศึกษากบั หนูที่กินกระเทียมพบว่า หนูทก่ี ิน

กระเทียมมนี ้าหนักและการสะสมของไขมนั ลดลง ฉะนั้นก็พยายามกินกระเทียมทผี่ สมอยู่ในอาหารกันเยอะ ๆ หรือ
สาหรบั คนที่ทนกล่นิ ไม่ได้จริง ๆ ก็เลอื กกินอาหารเสรมิ อย่างเช่น กระเทียมอัดเมด็ ก็ไดค้ ่ะ

6. ถอนเสยี้ น
เส้ียนทต่ี าเทา้ หรือมือเราให้เจบ็ แปลบ สามารถกาจัดได้ง่าย ๆ ดว้ ยการแปะกระเทียมฝานบาง ๆ แลว้

พนั ทับดว้ ยผา้ พนั แผล วิธีนีเ้ ป็นวิธีธรรมชาติทีใ่ ช้กันมายาวนาน และไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็นวิธที ี่ไดผ้ ลจรงิ ดว้ ยค่ะ
7. กาจัดกลนิ่ เท้า
ปัญหากลน่ิ เทา้ เกิดจากการท่ีเท้าเจอความอบั ชนื้ ทาให้เกิดเช้อื รา ตามมาด้วยกลิ่นอันไมพ่ ึงประสงค์

และอาการคนั แต่เราสามารถแกป้ ัญหาได้ง่าย ๆ ด้วยการแช่เท้าลงในน้าอุ่นผสมกระเทียมบด ท้งิ ไว้สักพัก กลนิ่ ไม่พงึ
ประสงค์และอาการคันก็จะหายไป เพราะในกระเทียมมีฤทธิ์ฆ่าเช้ือราน่ันเองจ้า

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 9

โครงการเรียนรู้ประโยชน์จากสมุนไพรในชวี ปิ ระจาวัน

8. ไลย่ ุงและแมลงสตั วก์ ัดต่อย
แม้นักวิทยาศาสตร์จะยงั ไมฟ่ ันธงวา่ กระเทียมจะสามารถไล่ยุงและแมลงได้ แตก่ ็มีผลการวิจัยจาก

ประเทศอินเดยี ท่ีพบว่า คนที่ทากระเทียมลงบนแขนขา จะโดนยุงและแมลงสตั ว์กัดต่อยทุกชนดิ รบกวนน้อยกว่าคนท่ี
ไม่ได้ทา เขาเลยแนะนาให้ทายากันยุงงา่ ย ๆ ด้วยการผสมนา้ มันกระเทียม ปิโตรเลียมเจล และขผ้ี ้ึงเข้าดว้ ยกัน หรือจะ
ทากระเทยี มสด ๆ ลงบนแขนขาเพื่อป้องกันยงุ ก็แลว้ แต่สะดวกเลยค่ะ

9. รักษาโรคส่าไข้
โรคส่าไข้เกิดจากเชือ้ ไวรสั กลุ่ม Human Herpesvirus Type 6(HHV 6) ซง่ึ อาการของโรคจะ

คลา้ ยคลงึ กับโรคหัด หรืออีสกุ อใี ส เพราะจะเกดิ ตุ่มแดง และแผลอักเสบบนรา่ งกาย ซง่ึ วิธีรักษาด้วยธรรมชาติท่เี หน็ ผลก็
คือ นากระเทยี มบดมาประคบลงบนแผลโดยตรง เพ่ือรักษาอาการอักเสบและลดอาการบวม ร่วมกับการรับประทาน
อาหารเสริมจากสารสกัดกระเทียม เชน่ กระเทยี มอัดเมด็ หรือน้ามนั กระเทยี มก็จะช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น

