The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. 11 สค 66 กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookchon, 2023-09-01 01:47:12

เล่มโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. 11 สค 66

เล่มโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. 11 สค 66 กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต

จัดท ำโดย ศ ู นยส ์ ่งเสร ิ มกำรเร ี ยนร ู ้ อำ เภอบำ ้ นบง ึ ส ำนักงำนส่งเสร ิ มกำรเร ี ยนร ู ้จังหวัดชลบุรี เล่มท ี่/2566 ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ รพ.สต.บ้านอ่างเวียน ต าบลหนองอิรุณ อ าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี รายงานผล โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ประจ าปีงบประมาณ 2566


ค าน า เอกสารสรุปผลการด าเนินงาน โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง กิจกรรมดังกล่าว ด าเนินการ เสร็จสิ้นไปด้วยดี ซึ่งรายละเอียดผลการด าเนินการต่างๆ ตลอดจนข้อเสนอแนะได้สรุปไว้แล้ว ต้องขอขอบคุณ ทางส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดชลบุรีที่ให้การสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจนค าปรึกษาแนะน า ในการ จัดกิจกรรมดังกล่าว รวมทั้งบุคลากรของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง ทุกท่าน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ส าหรับผู้ที่ ต้องการศึกษาหาข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการจัดโครงการฯ ในลักษณะนี้และหากมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดขาดตก บกพร่อง คณะผู้จัดท าพร้อมที่จะน้อมรับไว้เพื่อจะปรับปรุง ในโอกาสต่อไป ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง สิงหาคม 2566


สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า ก สารบัญ ข โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. 1 หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 เป้าหมาย 2 วิธีด าเนินการ 2 งบประมาณ 3 สรุปผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ 3 สรุปผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัด 3 สรุปผลในภาพรวม 3 ภาพประกอบโครงการ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม 5 ตาราง ก ตาราง ข แบบประเมินความพึงพอใจ ภาคผนวก


1. โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. 2. หลักการและเหตุผล ในประเทศไทยมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หากไม่มีการเตรียมความพร้อมรับมือ อาจ ส่งผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมได้ นอกจากนี้ พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า มีความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ กรมอนามัย จึงได้เร่งด าเนินการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ โดยเน้น 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มผู้สูงอายุสุขภาพดี โดยการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง และชะลอการเกิดโรคเรื้อรัง กลุ่มที่ 2 คือผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยให้สามารถรักษาตนเอง และบรรเทาอาการเจ็บป่วยให้ดีขึ้นได้จากการพิการหรือทุพพลภาพ “ทั้งนี้ การปฏิบัติตนที่ถูกต้องและ เหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ. ได้แก่ 1.อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2.อ.ออกก าลังกาย โดยออกก าลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้น จังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอ ออกก าลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ า เป็นต้น และหลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินก าลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ าหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า 3.อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลก ในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้ค าแนะน าแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง 4.อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูน คุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบ ท าแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือ ธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้ค าปรึกษาแนะน าฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ 5.อ.อนามัย สร้าง อนามัยดี ชีวีมีสุข น าพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด”การที่ผู้สูงอายุจะมีสุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนยาวอย่างมีความสุข มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีได้นั้น ไม่เพียงแต่การเตรียมความพร้อมหรือการปฏิบัติตัวผู้สูงอายุเองเท่านั้น ลูกหลาน ครอบครัวก็ควร ใส่ใจดูแลผู้สูงอายุด้วย รวมทั้งสังคมก็ควรเกื้อหนุนอ านวยความสะดวกในสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง มอบหมายให้ศูนย์การเรียนรู้ต าบลหนองชาก ศูนย์การเรียนรู้ ต าบลคลองกิ่ว ศูนย์ต าบลหนองไผ่แก้ว และศูนย์การเรียนรู้ต าบลหนองอิรุณ จึงได้จัดท า“โครงการส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ.” ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและผู้สูงอายุมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้าง สุขภาพด้วยสมุนไพรไทย 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาพ การดูแลตนเองด้วยสมุนไพรไทย และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวัย ด้วยหลัก 5 อ. 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยการออกก าลังกายเพิ่มมากขึ้น 1


4. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จ านวน 22 คน ต าบลคลองกิ่ว จ านวน 6 คน ต าบลหนองชาก จ านวน 5 คน ต าบลหนองไผ่แก้ว จ านวน 5 คน ต าบลหนองอิรุณ จ านวน 6 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสริมสร้างสุขภาพด้วยหลัก 5 อ โดยมีความตระหนักถึงการดูแล สุขภาพด้วยการออกก าลังกายและการมีความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย 5. วิธีการด าเนินการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง ได้จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ รพ.สต.บ้านอ่างเวียน ต าบลหนองอิรุณ อ าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ตารางที่1กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรมโครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง ได้วางแผนกิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรมโครงการ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. รายละเอียดกิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินโครงการดังแสดงในตาราง รายการ การด าเนินงาน การวางแผน (Plan) 1. ส ารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น การด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. เขียนโครงการเสนอเพื่อของบประมาณ 3. ก าหนดแผนและปฏิทินการด าเนินงาน 4. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดโครงการตามตามยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. ด าเนินงานติดต่อประสานงานสถานที่ และผู้เข้าร่วมโครงการฯ 6. ก าหนดการจัดโครงการฯ การปฏิบัติ (Do) 1. ด าเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ 2. น ากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ใน วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ รพ .สต.บ้ านอ่างเวียน ต าบลหนองอิรุณ อ าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี การตรวจสอบ / ประเมินผล (Check) 1. จากการสังเกตพฤติกรรม การฝึกปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมาย 2. จากการพูดคุย และสอบถามกลุ่มเป้าหมาย 3. กลุ่มเป้าหมายกรอกแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการฯ แนวทางการน าผลการประเมินไป ปรับปรุง (Act) 1. จัดให้มีระบบติดตามหลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง 2. น าค าแนะน าจากผู้เข้าร่วมโครงการไปทบทวนและก าหนดแนวทางในการจัด กิจกรรมในครั้งต่อไป 2


6. งบประมาณ เงินงบประมาณปี พ.ศ.2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน เพื่อเป็น ค่าใช้จ่าย ในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 จ านวนเงิน 2,530 บาท (สองพันห้าร้อยสามสิบบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้ ที่ รายการ จ านวน (หน่วย) ราคา:หน่วย (บาท) จ านวนเงิน (บาท) หมายเหตุ 1 ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 200 600 (1 คน x 200 บาท x 3 ชั่วโมง) 2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 22 คน 25 550 (22 คน x 25 บาท x 1 มื้อ) 3 ค่าวัสดุฝึกอบรม 1,380 รวมทั้งสิ้น 2,530 หมายเหตุขอถัวจ่ายจริงทุกประการ 7. สรุปผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ ผลการด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง ได้ด าเนินการจัดกิจกรรม ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้างการดูแล สุขภาพด้วยหลัก 5 อ. และการดูแลสุขภาพตนเองด้วยสมุนไพรไทยและปฏิบัติการท าสเปรย์ตะไคร้หอม ไล่ยุง 8. สรุปผลการด าเนินงานตามเป้าหมายตัวชี้วัดโครงการ ผลการด าเนินงานตามเป้าหมายตัวชี้วัดโครงการของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง เป้าหมาย ที่ได้รับมอบหมาย จ านวน 22 คน ผลการด าเนินงานมีผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปผลการด าเนินงานบรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดโครงการ 9. สรุปผลในภาพรวม ตามที่ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ด าเนินงานเดือนสิงหาคม 2566 สรุปภาพรวมของโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุอยู่ในช่วง อายุเฉลี่ย : 60.27 ปี 3


10. ภาพประกอบโครงการ 4


11. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการฝึกอบรม 1) จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ : เป็นไปตามเป้าหมาย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 22 คน ร้อยละ 100 2) อายุเฉลี่ย : 60.27 ปี 3) อาชีพ : แม่บ้าน รับจ้าง และค้าขาย ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ต่อภาพรวมโครงการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง ได้จัดอบรมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. โดยการแปลความหมายของข้อมูลการประมาณค่า 5 ระดับและเกณฑ์ เกณฑ์การพิจารณาขอบเขตของคะแนนเพื่อใช้ในการแปลความหมายของค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด เกณฑ์การพิจารณาระดับคุณภาพคะแนนร้อยละ คะแนนร้อยละ 45.00 – 54.00 ระดับคุณภาพ ปรับปรุง คะแนนร้อยละ 55.50 – 64.00 ระดับคุณภาพ น้อย คะแนนร้อยละ 65.00 – 74.00 ระดับคุณภาพ ปานกลาง คะแนนร้อยละ 75.00 – 84.00 ระดับคุณภาพ ดี คะแนนร้อยละ 85.00 – 100 ระดับคุณภาพ ดีมาก 5


