The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 7 อาณาจักรสัตว์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by te_ry_tan1, 2022-04-13 01:12:35

ชุดที่ 7 อาณาจักรสัตว์

ชุดที่ 7 อาณาจักรสัตว์

ชุดกจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E)
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสัตว์

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) รายวิชาชวี วิทยา
(ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เป็นการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ผู้เรยี นสามารถนาไปฝกึ ปฏบิ ตั หิ รอื เรียนรเู้ พ่มิ เตมิ ดว้ ยตนเอง ท้งั ในและนอกเวลาเรยี น โดยชุด
กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ต่ละชดุ ประกอบดว้ ยเอกสาร 2 สว่ น คอื คู่มอื ครแู ละชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทง้ั นีเ้ พ่ือใหผ้ ูเ้ รียนนา
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ไปดาเนินการกจิ กรรมตา่ งๆ ได้สะดวกและมปี ระสทิ ธิภาพตรงตามจดุ มุ่งหมายของการสร้างชุด
กิจกรรม ซ่ึงชดุ กจิ กรรม เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ประกอบด้วย 8 ชุดกิจกรรม ดังน้ี

1. ชุดกิจกรรมท่ี 1 การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ
2. ชดุ กิจกรรมท่ี 2 กาเนดิ ของส่ิงมีชีวิต
3. ชดุ กิจกรรมที่ 3 อาณาจักรมอเนอรา
4. ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรติสตา
5. ชดุ กจิ กรรมท่ี 5 อาณาจักรพืช
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 อาณาจักรฟงั ไจ
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
ชุดกิจกรรมน้ี เปน็ ชุดที่ 7 เร่ือง อาณาจกั รสตั ว์ ซงึ่ ประกอบด้วย คาช้ีแจง ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ สาระ
การเรยี นรู้ เวลาท่ีใช้ วิธีใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ่ และอปุ กรณ์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ซึง่ เปน็ แบบ
ตวั เลือก 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ข้อ พรอ้ มกับบัตรความร้แู ละบตั รกิจกรรม รวมท้ังมีแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลย
แบบทดสอบและบตั รกจิ กรรม ทา้ ยสดุ มีแบบบันทึกคะแนนกอ่ นเรยี น ระหว่างเรียน และหลงั เรียน
ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าชุดการเรยี นรู้นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน สาหรบั ครู นกั เรียนและผูท้ ี่
สนใจ เพ่อื ใชใ้ นการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตอ่ ไป

นางวไิ ลพร จันเสงย่ี ม

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 1
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

สำรบัญ ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

เรอ่ื ง หน้ำ
คานา 1
สารบญั 2
คาชี้แจง 3
การใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้ 4
ผลการเรยี นรู้ 5
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 6
สาระการเรียนรู้ 6
บทบาทของนกั เรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรยี น 8
บตั รกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 1 11
บัตรความรทู้ ี่ 1 12
บตั รกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 2 17
บตั รความรูท้ ่ี 2 18
บตั รกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ี 3 29
แบบทดสอบหลังเรียน 33
บรรณานกุ รม 36
ภาคผนวก 37
แบบบนั ทกึ คะแนนระหว่างเรยี น 38
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 39
เฉลยบัตรกจิ กรรมท่ี 1-3 40
แบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น และประเมินคุณลักษณะ 46

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 2
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

คำชแี้ จง

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักร 7 ข้ัน (7E) รายวิชาชีววิทยา
(ว33109) เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ประกอบดว้ ย ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
8 ชุด ดังน้ี

ชดุ ที่ ชื่อชุดกจิ กรรม จานวนคาบเรยี น
1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ 2
2 กาเนดิ ของสงิ่ มชี วี ิต 2
3 อาณาจักรมอเนอรา 2
4 อาณาจักรโพติสตา 2
5 อาณาจักรพชื 2
6 อาณาจกั รฟังไจ 2
7 อาณาจักรสัตว์ 2
8 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 2
16
รวม

ชดุ กิจกรรมการเรียนรฉู้ บบั นี้ เป็นชุดกิจกรรมการเรยี นรชู้ ดุ ที่ 7 เร่ือง อาณาจกั รสตั ว์ ซงึ่ นักเรียนจะได้ศึกษา
เรียนรูแ้ ละปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อศกึ ษาเกีย่ วกับความหลากหลายของส่งิ มชี ีวิต โดยใช้เวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
ทั้งหมด 2 คาบเรียน และให้นักเรยี นศึกษาชดุ กจิ กรรมตามลาดับขั้นตอนต่อไปน้ี

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 3
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

กำรใชช้ ดุ กิจกรรม

ข้ันเตรียมกอ่ นใชช้ ุดกิจกรรม
1. ทาการศกึ ษาค้นควา้ ในเรอ่ื งทต่ี นเองจะเรียนหรอื ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมมาก่อนล่วงหน้าเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจในบทเรยี น
ได้ดีและรวดเรว็ ยิ่งขึ้น
2. เตรียมความพรอ้ มของตนเองสาหรับการปฏบิ ัติกิจกรรมร่วมกับเพอ่ื นในห้องเรยี นและเพ่ือนรว่ มกลมุ่
3. คาแนะนาในการปฏิบตั งิ านกล่มุ
3.1 เลือกประธานกลมุ่ เพื่อเป็นผูน้ าในการดาเนินการจัดการเรียนรู้ และเลขากลุ่มเพ่ือบนั ทกึ
3.2 สมาชกิ ทกุ คนต้องมีสว่ นร่วม ชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกัน และรบั ผิดชอบรว่ มกนั
3.3 ต้งั ใจปฏิบัตกิ ิจกรรมอย่างเต็มความสามารถและรอบคอบ
4. ใชก้ ลุม่ เดมิ ตลอดการเรียนดว้ ยชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู้ ดุ ท่ี 7 เรื่อง อาณาจักรสัตว์

ข้นั เตรียมก่อนใชช้ ุดกจิ กรรม
1. ศึกษาภาระงานให้เข้าใจ และปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอน
2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมด้วยตนเอง ไม่ลอกเพื่อนและไม่ใหเ้ พอ่ื นลอก
3. ศกึ ษากิจกรรมดว้ ยความต้ังใจ แล้วทาการวเิ คราะหเ์ นอื้ หาและสรุปเพอ่ื ให้เข้าใจงา่ ย ๆ
4. ศกึ ษาคาชีแ้ จงของกิจกรรมโดยการระดมความคดิ ในกลมุ่ เพือ่ ตอบคาถามใหต้ รงตามทฤษฎีของเรื่อง
ทีเ่ รียน ไม่ตอบโดยไม่มเี หตุผลหรือไม่มที ฤษฎรี องรบั
5. รว่ มอภปิ รายกับครูดว้ ยความตง้ั ใจ จดความร้ใู หม่ และซักถามทนั ทีเม่ือไม่เข้าใจ
6. มคี วามสามัคคี มีน้าใจ ภาคภมู ิใจในผลงานของกลุ่ม โดยไม่เอาเปรยี บดว้ ยการนัง่ เฉยหรอื กอ่ ความ
วุน่ วายในหอ้ งเรียน