ขิง
สรรพคุณ
1. ขิง จัดวา่ เปน็ ยาอายุวฒั นะช้ันยอด
2. มีสารต่อต้านอนมุ ลู อสิ ระเป็นจานวนมาก ชว่ ยชะลอความแก่และชะลอการเกิดรว้ิ รอย
3. มสี ว่ นชว่ ยในการป้องกันต่อต้านการเกิดโรคมะเรง็ ตอ่ ต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
4. ช่วยลดผลข้างเคยี งจากสารเคมที ่ีใช้ในการรักษามะเร็ง ดงั น้ันควรรับประทานขิงควบคู่ไปกับการ

รักษามะเร็งจะเปน็ ผลดี
5. ขิงมีฤทธิ์อนุ่ ช่วยใหร้ า่ งกายอบอุน่ และชว่ ยในการขับเหงื่อ
6. ชว่ ยแก้อาการร้อนใน ด้วยการใชล้ าต้นสดๆนามาทบุ ให้แหลกประมาณ 1 กามือ แล้วต้มนา้ ดมื่
7. ช่วยลดความอว้ น ลดระดับไขมนั คอเลสเตอรอล ดว้ ยการดูดซมึ คอเลสเตอรอลจากลาไส้ แล้วปล่อย

ใหร้ ่างกายกาจดั ออกทางอุจจาระ
8. ช่วยรักษาอาการปวดศรี ษะและไมเกรน ด้วยการรับประทานน้าขงิ บ่อยๆ
9. ช่วยลดความยากของผ้ตู ิดยาเสพติดลงได้
10. แก้ตานขโมย ดว้ ยการใช้ขิง ใบกะเพรา พรกิ ไทย ไพล มาบดผสมกันแล้วนามารับประทาน
11. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิต ดว้ ยการนาขิงสดมาฝานต้มกับน้ารับประทาน
12. ชว่ ยบารงุ หัวใจของคุณให้แข็งแรง
13. ช่วยบรรเทาอาการของโรคประสาท ซ่ึงทาใหจ้ ิตใจขุ่นมัว (ดอก)
14. ชว่ ยฟนื้ ฟูรา่ งการสาหรับมารดาหลังคลอดบุตร ดว้ ยการรับประทานไก่ผดั ขิง

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม 10

โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวิประจาวนั

บทท่ี 3
วิธดี ำเนินงำน

การดาเนินโครงการเรียนรูป้ ระโยชน์จากสมนุ ไพรในชีวติ ประจาวนั ไดด้ าเนนิ การตามขัน้ ตอนตา่ ง ๆ
ดังนี้

1. ขัน้ เตรยี มกำร

 กำรศึกษำเอกสำรทเี่ กยี่ วข้องกับกำรดแู ลรกั ษำสุขภำพกำยและสขุ ภำพจติ
ผู้รบั ผิดชอบโครงการได้ศึกษาค้นควา้ เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องเพื่อเปน็ ข้อมลู และแนวทางในการดาเนนิ การ

จดั โครงการเรยี นรปู้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชวี ิตประจาวนั ดงั นี้
1. ศึกษาเอกสาร / คมู่ ือ ข้อมูลจากหนังสอื ปรธโยชน์จากสมนุ ไพรชนดิ ตา่ ง ๆ เพอื่ เป็นแนวทาง

เก่ยี วกบั การจดั โครงการเรยี นรปู้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชีวติ ประจาวนั
2. ศึกษาขนั้ ตอนการดาเนนิ โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวิตประจาวัน เพอื่ เป็นแนวทาง

ในการจัดเตรียมงาน วัสดอุ ุปกรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม

 กำรสำรวจควำมตอ้ งกำรของประชำชนในพนื้ ท่ี (ตำมนโยบำยของรัฐบำล)
กลุ่มภารกจิ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบล สารวจความต้องการของ

กล่มุ เป้าหมายเพื่อทราบความตอ้ งการทแ่ี ท้จริงของประชาชนในตาบล และมขี ้อมลู ในการจัดกิจกรรมที่ตรงกบั ความ
ตอ้ งการของชุมชน

 กำรประสำนงำนผู้นำชุมชน/ประชำชน
ครู กศน.ตาบล ไดป้ ระสานงานกับหวั หน้า/ผ้นู าชมุ ชนและประชาชนในตาบลเพ่ือรว่ มกันปรึกษาหารือ