ภำคผนวก


รายงานผลการด าเนินงาน โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ประจ าปีงบประมาณ 2566 ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวสุพาพร สีดา 2. นางสาวณัฐธยาน์ หวังเคียงกลาง 3. นางสาวกัณห์สิภัทร เหลืองนภัส 4. นางสาวสุพิชญา ค าผง 1.หลักการและเหตุผล ในประเทศไทยมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หากไม่มีการเตรียมความพร้อมรับมือ อาจ ส่งผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมได้ นอกจากนี้ พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า มีความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ กรมอนามัย จึงได้เร่งด าเนินการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ โดยเน้น 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มผู้สูงอายุสุขภาพดี โดยการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง และชะลอการเกิดโรคเรื้อรัง กลุ่มที่ 2 คือผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยให้สามารถรักษาตนเอง และบรรเทาอาการเจ็บป่วยให้ดีขึ้นได้จากการพิการหรือทุพพลภาพ “ทั้งนี้ การปฏิบัติตนที่ถูกต้องและ เหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ. ได้แก่ 1.อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2.อ.ออกก าลังกาย โดยออกก าลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้น จังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกก าลังกายอย่างสม่ าเสมอ ออกก าลังกายอย่างเหมาะสม มี หลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ า เป็นต้น และ หลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินก าลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ าหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า 3.อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลก ในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้ค าแนะน าแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง 4.อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูน คุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบ ท าแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือ ธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้ค าปรึกษาแนะน าฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ 5.อ.อนามัย สร้าง อนามัยดี ชีวีมีสุข น าพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด”การที่ผู้สูงอายุจะมีสุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนยาวอย่างมีความสุข มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีได้นั้น ไม่เพียงแต่การเตรียมความพร้อมหรือการปฏิบัติตัวผู้สูงอายุเองเท่านั้น ลูกหลาน ครอบครัวก็ควร ใส่ใจดูแลผู้สูงอายุด้วย รวมทั้งสังคมก็ควรเกื้อหนุนอ านวยความสะดวกในสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอบ้านบึง มอบหมายให้ศูนย์การเรียนรู้ต าบลหนองชาก ศูนย์การเรียนรู้ ต าบลคลองกิ่ว ศูนย์ต าบลหนองไผ่แก้ว และศูนย์การเรียนรู้ต าบลหนองอิรุณ จึงได้จัดท า“โครงการส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ.” ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและผู้สูงอายุมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้าง สุขภาพด้วยสมุนไพรไทย


2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาพ การดูแลตนเองด้วยสมุนไพรไทย และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวัย ด้วยหลัก 5 อ. 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยการออกก าลังกายเพิ่มมากขึ้น 3.เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จ านวน 22 คน ต าบลคลองกิ่ว จ านวน 6 คน ต าบลหนองชาก จ านวน 5 คน ต าบลหนองไผ่แก้ว จ านวน 5 คน ต าบลหนองอิรุณ จ านวน 6 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสริมสร้างสุขภาพด้วยหลัก 5 อ โดยมีความตระหนักถึงการดูแล สุขภาพด้วยการออกก าลังกายและการมีความรู้ในการเสริมสร้างสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย 4.ตัวชี้วัดความส าเร็จ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้างการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. และการ ดูแลสุขภาพตนเองด้วยสมุนไพรไทย อยู่ในระดับดี อย่างน้อยร้อยละ 80 5.ขั้นตอนการด าเนินการโครงการ รายการ การด าเนินงาน การวางแผน (Plan) 1. ส ารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายตามยุทธศาสตร์และจุดเน้น การด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. เขียนโครงการเสนอเพื่อของบประมาณ 3. ก าหนดแผนและปฏิทินการด าเนินงาน 4. ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดโครงการตามตามยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. ด าเนินงานติดต่อประสานงานสถานที่ และผู้เข้าร่วมโครงการฯ 6. ก าหนดการจัดโครงการฯ การปฏิบัติ (Do) 1. ด าเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ 2. น ากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ รพ.สต.บ้านอ่างเวียน ต าบลหนองอิรุณ อ าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี


รายการ การด าเนินงาน การตรวจสอบ / ประเมินผล (Check) 1. จากการสังเกตพฤติกรรม การฝึกปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมาย 2. จากการพูดคุย และสอบถามกลุ่มเป้าหมาย 3. กลุ่มเป้าหมายกรอกแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการฯ แนวทางการน าผลการประเมินไปปรับปรุง (Act) 1. จัดให้มีระบบติดตามหลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง 2. น าค าแนะน าจากผู้เข้าร่วมโครงการไปทบทวนและก าหนดแนวทาง ในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป 6.ระยะเวลาด าเนินงาน วันที่ 11 สิงหาคม 2566 7.สถานที่ในการจัดกิจกรรมโครงการ ณ รพ.สต.บ้านอ่างเวียน ต าบลหนองอิรุณ อ าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี 8.ผลการด าเนินโครงการ 8.1 ผลการประเมินข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมโครงการ 1) จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการ : เป็นไปตามเป้าหมาย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 22 คน ร้อยละ 100 2) อายุเฉลี่ย : 60.27 ปี 3) อาชีพ : แม่บ้าน รับจ้าง และค้าขาย 8.2 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ประชาชนทั่วไปมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเสริมสร้างการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. และการ ดูแลสุขภาพตนเองด้วยสมุนไพรไทย อยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 99.39 8.3 บรรลุตามวัตถุประสงค์คือ ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพตามหลัก 5 อ. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการ เสริมสร้างการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. และการดูแลสุขภาพตนเองด้วยสมุนไพรไทยและปฏิบัติการท าสเปรย์ ตะไคร้หอมไล่ยุง 8.4 สรุปงบประมาณในการด าเนินงาน เงินงบประมาณปี พ.ศ.2566 แผนงาน พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบด าเนินงาน เพื่อเป็น ค่าใช้จ่าย ในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 จ านวนเงิน 2,530 บาท (สองพันห้าร้อยสามสิบบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้ ที่ รายการ จ านวน (หน่วย) ราคา:หน่วย (บาท) จ านวนเงิน (บาท) หมายเหตุ 1 ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 200 600 (1 คน x 200 บาท x 3 ชั่วโมง) 2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 22 คน 25 550 (22 คน x 25 บาท x 1 มื้อ) 3 ค่าวัสดุฝึกอบรม 1,380 รวมทั้งสิ้น 2,530 หมายเหตุขอถัวจ่ายจริงทุกประการ


9. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการเรียน/อบรม จ าแนกตามอายุและเพศ เพศ อายุ ต่ ากว่า 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60 ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - - - - - - - 3 1 7 - 12 1 21 22 จ านวนผู้ผ่านการฝึกอบรม - - - - - - - 3 1 7 - 12 1 21 22 10. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการฝึกอบรม จ าแนกตามกลุ่มอาชีพและเพศ กลุ่มอาชีพ อายุ รับ ราชการ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง อื่น ๆ รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน - - - - - 4 - - 1 3 - 14 1 21 22 จ านวนผู้ผ่านการฝึกอบรม - - - - - 4 - - 1 3 - 14 1 21 22 11. จ านวนผู้เรียนและผู้ผ่านการฝึกอบรม จ าแนกตามกลุ่มเป้าหมายและเพศ กลุ่มเป้าหมาย อายุ ผู้น า ท้องถิ่น อบต. ผู้ต้องขัง ทหารกอง ประจ าการ แรงงาน ไทย แรงงาน ต่างด้าว เกษตรกร อสม. กลุ่ม สตรี อื่น ๆ รวม รวม ทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จ านวนผู้เรียน 1 - - - - - - - - 3 - - - - - 8 - - - 10 1 21 22 จ านวนผู้ผ่าน การฝึกอบรม 1 - - - - - - - - 3 - - - - - 8 - - - 10 1 21 22 12.ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างด าเนินงาน ไม่มี 13.ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมโครงการครั้งต่อไป ไม่มี 14.ภาพกิจกรรม (จ านวน 2-4 ภาพ)


Click to View FlipBook Version