ข้ันหลังใชช้ ดุ กิจกรรม
1. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2. รวบรวมผลงานทีไ่ ดจ้ ากการปฏิบตั กิ ิจกรรมสง่ ครู เพ่ือประเมินผลการเรยี นรู้
3. จดั เกบ็ อุปกรณ์ทกุ ช้นิ ให้เรียบรอ้ ย

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 4
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

ผลกำรเรียนรู้

ดำ้ นควำมรู้
1. สบื ค้นและอภิปรายเก่ยี วกับอาณาจักรสัตว์
2. อธบิ ายอาณาจกั รสตั ว์
3. จาแนกและสร้างเกณฑข์ องอาณาจักรสัตว์
4. นาความร้เู รอื่ งอาณาจักรสัตว์ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั
5. ประเมนิ ความสาคญั ของอาณาจกั รสัตว์

ด้ำนทักษะกระบวนกำร
นกั เรยี นสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักร 7 ข้ัน (7E) ดังน้ี
1. ทาแบบฝึกหัดก่อนบทเรียน เพอ่ื ทดสอบความรู้เดมิ (Elicitation Phase)
2. รว่ มกันอภิปรายและต้ังคาถามจากแบบทดสอบก่อนเรยี น (Engagement Phase)
3. สืบคน้ ขอ้ มูลจากเอกสารประกอบการเรยี นรูเ้ รือ่ ง การศกึ ษาความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ
(Exploration Phase)
4. นาข้อมูลมาดาเนินการวเิ คราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลทไ่ี ดใ้ นรปู ต่าง ๆ เช่น บรรยายสรปุ
สรา้ งแผนภูมคิ วามคดิ รวบยอด (Explanation and Expansion Phase)
5. ใหน้ ักเรยี นนาผลงานที่ได้จากการสรุปผลการวิเคราะห์มานาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี นเพื่อนาไปสู่หาสรปุ
รว่ มกนั ในช้ันเรยี นและประเมินผลงาน (Evaluation and Extension Phase)

ด้ำนคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
1. มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ ไดแ้ ก่ การสนทนาซกั ถาม กระตอื รอื ร้นในการปฏิบัตกิ จิ กรรม
2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ ไดแ้ ก่ ปฏบิ ัติหนา้ ทีท่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ทางานสาเร็จตามเป้าหมาย
3. ความมเี หตุผล ไดแ้ ก่ การรวบรวมข้อมลู การอธิบายหรือแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตุผล มีหลกั การ
หรอื ขอ้ มูลอ้างอิง
4. มีระเบยี บวินยั ไดแ้ ก่ ตรงต่อเวลาท่ีนดั หมาย ปฏบิ ตั ิตามระเบียบวนิ ยั ของกจิ กรรม
5. อยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ ใช้ทรัพย์สินตนเองอยา่ งประหยดั ทรพั ยส์ นิ สว่ นรวมอย่างคมุ้ คา่ ไมเ่ อาเปรยี บ
คนอ่ืน วางแผนการเรียนการทางาน
6. มุ่งม่นั ในการทางาน ได้แก่ ต้ังใจ อดทนทางาน ไมย่ ่อท้อ
7. รกั ความเปน็ ไทย ได้แก่ มจี ติ สานึกในความเป็นไทยและภมู ปิ ัญญาไทย
8. มจี ิตสาธารณะ ได้แก่ ชว่ ยเหลอื เพ่ือน พ่อแม่ ครู จติ อาสา ทางานเพ่อื สว่ นรวม

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 5
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้

1. สบื ค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภปิ ราย และสรุป ลกั ษณะทเ่ี หมอื นและแตกตา่ งกนั ของสง่ิ มชี ีวติ
ในอาณาจักรสัตว์

2. สืบค้นขอ้ มูล อภปิ ราย และนาเสนอ คณุ ค่าของความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ ในอาณาจกั รสตั ว์
กบั การใชป้ ระโยชน์ของมนษุ ย์ ท่ีมีผลต่อสงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม

สำระกำรเรยี นรู้

สง่ิ มชี วี ติ ในอาณาจกั รสตั ว์ มีลกั ษณะสาคญั ทบี่ ่งบอกได้ว่าสง่ิ มีชีวิตน้ันเป็นสัตว์ ได้แก่ เปน็ กลุ่มยูคารโิ อตท่ีมี
หลายเซลล์โดยเซลลส์ ว่ นใหญจ่ ะยึดเกาะติดกนั ด้วยโปรตนี คอลลาเจน และเซลล์สัตวแ์ ตกต่างจากเซลลพ์ ืชตรงทเ่ี ซลล์
สัตว์ไมม่ ผี นังเซลล์ สัตวม์ เี นอ้ื เยอ่ื ประสาทและเนอื้ เยือ่ กล้ามเนื้อ เพือ่ ทาหนา้ ท่ีนากระแสประสาท และทาใหร้ า่ งกาย
เคลอ่ื นไหวได้ สัตวเ์ ป็นสิ่งมชี ีวติ ทส่ี รา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ (Heterotrophs) ต้องกนิ อาหารเพื่อนeไปใช้ในการสร้าง
พลงั งานสeหรบั การดeรงชีวติ สัตว์เปน็ สิ่งมชี วี ติ ที่ตอ้ งใชอ้ อกซเิ จนในการหายใจ สัตว์สะสมคาร์โบไฮเดรตไวใ้ นร่างกาย
ในรปู ของไกลโคเจน สัตวส์ ว่ นใหญส่ ืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศ และในวัฏจกั รชีวิตจะต้องมรี ะยะหนง่ึ ท่เี ป็นการเจริญของ
เอ็มบริโอ และสัตว์สว่ นใหญเ่ คล่ือนทไ่ี ด้อย่างนอ้ ยก็ในช่วงใดช่วงหน่งึ ของชีวติ มี 9 ไฟลัม คอื

- ไฟลัมพอริเฟอรา ( Phylum Porifera)
- ไฟลมั ไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
- ไฟลัมแพลทีเฮลมนิ ทสิ (Phylum Platyhelminthes)
- ไฟลมั มอลลัสคา (Phylum Mollusca)
- ไฟลัมแอนเนลดิ า (Phylum Annelida)
- ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
- ไฟลัมอารโ์ ทรโพดา (Phylum Arthropoda)
- ไฟลมั เอคไคโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata)
- ไฟลมั คอรด์ าตา (Phylum Chordata)

เวลำท่ใี ช้

ชุดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 7 เร่ือง อาณาจกั รสตั ว์ ใช้เวลาในการเรยี นรู้ 2 คาบเรียน

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) 6
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

บทบำทของนักเรียน

1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5 คน เลือกประธานกลมุ่ เพอ่ื เปน็ ผู้นาในการดาเนินกิจกรรมและเลขานุการ
กลุ่ม เพอื่ บันทกึ ข้อมลู ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ และมอบหมายหนา้ ที่ให้สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ ให้
ชัดเจน