ในกลุม่ เกยี่ วกับการดาเนินการจดั โครงการใหต้ รงกบั ความต้องการของชุมชน

 กำรประชำสมั พนั ธ์โครงกำรฯ
ครู กศน.ตาบลได้ดาเนินการประชาสมั พันธ์การจดั โครงการเรยี นรู้ประโยชน์จากสมุนไพรใน

ชีวิตประจาวนั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนในตาบลได้รับทราบข้อมูลการจัดกิจกรรมดงั กลา่ วผ่านผู้นาชุมชน

 ประชุมเตรียมกำร / วำงแผน
1) ประชมุ ปรกึ ษาหารือผู้ท่เี ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย
2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายตา่ ง ๆ เตรียมดาเนนิ การ
3) มอบหมายหน้าที่ แต่งตัง้ คณะทางาน

 กำรรบั สมัครผู้เข้ำรว่ มโครงกำรฯ
กศน.ตาบลได้รับสมัครผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเรียนรูป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวิตประจาวนั โดยให้

ประชาชนในพื้นท่เี ขา้ รว่ มโครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวิตประจาวัน เปน็ ประชาชนตาบลทุง่ ขวาง
จานวน 20 คน

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง สงั กดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม 11

โครงการเรยี นรปู้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวนั

 กำหนดสถำนท่แี ละระยะเวลำดำเนนิ กำร
สถานทดี่ าเนนิ การ การจดั กิจกรรมอบรมใหค้ วามรู้ ในวนั ท่ี 11 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ โรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพตาบลท่งุ ขวาง อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี

2. ขั้นดำเนินงำน

 กลุ่มเปำ้ หมำย
ประชาชนตาบลทงุ่ ขวาง จานวน 20 คน

 สถำนทีด่ ำเนินงำน
คณะครู กศน.ตาบล และครูศนู ย์การเรยี นชุมชนร่วมกนั จัดกิจกรรมตามโครงการเรียนรู้การใช้

ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิตประจาวนั โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในวนั ท่ี 11 กุมภาพนั ธ์ 2563
ณ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลทุ่งขวาง อาเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี

 กำรขออนุมตั ิแผนกำรจดั กิจกรรมกำรศกึ ษำเพื่อพัฒนำทักษะชีวิต
กศน.ตาบลไดด้ าเนินการขออนุมตั ิแผนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ต่อสานักงาน

กศน.จงั หวัดชลบุรี เพ่ือให้ตน้ สังกัดอนุมตั แิ ผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต

 กำรทำจดั ทำเครือ่ งมือกำรวัดควำมพงึ พอใจของผ้รู ว่ มกิจกรรม
เคร่ืองมือที่ใช้ในการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

 ข้นั ดำเนนิ กำร / ปฏบิ ตั ิ
เสนอโครงการเพอื่ ขอความเห็นชอบ/อนมุ ตั จิ ากต้นสังกดั
วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการเรียนร้กู ารใชป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชวี ิตประจาวนั
โดยกาหนดตารางกจิ กรรม มอบหมายงานใหแ้ ก่ผรู้ ับผิดชอบฝา่ ยต่าง ๆ
แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนนิ งาน
ประชาสมั พันธ์โครงการเรยี นรกู้ ารใชป้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชีวิตประจาวัน
จัดกิจกรรมโครงการเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากสมนุ ไพรในชีวิตประจาวนั ตามตารางกจิ กรรมที่

กาหนดการ
ตดิ ตามและประเมินโครงการเรยี นร้กู ารใชป้ ระโยชน์จากสมุนไพรในชวี ิตประจาวนั

3. กำรประเมินผล

 กำรวิเครำะห์ข้อมูล
1 บนั ทึกผลการสังเกตจากผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม
2. วิเคราะห์ผลจากการประเมินจากแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
3 รายงานผลการปฏบิ ัติงานรวบรวมสรุปผลการปฏิบัตงิ านของโครงการนาเสนอตอ่ ผบู้ รหิ าร

นาปญั หา ข้อบกพร่องไปแกไ้ ขครงั้ ต่อไป

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สงั กดั กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 12

โครงการเรยี นรูป้ ระโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวปิ ระจาวนั

 คำ่ สถติ ิท่ีใช้
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ใชค้ า่ สถิติรอ้ ยละในการประมวลผลข้อมูลสว่ นตัวและตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ของ

โครงการตามแบบสอบถามคิดเป็นรายขอ้ โดยแปลความหมายคา่ สถติ ิร้อยละออกมาไดด้ ังนี้
คา่ สถติ ิร้อยละ 90 ข้ึนไป ดีมาก
คา่ สถติ ริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี
ค่าสถิติรอ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้
คา่ สถิตริ อ้ ยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง
ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งด่วน
สว่ นการวิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซง่ึ มลี กั ษณะเป็นค่านา้ หนักคะแนน และ

นามาเปรียบเทียบ ไดร้ ะดบั คุณภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี
 เกณฑก์ ำรประเมิน
ค่านา้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คอื ดมี าก
คา่ นา้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี
คา่ นา้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คือ พอใช้
ค่านา้ หนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คุณภาพ คอื ตอ้ งปรบั ปรุง
คา่ น้าหนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คอื ต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 13

โครงการเรยี นร้ปู ระโยชน์จากสมุนไพรในชวี ปิ ระจาวัน

บทที่ 4
ผลกำรดำเนนิ งำนและกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู

ตอนท่ี 1 รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการเรียนรูก้ ารใชป้ ระโยชน์จากสมนุ ไพรในชวี ติ ประจาวนั

การจัดกจิ กรรมโครงการเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากสมนุ ไพรในชวี ิตประจาวัน ซ่งึ ได้สรุปรายงานผล
การจัดกิจกรรม คือ ในการจัดกจิ กรรมอบรมให้ความรูต้ ามโครงการเรียนรกู้ ารใช้ประโยชนจ์ ากสมนุ ไพรใน
ชวี ติ ประจาวัน เป็นการอบรมให้ความรู้ โดยมีจ่าสิบเอกธเนศ ดาวเรอื ง เป็นวทิ ยากรในการบรรยายให้ความรู้ในเรอ่ื ง
ประโยชน์ของสมุนไพรทม่ี ีอย่ใู นชีวติ ประจาวนั นอกจากน้ันยงั ใหผ้ ู้รว่ มกิจกรรมได้นาประสบการณข์ องตนเองมา
แลกเปลี่ยนเรียนร้ซู ่ึงกันและกัน ทาใหผ้ ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมได้รบั ความรแู้ ละเกิดจติ สานกึ ที่ดใี นการดแู ลตนเอง ท้งั
ทางด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของตนเอง

หลังจากเสร็จสิ้นกจิ กรรมดงั กลา่ วแล้ว ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมไดม้ ีการนาเสนอความคดิ เห็นเพม่ิ เตมิ และ
แลกเปลี่ยนแนวคดิ เกีย่ วกบั ประสบการณ์ในการดูและสุขภาพกายรวมทัง้ สขุ ภาพจิตของแตล่ ะคน อนั จะเปน็
ประโยชน์ซงึ่ กันและกัน ตลอดจนนาความรทู้ ่ีไดร้ ับไปปรบั ใช้ในการดาเนินชีวิตของตนเองต่อไป โดยเนน้ ใหผ้ ูร้ ว่ ม
กจิ กรรมไดน้ าความรู้ไปใชใ้ นการดูแลตนเองเกยี่ วกบั การดูแลสขุ ภาพกายของตนเอง การออกกาลงั กายและการดูแล
สุขภาพจิตซง่ึ ผ้รู ว่ มกิจกรรมสามารถปฏบิ ตั ไิ ดด้ ้วยตนเอง