2. ตรวจสอบความครบถ้วนของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักร
7 ขัน้ (7E)

3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพ่อื ทดสอบความรเู้ ดมิ ของนักเรียน
4. ศกึ ษากิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 แลว้ ใหแ้ ต่ละกลมุ่ รว่ มกันอภปิ รายและตอบคาถาม
5. ศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 2 เพอ่ื สารวจและค้นหาคาตอบ
6. ศึกษากิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 จากนัน้ เลกิ ปฏิบัตกิ ิจกรรม อภปิ รายและระดมความคดิ ในกล่มุ

สรปุ แก้ปัญหาจากสถานการณ์ท่ีกาหนดขนึ้ แล้วบันทกึ คาตอบลงในแบบบนั ทึกกิจกรรม พรอ้ มทั้งขยาย
ความรู้ทไี่ ด้รับโดยการนาเสนอหนา้ ชั้นเรียน
7. แลกเปล่ียนกนั ตรวจแบบบันทึกกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี 1-3 โดยเลขานุการกลมุ่ รวบรวมแบบบนั ทึก
คาตอบของสมาชิกไปแลกเปลยี่ นกับกลมุ่ อนื่ โดยกาหนดให้กลมุ่ ท่ี 1 ตรวจกลุ่มที่ 5, กลุ่มท่ี 5 ตรวจ
กลุ่มที่ 4, กล่มุ ท่ี 4 ตรวจกลุม่ ท่ี 3, กลุ่มท่ี 3 ตรวจกล่มุ ที่ 2 และกลุ่มท่ี 2 ตรวจกล่มุ ที่ 1
8. ประธานรบั เฉลยกิจกรรมการเรยี นรจู้ ากครผู สู้ อน เพอ่ื นามาตรวจคาตอบ
9. สมาชิกในกลมุ่ ตรวจแบบบันทกึ กิจกรรมของสมาชิกกล่มุ อื่น (กรณีมขี ้อสงสัยใหน้ กั เรียนถามครผู ู้สอน)
10. เลขานุการกลมุ่ รวบรวมแบบบันทกึ กิจกรรมกล่มุ คืนกลมุ่ เดิม
11. ประธานกลุม่ นาเฉลยกจิ กรรมคืนครผู สู้ อน
12. สมาชิกในกล่มุ บันทกึ คะแนนลงในแบบบันทกึ คะแนน รวมคะแนนของสมาชกิ ในกลุม่ หาค่าเฉล่ียเป็น
คะแนนของกลมุ่ แจง้ ครผู สู้ อน

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 7
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์

แบบทดสอบก่อนเรยี น ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นร้ทู ี่ 7
เร่ือง อำณำจกั รสตั ว์

คำชแ้ี จง แบบทดสอบเป็นแบบปรนยั เลอื กตอบ จานวน 10 ขอ้

1. ใครคอื บิดาแห่ง Taxonomy (อนกุ รมวิธาน)
n. Alistotle
ข. John Ray
ค. Linews
ง. Copeland

2. อาณาจกั รสัตวแ์ บง่ เปน็ กี่ไฟลัม
ก. 7
ข. 8
ค. 9
ง. 10

3. ไฟลมั Porifera มีลกั ษณะทไี่ ม่มใี ครเหมือนคือ
ก. มเี ซลล์ 3 ชนดิ คอื Amoebocyte/Coanocyte/Porocyte
ข. มหี นวดท่มี เี ข็มพิษอยู่ด้านใน
ค. มที างน้าเข้า Ostium ทางนา้ ออก Osculum และมี Spicule
ง. มีทางน้าเขา้ Osculum ทางน้าออก Ostium และมี Spicule

4. ไฟลมั Platyhelminthes มรี ะบบประสาทแบบใด
ก. ไม่มรี ะบบประสาท
ข. ร่างแห (Nerve net)
ค. แบบขน้ั บนั ได (Adder type)
ง. มีปมประสาทสมอง (Cerebral ganglia)

5. ลกั ษณะเด่นของ Phylum Chordata ทไ่ี ม่มไี ฟลัมไหนเหมอื น คอื
ก. มใี นโตคอร์ด
ข. เปน็ Eucoelomate
ค. เปน็ ผูบ้ ริโภค
ง. เป็น Endoskeleton

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 8
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์

6. สัตว์พวกแรกท่ีมรี ะบบหมุนเวียนของเลือดได้แก่
ก. พยาธิตัวกลม
ข. แม่เพรียง
ค. ปลงิ ทะเล
ง. หอยแครง

7. กลุ่มสตั วพ์ วกใดที่มกี ารจดั ระเบยี บโครงสรา้ งร่างกายที่มสี มมาตร เปน็ แบบเดียวกัน
ก. ดอกไม้ทะเล แมงกระพรนุ ดาวเปราะ
ข. เม่นทะเล แม่เพรยี ง หอ้ งน้า
ค. พลานาเรีย ไฮดรา โอบีเลีย
ง. เพรยี งหวั หอม หมึก อะมีบา

8. สตั ว์ชนดิ ใดทีอ่ ยูใ่ น Phylum Porifera
ก. ฟองนา้
ข. หนอนตัวกลม
ค. ไฮตรา
ง. ไสเ้ ดอื น

9. ไฟลมั ใดไมม่ ีระบบหมนุ เวยี นเลือด
ก. Arthropoda
ข. Mollusca
ค. Nematoda
ง. Anelida

10. Phylum Mollusca ระบบหมุนเวียนเลอื ดแบบเปดิ ยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. ปะการงั
ข. หนอนตัวแบน
ค. หมึก
ง. ฟองนา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 9
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสัตว์

กระดำษคำตอบ ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรทู้ ี่ 7
เรอ่ื ง อำณำจกั รสตั ว์

 ก่อนเรียน  หลังเรียน

ชื่อ......................................................ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่.ี ........................เลขที.่ .....................