ตอนที่ 2 การจดั กจิ กรรมโครงการเรียนรกู้ ารใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวิตประจาวนั ซ่งึ ได้สรปุ รายงานผล

จากแบบสอบถามความคิดเห็น ข้อมลู ท่ีได้สามารถวเิ คราะหแ์ ละแสดงค่าสถิติ ดงั นี้

ตำรำงที่ 1 ผู้เขำ้ รว่ มกจิ กรรมโครงกำรเรยี นรู้กำรใชป้ ระโยชน์จำกสมนุ ไพรในชวี ติ ประจำวนั ทตี่ อบ
แบบสอบถำม จำแนกไดด้ ังน้ี

รำยละเอียด จำนวน(คน) ร้อยละ

เพศ

ชาย 1 4.54

หญิง 21 95.45

รวม 22 100.00

อำยุ

ต่ากว่า 15 ปี --
16 - 39 ปี --
40 - 49 ปี 2 9.09

50 - 59 ปี 13 59.09
60 ปขี น้ึ ไป 7 31.81

รวม 22 100.00

รำยละเอยี ด จำนวน (คน) รอ้ ยละ

อำชีพ 7 31.81
รบั จา้ ง

คา้ ขาย 6 27.27
เกษตรกรรม 1 4.54
อนื่ ๆ 8 36.36

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจดั กจิ กรรม 14

โครงการเรยี นรู้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรในชีวิประจาวนั

รวม 22 100.00

ระดับกำรศึกษำ

ประถมศึกษา 2 9.09

ม.ต้น 9 40.90

ม.ปลาย 10 45.45

ปวช. 1 4.54

ปรญิ ญาตรี --

สงู กวา่ ปริญญาตรี --

รวม 22 100.00

ผลสำเรจ็ ของโครงกำร

เปา้ หมาย 20 100.00

ผู้เข้าร่วมโครงการ 22 100.00

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่เี ขา้ ร่วมโครงการเรยี นรกู้ ารใช้ประโยชน์จากสมุนไพรใน

ชีวิตประจาวนั จานวน 22 คน เปน็ เพศหญิง จานวน 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.45 และเป็นเพศชาย

จานวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.54

โดยเปน็ ผทู้ ี่มอี ายุ 40-49 ปี จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.09 มอี ายุ 50-59 ปี จานวน 13 คน

คดิ เป็นร้อยละ 59.09 และอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.81

โดยผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมประกอบอาชพี รบั จ้าง จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 31.81 อาชพี ค้าขาย จานวน

6คน คดิ เป็นร้อยละ 27.27 อาชีพเกษตรกรรม จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.54 และประกอบอาชีพอน่ื ฯ

จานวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.36

โดยมีการศึกษาระดับประถมศกึ ษา จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

จานวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 40.50 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 45.45 ระดบั

ปวช. จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.54

โดยมีผู้เข้ารว่ มโครงการทั้งสน้ิ จานวน 22 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 ซ่งึ บรรลุเป้าหมายดา้ นตัวชี้วัด

ผลผลิต

กศน.ตาบลทุง่ ขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรม 15

โครงการเรียนรูป้ ระโยชนจ์ ากสมุนไพรในชวี ปิ ระจาวนั

ตำรำงท่ี 2 แสดงคำ่ รอ้ ยละเฉลย่ี ควำมสำเร็จของตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ ดงั ปรำกฏตำมตำรำงที่ 2 ดังต่อไปน้ี

รายการประเมิน คา่ สถติ ิ ระดบั คุณภาพ คา่ น้าหนัก ระดับ
ตอนที่ 1 ควำมพึงพอใจดำ้ นเนือ้ หำ รอ้ ยละ คะแนนท่ี คุณภา
มาก พอใช้ ตอ้ ง ต้อง ได้ พ
ดมี าก
ปรับ ปรบั ปรงุ 4.59 ดมี ำก
91.88 √ ปรุง เร่งดว่ น ดีมาก
ดีมาก
1. เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 90.00 √ 4.50 ดมี าก
ดมี าก
2. เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 90.00 √ 4.50
ดีมำก
3. เนือ้ หาปจั จบุ นั ทนั สมัย 93.33 √ 4.67 ดีมาก
ดมี าก
4. เนื้อหามีประโยชน์ตอ่ การนาไปใชใ้ น 94.17 √ 4.71
การพฒั นาคุณภาพชวี ิต ดีมาก
ดมี าก
ตอนที่ 2 ควำมพงึ พอใจดำ้ น 93.67 √ 4.68
ดีมาก
กระบวนกำรจดั กิจกรรม/กำรอบรม
ดมี ำก
5. การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 95.83 √ 4.79 ดีมาก

6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั 91.67 √ 4.58 ดีมาก
วตั ถุประสงค์
ดีมาก
7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 94.17 √ 4.71
ดมี ำก
8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับ 92.50 √ 4.63
กลุ่มเป้าหมาย ดมี าก

9. วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสม 94.17 √ 4.71 ดีมาก
กบั วตั ถปุ ระสงค์
ดมี าก
ตอนท่ี 3 ควำมพึงพอใจตอ่ วทิ ยำกร 93.33 √ 4.67 ดีมำก

10. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถใน 93.33 √ 4.67
เร่อื งท่ีถา่ ยทอด

11. วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้ 93.33 √ 4.67
สอ่ื เหมาะสม

12. วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ ม 93.33 √ 4.67
และซกั ถาม

ตอนที่ 4 ควำมพงึ พอใจด้ำนกำรอำนวย 94.17 √ 4.71
ควำมสะดวก 95.00 √ 4.75

13. สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่ง
อานวยความสะดวก

14. การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ 94.17 √ 4.71
เพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนรู้

15. การบริการ การช่วยเหลือและการ 93.33 √ 4.67
แกป้ ญั หา

เฉล่ียรวม 93.26 √ 4.66

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนัสนิคม

สรปุ ผลการจดั กิจกรรม 16

โครงการเรียนร้ปู ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวัน

จำกตำรำงท่ี 2 พบวา่ ในภาพรวมของกจิ กรรม ผ้รู ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจคิดเปน็ รอ้ ยละ 93.26
มีค่าน้าหนัก 4.66 อย่ใู นระดับคณุ ภาพดีมาก

เมอื่ คิดเป็นรำยด้ำน เรียงลำดบั ไดด้ ังน้ี
อนั ดบั แรก

- ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก คิดเปน็ ร้อยละ 94.17 มีค่าน้าหนกั คะแนน 4.66 อยู่
ในระดับดีมาก

อนั ดับสอง
- ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรม/การอบรม คิดเป็นรอ้ ยละ 93.67 มคี ่าน้าหนัก

คะแนน 4.68 อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก
อันดับสำม
- ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร คิดเป็นร้อยละ 93.33 มคี ่านา้ หนกั คะแนน 4.67 อยใู่ นระดับคุณภาพ

ดมี าก
อนั ดบั สุดทำ้ ย
- ความพงึ พอใจด้านเนือ้ หา คิดเป็นรอ้ ยละ 91.88 มคี า่ น้าหนักคะแนน 4.59 อยใู่ นระดับ

คุณภาพดีมาก

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกดั กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 17

โครงการเรียนรู้ประโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวัน

บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

ผลการจดั กจิ กรรมโครงการเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากสมนุ ไพรในชวี ติ ประจาวนั ไดผ้ ลสรปุ ดังนี้

วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความร้เู กีย่ วกับสมนุ ไพรในชีวิตประจาวัน
2. เพื่อให้ผรู้ ่วมกิจกรรมนาความรู้ทีไ่ ด้รบั มาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั

เป้ำหมำย

เชงิ ปริมำณ
- ประชาชนตาบลทุง่ ขวาง จานวน 22 คน

เชิงคณุ ภำพ
- ประชาชนตาบลทงุ่ ขวางมีความรู้เกยี่ วกบั สมุนไพรและนามาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวัน

เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นกำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู

เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในคร้งั น้ี คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ

กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตาบลทร่ี บั ผิดชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของผู้ร่วมกจิ กรรม โดยใหผ้ ู้รว่ มกิจกรรมประเมินผลการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ตามโครงการเรยี นรู้การใช้
ประโยชน์จากสมุนไพรในชีวติ ประจาวนั

สรุปผลกำรดำเนินกำร

กศน.ตาบลทงุ่ ขวาง ได้ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามโครงการเรยี นรูก้ ารใช้ประโยชนจ์ ากสมุนไพรใน
ชวี ิตประจาวนั โดยดาเนินการแล้วเสร็จและสรปุ รายงานดงั น้ี

1. ผู้ร่วมกจิ กรรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความหมายของสขุ ภาวะและสุขอนามัยท่ีดี ด้านการ
ใชป้ ระโยชน์ และสรรพคุณของสมุนไพรชนดิ ต่าง ๆ มีการเรียนรเู้ ก่ียวกบั ลักษณะของบุคคลท่มี สี ขุ ภาพกายที่ดี
รวมทงั้ สามารถนาความร้ทู ี่ได้ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวันของตนเองโดยเฉพาะประโยชนข์ องอาหารทม่ี ีผลดตี ่อ
สขุ ภาพของแตล่ ะคน รวมทงั้ ปจั จัยท่สี ่งผลถึงการมสี ุขภาพกายท่ดี ี นอกจากนั้นยังไดเ้ รยี นร้วู ธิ กี ารรกั ษาสุขภาพ
รา่ งกายของตนเองให้แขง็ แรงอีกดว้ ย

2. ผู้ร่วมกิจกรรมร้อยละ 93.26 มแี นวคิดในการนาความรู้ความเขา้ ใจดังกลา่ วไปสู่การปฏิบตั จิ รงิ
ในการดารงชีวติ ของตนเองมากขนึ้ โดยเน้นใหผ้ ้รู ว่ มกิจกรรมไดป้ ฏบิ ตั ิเปน็ ประจาทุกวนั ทง้ั การออกกาลังกายและ
การฝกึ จติ เพ่ือให้แตล่ ะคนมีสุขภาวะและสขุ อนามัยที่ดี อันจะนาไปสู่การมีสขุ ภาพกายและจติ ท่ีสมบรู ณ์

3. จากการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการดงั กล่าว สรุปโดยภาพรวมพบว่า ผรู้ ่วมกิจกรรมส่วนใหญ่
มคี วามคดิ เหน็ ตอ่ การจัดกจิ กรรมโดยเฉลยี่ อยู่ในอยูใ่ นระดับ “ดมี ำก” และบรรลุความสาเร็จตามเปา้ หมายตัวชี้วดั
ผลลัพธท์ ีต่ ั้งไว้ โดยมีค่าเฉล่ียร้อยละภาพรวมของกิจกรรม 93.26 และค่าการบรรลุเป้าหมายค่าเฉลย่ี 4.66

กศน.ตาบลท่งุ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นคิ ม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 18

โครงการเรียนร้ปู ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวนั

ปัญหำ/ข้อเสนอแนะ

- ไมม่ ี

กศน.ตาบลท่งุ ขวาง สงั กัด กศน.อาเภอพนสั นิคม

สรปุ ผลการจัดกิจกรรม 19

โครงการเรียนรูป้ ระโยชนจ์ ากสมนุ ไพรในชีวปิ ระจาวนั

ผู้จดั ทำรำยงำน

ทป่ี รกึ ษำ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอพนัสนิคม
ครู
นางณชั ธกัญ หมื่นสา
นางสาวมทุ กิ า การงานดี

ผู้จดั ทำรำยงำน ครู กศน.ตาบลทุง่ ขวาง

นางสาวนิตยา น้าฟา้

กศน.ตาบลทุ่งขวาง สังกัด กศน.อาเภอพนัสนคิ ม


Click to View FlipBook Version