ข้อที่ ก. ข. ค. ง.
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) 10
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

บตั รกิจกรรมกำรเรยี นรทู้ ่ี 1
เรอื่ ง รจู้ ักสัตว์

คำชี้แจง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับนีเ้ ปน็ กจิ กรรมท่จี ดั การเรยี นรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ข้นั ตรวจสอบ
ความรู้เดิม (Elicitation Phase) ขั้นเรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) และข้นั อธบิ าย
(Explanation Phase)

กิจกรรมท่ี 1 ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ ศึกษาภาพ แล้วตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

คำถำม
1. จากภาพมีจานวนสตั ว์ก่ีชนดิ อะไรบ้าง

2. สัตวแ์ ต่ละชนดิ ท่พี บ สามารถแบ่งเป็นชนิดย่อยๆ ไดอ้ กี หรือไม่

3. เขยี นชอ่ื สัตว์ท่ีนกั เรียนรูม้ า 15 ชนดิ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 11
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

บตั รควำมรทู้ ่ี 1
เรอ่ื ง กำเนดิ อำณำจักรสตั ว์

คำชี้แจง กจิ กรรมการเรียนร้ฉู บับน้ี เป็นกจิ กรรมทจ่ี ดั การเรียนร้ตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ขนั้ อธิบาย
(Explanation Phase) และข้ันนขยายความรู้ (Elaboration Phase)

คำสงั่ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศึกษาบัตรความรแู้ ละร่วมกันวิเคราะห์ อภิปรายและตอบคาถามต่อไปนีล้ ง
ในบัตรบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้

กำเนิดของสตั ว์

- สนั นษิ ฐานว่าสตั ว์ทีเ่ กดิ ขึ้นในยคุ แรกๆ น่าจะมีร่างกายอ่อนนมุ่ ไมม่ โี ครงรา่ งแขง็ จึงไมป่ รากฏรอ่ งรอย
ในซากดึกดาบรรพ์

- เรม่ิ พบซากดึกดาบรรพ์จานวนมากในช่วงระหว่างปลายมหายุคพรแี คมเบรียนและตอนตน้ ของยุค
แคมเบรยี น

- ซากดึกดาบรรพท์ ี่พบในยุคแรกๆ เป็นซากของสัตวใ์ นไฟลัมมอลลสั กาทม่ี ลี าตวั ออ่ นนุ่ม
- จากหลักฐานตา่ งๆ สนับสนนุ แนวคิดท่วี า่ สัตว์นาจะมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบรุ ุษพวกแฟลเจลเลต

ลกั ษณะของสัตว์
1. เซลล์แบบยูคาริโอต (Eukaryotic cell) คอื เซลล์ทม่ี ีเยอ่ื ห้มุ นวิ เคลียส ในไซโทพลาสซึมมอี อร์แกนเนลล์

ตา่ งๆ กระจายอยู่
2. ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนดิ ท่ไี ม่มผี นังเซลล์ เรยี กว่า เซลล์สัตว์ ทาให้เซลลม์ ีลักษณะอ่อนนมุ่ และ

แตกต่างไปจากเซลล์พชื เซลลเ์ หลา่ น้ีจะมารวมกนั เปน็ เนอ้ื เยอื่ เพ่อื ทาหน้าทีเ่ ฉพาะอยา่ ง ซง่ึ พบวา่ เซลลใ์ นเน้ือเยื่อ
มักมขี นาดและรปู ร่างเหมอื นกนั มกี ารประสานการทางานระหว่างกนั สตั วช์ น้ั สงู มีเน้ือเยอ่ื หลายชนดิ สามารถจาแนก
ตามหนา้ ท่ีและตาแหนง่ ที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คอื

- เนื้อเยอ่ื บผุ วิ (Epithelial tissue)
- เนอ้ื เยือ่ เกี่ยวพนั (Connective tissue)
- เนื้อเย่ือกลา้ มเนอื้ (Muscular tissue)
- เนอ้ื เยื่อลาเลียง (Vascular tissue)
- เน้อื เย่อื ประสาท (nervous tissue)
3. สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟลิ ล์ ดงั น้นั การดารงชีวติ จึงต้องกนิ ส่ิงมชี ีวติ อ่นื เปน็ อาหาร
ซง่ึ อาจเป็นพืชหรอื สัตวด์ ้วยกัน การดารงชีวติ จึงมักเปน็ แบบผู้ลา่ เหย่ือหรอื ปรสติ เสมอ
4. โดยทั่วไปเคลื่อนทีไ่ ด้ดว้ ยตนเองตลอดชีวติ มบี างชนดิ พบวา่ เมอื่ เป็นตัวเตม็ วยั แลว้ เกาะอยกู่ ับท่ี
5. โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ได้อย่างรวดเรว็ เนือ่ งจากมรี ะบบประสาท มอี วัยวะรับความรสู้ ึก
และตอบสนอง เชน่ การกนิ อาหาร การขับถ่าย การสบื พันธ์ุ เป็นต้น

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 12
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

ลกั ษณะท่ีใช้จำแนกสตั ว์
นักอนกุ รมวธิ านสว่ นใหญ่เชือ่ กนั วา่ สตั ว์มีวิวฒั นาการเกดิ ขึน้ ในตัง้ แตช่ ว่ ง 1,000 ถงึ 580 ล้านปที ีผ่ ่านมา

โดยมีวิวัฒนาการมาจากพวกโพรทสิ ตท์ ม่ี แี ฟลเจลลมั และอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ (Colonial tagelated protist) จาก
วนั ทม่ี ีววิ ฒั นาการเกิดข้ึนเปน็ คร้ังแรกจนกระทั่งถงึ ทุกวนั น้ี สตั วม์ วี วิ ฒั นาการออกเปน็ ชนดิ ตา่ งๆ มากมาย ในการจดั
จาแนกสตั ว์ออกเป็นหมวดหมูใ่ หญ่ๆ นั้นเราใชล้ ักษณะบางอยา่ งชว่ ยในการจาแนกหมวดหมู่ของสตั ว์ ลักษณะเหล่าน้นั
ซ่งึ เกิดข้นึ เปน็ ลาดบั พร้อมๆ กบั ววิ ัฒนาการของสตั ว์ ได้แก่

1. เป็นสตั วท์ ีม่ ีเนือ้ เยือ่ ทแี่ ทจ้ รงิ หรือไม่
การแบง่ แบบนท้ี าให้เราสามารถแบง่ สัตวอ์ อกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คือ กลุ่มทไี่ มม่ เี นื้อเยือ่ ทแี่ ท้จริง ไดแ้ ก่ พวก
ฟองนา้ ในไฟลมั พอรเิ ฟอรา (Phylum Porifera) และกลมุ่ ทม่ี ีเนอื้ เยื่อที่แท้จรงิ ซง่ึ ได้แกส่ ตั วส์ ่วนใหญ่ทั้งหมด โดย
สตั ว์ในไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) จะมีเน้อื เยือ่ 2 ช้นั สว่ นสตั วใ์ นไฟลมั อื่นๆ จะมเี น้ือเยอ่ื 3 ชั้น
2. ลักษณะสมมำตรของรำ่ งกำย
คือ การจดั สมดุลของรา่ งกายเมือ่ แบ่งรา่ งกายออกโดยใชร้ ะนาบถงึ กลาง แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คอื

(1) สัตว์ท่ไี ม่มีสมมาตร (Asymmetry) การจดั เรียงตัวของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายเป็นแบบไม่มีจดุ
ศนู ย์กลาง มีรปู รา่ งไมแ่ น่นอน เชน่ ฟองนา้ ซึ่งเป็นสัตว์ใน Phylum Porifera

(2) สมมาตรแบบรศั มี (Radial Symmetry) ถา้ แบง่ รา่ งกายจากสว่ นปากไปสสู่ ว่ นทา้ ยของลาตัว
ไม่ว่าเปน็ ด้านใด จะไดส้ ว่ นแบง่ ของร่างกายสองด้านที่เหมอื นกนั ถ้ามีการจัดเรยี งตวั พบได้ในสตั วบ์ างกลมุ่ ที่อาศัย
อยใู่ นนา้ เทา่ นนั้ สว่ นใหญ่จะดารงชวี ิตแบบเกาะอยู่กับท่ี เช่น ไฮดรา ,แมงกะพรุน , ดอกไม้ทะเล, ดาวทะเล

(3) สมมาตรดา้ นขา้ ง สมมาตรซา้ ยขวา หรือ สมมาตรแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) ซึ่ง
พบได้ในสัตวส์ ่วนใหญ่ ระนาบทต่ี ดั ผ่านเส้นกลางลาตวั ตามแนวตงั้ สามารถแบง่ สตั วอ์ อกเปน็ สองซีกท่ีเหมือนกนั
ท้ังซกี ซ้ายและขวา ดา้ นหน้า (Anterior end) ของสัตว์กล่มุ น้จี ะเปน็ ที่ตั้งของอวยั วะทส่ี าคญั เชน่ อวัยวะรับสัมผสั
มกี ารพัฒนาสว่ นหัวเป็นศูนยร์ วมของเนอ้ื เย่อื ประสาท และอวัยวะรบั สัมผสั ทาใหส้ ตั วเ์ คลอื่ นท่ี หาอาหารและหลบ
ศัตรไู ด้ดี นอกจากนสี้ ัตว์ท่ีมีสมมาตรแบบดา้ นข้างยงั มีการพัฒนาสว่ นหวั ให้เป็นศูนยร์ วมของสมองและอวยั วะรับสัมผสั
ทาให้สตั ว์กลุ่มนีเ้ คลอื่ นท่ีหาอาหารและหลบหลกี ศัตรูไดด้ ี

ภาพ รูปแบบสมมาตรร่างกายของสิ่งมชี วี ิต
ที่มา https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7035-animal-kingdom-invertebrate

สบื คน้ เมอ่ื 1 ตุลาคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 13
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจกั รสัตว์

3. กำรเปลย่ี นแปลงของบลำสโทพอร์ (Blastopore)
เปน็ ช่องทเี่ กดิ จากการมว้ นตัวของช้นั เนอ้ื เอนโดเดิร์ม ในช่วงการเจรญิ ของตวั อ่อนระยะแกสทูลา (Gastrula)
พบเฉพาะสตั วท์ ีม่ สี มมาตรด้านขา้ ง มี 2 แบบ คอื

- แบบโพรโทสโทเมีย (Protostomia) หมายถึงพวกที่บลาสโทพอรเ์ ปล่ยี นเปน็ ช่องปาก
- แบบดวิ เทอโรสโทเมีย (Deuterostomia) หมายถงึ พวกท่บี ลาสโทพอร์เปลย่ี นเปน็ ทวารหนัก

ภาพ การเปล่ียนแปลงของบลาสโทพอร์ (Blastopore)
ทมี่ า https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7035-animal-kingdom-invertebrate

สืบคน้ เมือ่ 1 ตลุ าคม 2562
4. กำรเจรญิ ในระยะตวั อ่อน
พบในสัตว์กลุ่มทม่ี ีของปากแบบโพรโทสโทเมีย ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ คือ

- กลุ่มท่ีมีระยะตวั อ่อนแบบโทรโคฟอร์ (Trochophore) พบในสัตว์พวกหนอนตวั แบน ไส้เดอื นดนิ
ปลงิ หอยและหมกึ เป็นตน้

- กลุ่มทมี่ ีระยะตัวออ่ นแบบเอกไดโซซัว (Ecdysozoa) เป็นกลุ่มทีม่ ีการลอกคราบ ขณะเจรญิ เตบิ โต
ซ่ึงพบในหนอนตัวกลม และ อาร์โทรพอด

ภาพ ระยะตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์ (Trochophore) และ เอกไดโซซัว (Ecdysozoa)
ท่มี า https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7035-animal-kingdom-invertebrate

สืบคน้ เมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E)
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 14

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

5. ลกั ษณะของโพรงลำตัว (Coelom)
ซง่ึ เปน็ ลักษณะท่เี กดิ ข้ึนในระยะเอม็ บริโอของสัตวก์ ลมุ่ ทีม่ ีเนอ้ื เยอ่ื มีโซเดริ ์ม (Mesodem) มพี ัฒนาการ
เกิดเปน็ โพรงลาตัว ซง่ึ ต่อมาเม่ือเป็นร่างกายแล้ว โพรงลาตัวเหลา่ น้ีเปน็ ท่หี ่อหมุ้ ยึดเกีย่ วของอวัยวะภายในตา่ งๆ
แบง่ เปน็ สตั ว์ที่ไมม่ ีชอ่ งลาตวั , สตั ว์ท่มี ชี ่องลาตวั เทยี ม และ สัตวท์ ม่ี ีช่องลาตัวแท้

- สัตว์ทไ่ี มม่ โี พรงลาตัว (Acoelomate) เป็นกล่มุ สตั วท์ ่เี นอ้ื เยอ่ื ชนั้ มโี ซเดิร์ม ไมม่ ีการพัฒนาไป
เป็นโพรงลาตัว ทาให้รา่ งกายของสัตวก์ ลมุ่ นอ้ี ัดแน่นไปดว้ ยเน้อื เยอ่ื ดงั กล่าว ได้แกสตั ว์ในไฟลัมแพลที่เฮลมนิ เทส
(Phylum Platyhelminthes)

- สตั ว์ทม่ี ีโพรงลาตัวเทียม (Pseudoccelernate) เป็นกลุ่มสตั วท์ มี่ โี พรงลาตวั แตโ่ พรงลาตัว
เกดิ จากเนื้อเยอ่ื ชน้ั มีโซเดิร์มกับเนอ้ื เยอ่ื ข้ึนอ่ืน เชน่ เกิดกบั เน้อื เยอื่ ชัน้ เอนโดเดริ ์ม ไดแ้ ก่ ไฟลมั นีมาโทดา (Phylum
Nematoda)

- สตั ว์ท่ีมโี พรงลาตวั แท้ (Eucoelomate) เป็นโพรงลาตวั ทีเ่ กดิ จากเน้อื เยื่อช้ันมีโซเดริ ม์ ได้แก่
ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca), ไฟลัมแอนนิลดิ า (Phylum Annelida), ไฟลัมเอไดโนเดอมาตา (Phylum
Echinodermata)

ภาพ ลักษณะของโพรงลาตวั (Coelom) แบบต่างๆ ของสตั ว์
ทีม่ า https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7035-animal-kingdom-invertebrate

สืบคน้ เม่อื 1 ตุลาคม 2562

สตั ว์ในปจั จุบันท่พี บ และมกี ารจาแนกแลว้ มมี ากกวา่ 1.5 ลา้ นสปชี ีส์ พบไดท้ ุกแหง่ หนบนโลกแมว้ า่ กาเนดิ
ของสตั ว์ในระยะแรกจะอาศยั อยู่ในนา้ แตเ่ ม่ือสภาพแวดลอ้ มบนพน้ื ดินมคี วามเหมาะสม ทาให้สตั ว์บางกลุ่มประสบ
ความสาเร็จเม่อื มาอยบู่ นพ้ืนดนิ ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ ในอาณาจกั รสตั ว์ แบง่ ออกเป็นไฟลมั ต่างๆ ตามสาย
ววิ ฒั นาการไดด้ ังน้ี

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 15
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

ภาพ สายววิ ฒั นาการของส่ิงมีชวี ติ อาณาจักรสัตว์
ท่ีมา https://sites.google.com/site/btkingdom2014/say-wiwathnakar

สืบคน้ เมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 16
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสตั ว์

บัตรกจิ กรรมกำรเรียนรู้ที่ 2
เรือ่ ง กำเนดิ อำณำจกั รสตั ว์
คำช้แี จง กจิ กรรมการเรียนร้ฉู บับนี้เปน็ กิจกรรมทีจ่ ดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ขัน้ สารวจและ
คน้ หา (Exploration Phase), ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration Phase) และขนั้ นาความรไู้ ปใช้
(Extend Phase)
คำสัง่ เมอ่ื นักเรยี นศกึ ษาบัตรความร้เู รื่อง กาเนดิ อาณาจกั รสัตว์ แลว้ เขยี นเตมิ ผงั มโนทศั นท์ กี่ าหนดให้สมบูรณ์

ลักษณะเกณฑ์ใน
กำรจัดจำแนก
หมวดหม่ขู องสตั ว์

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 17
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

บตั รควำมรู้ที่ 2
เร่อื ง ควำมหลำกหลำยของสัตว์

คำชีแ้ จง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบับน้ีเปน็ กิจกรรมทจี่ ดั การเรียนรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ น้ั อธิบาย
(Explanation Phase) และขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase)

คำส่ัง ให้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ทากิจกรรม เร่ือง ความหลากหลายของสตั ว์ ตามกิจกรรมทกี่ าหนดใหต้ ่อไปน้ี

ควำมหลำกหลำยของสตั ว์

สตั ว์เปน็ สิ่งมชี ีวติ หลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสรา้ งอาหารได้เอง และมรี ะยะตวั ออ่ น (Embryo)
ส่ิงมีชีวติ ในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆ ดงั นี้

ไฟลมั พอรเิ ฟอรำ (Phylum Porifera)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) สัตว์ที่ลาตัวเป็นรพู รนุ ไดแ้ ก่ ฟองน้า ลกั ษณะสาคัญของสตั ว์ใน
Phylum Porifera คือ
- เป็นสตั ว์ทีม่ วี วิ ัฒนาการตา่ สดุ และไมม่ เี นือ้ เย่อื แทจ้ ริง (Parazoa)
- ตัวเต็มวัยเกาะกับท่ี จึงไมม่ ี Nervous system และ Sense organ
- มที ั้งอาศัยในนา้ จดื และน้าเค็ม มสี ีสดใส (แดง ส้ม เหลือง มว่ ง) เกดิ จากรงควัตถทุ ่ีอยู่ในเซลล์ผิว
- ฟองนา้ ทมี่ รี ูปร่างซบั ซ้อนนอ้ ยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แตฟ่ องน้าส่วนใหญ่ไมม่ สี มมาตร
- จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ เวลาสภาวะแวดลอ้ มไมเ่ หมาะสม)
- มโี ครงรา่ งแขง็ คา้ จนุ (Spicule ทเ่ี ป็นหนิ หรอื แก้ว Spongin ทีเ่ ปน็ เส้นใยโปรตีน)
- ฟองน้าสว่ นใหญม่ ีทัง้ สองเพศอยูใ่ นตวั เดยี วกันแบบทเี่ รยี กวา่ เปน็ กะเทย ( Hermaphrodites) และ
สบื พนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ แต่บางคร้ังกใ็ ชก้ ารงอกใหม่ (Regeneration) เปน็ การสืบพนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศได้ด้วย

ภาพ Sponge แบบต่างๆ และโครงสร้างภายใน
ทมี่ า https://zusspa.wordpress.com/animalia/phylum-porifera

สบื คน้ เม่อื 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 18
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสตั ว์

ไฟลัมซีเลนเทอรำตำ (Phylum Coelenterata)
ไฟลมั ซเี ลนเทอราตา (Phylum Coelenterata) ได้แก่ แมงกะพรนุ ดอกไม้ทะเล ปะการงั
กลั ปังหา และไฮดรา ลกั ษณะสาคญั ของสัตวใ์ น Phylum Coelenterata คือ
- ร่างกายประกอบดว้ ย เน้อื เยอื่ 2 ชนั้ คอื Epidermis และ Gastrodermis
- ระหว่างช้ันเนอ้ื เย่อื มีสารคล้ายวันเรยี กว่า Mesoglea แทรกอยู่
- ลาตัวกลวงลักษณะเปน็ ถุงตนั มชี ่องเปิดชอ่ งเดียวเรยี กวา่ Gastrovascula cavity ทาหน้าที่เปน็
ทางเดินอาหารอาหารเขา้ และกากอาหารออกทางช่องเปดิ เดียวกนั
- ลาตัวของสตั ว์ในไฟลัมน้ีมรี ปู ทรง 2 แบบ คอื แบบโพลิบ (Polyps) มรี ปู ร่างทรงกระบอกและมกั จะเกาะตดิ
อยกู่ บั ทโี่ ดยปากเปิดออกทางด้านบน ตัวอยา่ งเช่น ไฮดรา และ ซีแอนีโมนี (Sea anemone) สว่ นอกี รูปทรงหน่งึ
เรยี กว่าเมดซู า (Medusa) มลี ักษณะคลา้ ยร่มและมีปากเปิดออกทางด้านลา่ ง
- สตั วใ์ นไฟลัมน้ีทีม่ ีรปู ทรงแบบเมดูซาสว่ นใหญ่จะเคลื่อนทห่ี รือลอ่ งลอยอยู่ในน้า และเรามักเรยี กรวมๆ กันว่า
พวกแมงกะพรุน
- มีหนวดอย่รู อบปากเรียกวา่ เทนทาเคลิ (Tentacle) ใช้สาหรับจับเหย่ือ
- ทีห่ นวดมเี ซลลส์ าหรบั ต่อยเรียกว่า Cnidocyte และมเี ข็มสาหรับตอ่ ยเรียกวา่ Nematocyst
- มีวงจรชพี สลบั
- สืบพนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ โดยการแตกหนอ่
- มี 2 เพศในตวั เดยี วกัน

ภาพ สงิ่ มชี ีวิตพวก Cnidarians และโครงสรา้ งภายใน
ท่มี า https://www.ck12.org/book/ck-12-biology-advanced-concepts

สบื ค้นเม่ือ 1 ตุลาคม 2562

ไฟลมั แพลทิเฮลมนิ ทิส (Phylum Platyhelminthes)
ไฟลมั แพลทเิ ฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes) ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธติ ัวตดื และพลานาเรีย
ลกั ษณะสาคัญของสตั ว์ใน Phylum Platyhelminthes คือ
- มีสมมาตรเปน็ แบบครง่ึ ซกี (Bilateral symmetry)
- มีลาตวั แบนยาวจึงเรียกว่า หนอนตวั แบน เปน็ สัตวท์ ่ีมีเนอ้ื เยื่อ 3 ไมม่ ชี อ่ งว่างในลาตวั (Acoelomate
animal) เน่อื งจากเน้ือเยื่อชัน้ กลางมเี นอ้ื เยือ่ หย่นุ ๆ บรรจอุ ยู่เต็ม

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E)
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 19

ชุดกิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

- ไมม่ รี ะบบหมุนเวียนโลหติ ไมม่ เี สน้ เลือด ไมม่ ีหัวใจ สารอาหารไปเลีย้ งเซลลโ์ ดยการแพรจ่ ากทางเดิน
อาหารเขา้ สู่เซลลโ์ ดยตรง

- มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไมส่ มบูรณ์ มปี ากแตไ่ ม่มที วารหนัก และในพวกพยาธิตัวตืดไมม่ ีทางเดนิ
อาหาร

- มีระบบประสาทอยู่ทางดา้ นหนา้ และแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตวั
- มีท้ังสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธ์ไุ ด้ภายในตวั เอง (Self fertilization) และผสมพนั ธุข์ ้ามตัว
(Cross fertilization)

ภาพ สิ่งมชี ีวิตพวก Platyhelminthes และโครงสร้างภายใน
ทีม่ า https://microbiologynotes.com/information-about-platyhelminthes

สืบคน้ เม่ือ 1 ตลุ าคม 2562

ไฟลัมนมี ำโทดำ (Phylum Nematoda)
ไดแ้ ก่ พยาธติ วั กลมตา่ งๆ เชน่ พยาธไิ ส้เดอื น ไสเ้ ดือนฝอย และหนอนในนา้ ส้มสายชู ลักษณะสาคญั ของสตั ว์
ใน Phylum Nematoda คอื
- สาตวั กลมยาวหวั ทา้ ยแหลม ไมม่ รี ยางค์
- มเี ปลือกเป็นควิ ตเิ คิล (Cuticle) หนาปกคลมุ
- สมมาตรครึง่ ซีก (Bilateral symmetry)
- มที างเดนิ อาหารสมบรู ณ์ มีทัง้ ปากและทวารหนัก
- ร่างกายมเี นอ้ื เย่ือ 3 ช้ัน
- มีช่องสาตัวเทยี ม (Pseudocoelom) อย่รู ะหว่างมโี ซเดริ ์มและเอนโดเดิร์มซ่ึงมีของเหลวบรรจอุ ยู่
- ระบบประสาท เปน็ วงแหวนรอบคอ ตอ่ กบั เสน้ ประสาททยี่ าวตลอดลาตวั
- ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเละระบบหายใจ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 20
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์

ภาพ ส่ิงมชี วี ติ พวก Nematoda และโครงสรา้ งภายใน
ทีม่ า https://sites.google.com/site/saimanatsawee/home/ 4-6-phylum-nematoda

สบื คน้ เมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

ไฟลมั แอนนิลิดำ (Phylum Annelida)
ไฟลมั แอนนลิ ดิ า (Phylum Annelida) ไดแ้ ก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรยี ง ทากดดู เลอื ด และปลิงน้าจืด ลักษณะ
สาคัญของสตั ว์ใน Phylum Annelida คอื
- มลี าตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเปน็ วงและภายในมเี นื้อเยือ่ กัน้ ระหว่างปลอ้ งเรยี กว่า
เซปตา (Septa)
- แตล่ ะปล้องมอี วัยวะ คอื เดอื ย (Saeta) 4 คู่ มีเนฟรเิ ดยี (Nephridia) เปน็ อวัยวะขับถ่าย 1 คู่ มี
เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดนิ อาหารและช่องลาตัวส่วนหน่ึงยกเวน้ ปลอ้ ง
- ที่ส่วนหวั มอี วัยวะสาคัญ (สมอง คอหอย หวั ใจ)
- รา่ งกายมสี มมาตรครึ่งซกี
- มเี นือ้ เย่อื 3 ช้นั
- มีช่องลาตัวแท้จรงิ ( Coelom) ซ่ึงเปน็ ช่องลาตวั ในเนื้อเยอ่ื มโี ซเดิร์ม
- ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองท่ีหัว 1 คู่ และเสน้ ประสาทใหญ่ดา้ นท้อง

ภาพ สง่ิ มีชีวิตพวก Annelida
ทม่ี า https://onlinesciencenotes.com/characteristic-features-phylum-annelida/

สืบค้นเม่ือ 1 ตุลาคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 21
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

ภาพ โครงสร้างรา่ งกาย Annelida
ท่มี า https://www.slideshare.net/ClariceTeresaGuinto/phylum-annelida-segmented-worms

สบื ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2562

ไฟลัมอำร์โทรโปดำ (Phylum Arthropoda)
ไฟลัมอารโ์ ทรโปดา (Phylum Arthropoda) ได้แก่ กงุ้ กงุ้ ปู แมลง เหบ็ ไร ตะขาบ กิง้ กอื แมงมมุ แมงดา
ทะเล ลักษณะสาคญั ของสตั ว์ใน Phylum Arthropoda
- มลี าตวั เปน็ ปล้องและมรี ยางค์เป็นข้อๆ ตอ่ กัน (Jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปลอ้ งของลาตวั
- มจี านวนชนิดมากท่ีสดุ ในอาณาจกั รสัตว์ ประมาณวา่ มถี งึ กว่า 9 แสนชนดิ ทม่ี นุษย์เราไดค้ น้ พบ
- สามารถอาศัยอยไู่ ดใ้ นแทบทกุ สภาพภูมปิ ระเทศบนโลก นบั ว่าประสบความสาเรจ็ ในการดารงชีวติ บนโลก
เปน็ อยา่ งมาก เห็นได้จากการทเี่ ราพบสตั ว์เหลา่ นี้ไดแ้ ทบทกุ หนทกุ แห่ง ทุกฤดูกาล และพบเปน็ จานวนมาก
- พวกอารโ์ ทรพอด (Arthropods) มลี าตัวเปน็ ปล้องแบ่งออกเป็น 3 สว่ นใหญ่ๆ คอื ส่วนหวั (Head) อก
(Thorax) และท้อง (Abdomen)
- ลาตัวและรยางคม์ โี ครงร่างภายนอกซ่ึงเป็นเปลอื กแข็งท่ีประกอบดว้ ยไคทินห้มุ อยู่
- ในการเจริญเตบิ โตจงึ มีการลอกคราบจากระยะตัวออ่ นจนเปน็ ตวั เตม็ วยั
- มีระบบประสาทที่เจริญดี มอี วยั วะรบั ความรสู้ กึ หลายชนิด
- ระบบหมนุ เวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปดว้ ยหวั ใจ เลอื ด และแอ่งเลือด (Hemocoel)

ภาพ สิง่ มชี ีวิตพวก Arthropods
ท่มี า https://sites.google.com/site/222benjamas/xanacakr-satw/6-phylum-arthropoda

สบื คน้ เมอื่ 1 ตุลาคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 22
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

สัตวใ์ นไฟลมั นสี้ ำมำรถแบ่งออกได้เปน็ 6 Class
1. Class Crusatacea
Class Crustacea สว่ นมากจะอยใู่ นน้า มตี าประกอบ มหี นวด 2 คู่ มีขา 5 คู่ หรอื มากกวา่ รยางค์

เป็น 2 แขนง ส่วนของหวั เชอื่ มกับสว่ นอก (Cephalothorax) มีส่วนท้องเรยี ก แอบโดเมน (Abdomen) สว่ นมาก
หายใจด้วยเหงอื ก มีอวัยวะขับถา่ ยคอื ต่อมเขียว (Green gland) สัตว์ในคลาสนี้ เช่น กงุ้ นา้ จดื กุง้ ทะเล ปู ไรนา้ ฯลฯ

2. Class Merostoma
Class Merostoma มีสว่ นของหวั เชอื่ มกับสว่ นอก (Cephalothorax) มีขา 5 คู่ ไม่มีหนวด ได้แก่
แมงดาทะเล แมงดาถ้วย
3. Class Archnida
Class Archnida สว่ นมากจะอยบู่ นบก สัตวใ์ นคลาสนไี้ ม่มหี นวด มขี า 4 คู่ ส่วนของตัวเชอ่ื มกบั
ส่วนอก (Cephalothorax) และสว่ นทอ้ งแอบโดเมน (Abdomen) แยกออก หายใจทางชอ่ งลม (Trahea)
หรอื แผงปอต (Book lung) หรอื ท้ังสองอย่าง สัตว์ในคลาสน้แี ยกเพศกนั ไดแ้ ก่ แมงมมุ แมงปอ่ ง บง้ึ เหบ็ ฯลฯ
4. Class Insecta
Class Insecta เปน็ คลาสท่มี ีจานวนชนิดมากท่ีสุด ประมาณ 1 ลา้ น 5 แสนชนิด ไดแ้ กพ่ วกแมลง
ตา่ งๆ สัตว์ในคลาสน้มี หี นวด 1 คู่ มรขา 3 ไม่มปี ีกหรือมปี กี 1-2 คู่ มีตาประกอบ มสี ว่ นของลาตวั แยกออกชัดเจน
เป็น 3 สว่ น มที ่อลมเป็นอวยั วะหายใจ มีทอ่ มลิ พเิ กียน (Mulpigian tubules) เปน็ อวยั วะขบั ถา่ ย มีการเจริญเติบโต
ของตวั ออ่ นเปน็ 4 แบบ ได้แก่ ตวั สามง่าม, ยุง, แมลงวนั , ผเี สื้อ, แมงปอ, แมลงสาบ, ปลวก, มด, จิ้งหรีด ฯลฯ
5. Class Diplopoda
Class Diplopoda สัตวใ์ นคลาสน้เี รยี กวา่ มิลลบิ ิด มีขาจานวนมาก ลาตวั ค่อนข้างกลม ยาว
ประกอบด้วยสว่ นหวั และส่วนอกสัน้ ๆ ประกอบด้วยปลอ้ งประมาณ 25 ถงึ กวา่ 100 ปลอ้ ง ไมม่ ตี ่อมพษิ มีหนวด
1 คู่ มขี าปลอ้ งละ 2 คู่ มตี าเดย่ี ว ไดแ้ ก่ กง้ิ กอื กระสุนพระอนิ ทร์
6. Class Chilopoda
Class Chilopoda สตั ว์ในคลาสน้เี รียกวา่ เซนตบิ ิด มีขาจานวนมาก ประมาณปลอ้ งละ 1 คู่ ลาตัว
ประกอบดว้ ยสว่ นหวั และลาตัวยาวของอกติดกบั ทอ้ ง มีประมาณ 15 ถึง 173 ปล้องและปล้องทหี่ วั มีรยางค์ทีม่ พี ษิ
อยู่ 1 คู่ มหี นวด 1 คู่ มีตาเดียว เรียกวา่ โอเซลลัส (Ocellus) หายใจทางท่อลม ได้แก่ ตะขาบ

ภาพ โครงสรา้ งรา่ งกายของ Arthropods
ที่มา https://sites.google.com/site/222benjamas/xanacakr-satw/6-phylum-arthropoda

สืบค้นเมอื่ 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 23
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

ตารางสรปุ 6 Class ใน Phylum Arthropoda

ไฟลัมมอลลสั กำ (Phylum Mollusca)
ไฟลมั มอลลสั กา (Phylum Mollusca) สัตว์ทมี่ ีลาตัวออ่ นนุ่ม ไดแ้ ก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ ลักษณะสาคัญ
ของสตั วใ์ น Phylum Mollusca คอื
- รา่ งกายจะแบง่ เปน็ 3 สว่ นหลกั ได้แก่

1. head and foot
2. visceral mass
3. mantle, palium เกดิ mantle Cavity มีเหงอื กภายใน
- สตั ว์ในไฟลมั นมี้ ลี าตวั ออ่ นนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลอื กแขง็ หุ้มลาตวั เปน็ CaCO3
- แยกเพศผู้-เมยี
- สว่ นใหญ่อาศัยอยใู่ นน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยบู่ นบกบ้าง
- อวยั วะในการแลกเปลยี่ นแกส๊ ประกอบด้วย
1. เหงือก (Gill) อยภู่ ายในของแมนเทลิ (Mantle) พบในมอลลัสทัว่ ไป

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 24

ชุดกิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

2. ผิวตวั ในทากทะเล (Sea slug, Nudibranch) ผวิ ตัวจะเปลยี่ นรปู ไปเป็นแขนงอย่บู นลาตวั
เรียกว่า เซอราตา (Cerata) หรือบางชนิดมอี ยรู่ อบทวารหนกั (Anal gill)

3. ชอ่ งแมนเทลิ หรอื ปอด หอยฝาเดียวที่ข้นึ มาอยู่บนบกจะมีชอ่ งแมนเทลิ ท่ีมีผนงั ย่นื ลงมากั้น
เป็นห้อง มขี องเหลวหลอ่ เลีย้ งในชอ่ งนที้ าใหส้ ามารถแลกเปลยี่ นแก๊สได้

ภาพ ส่งิ มชี วี ติ พวก Mollusca
ทมี่ า https://www.flexiprep.com/NIOS-Notes/Senior-Secondary/Biology

สบื ค้นเมอ่ื 1 ตุลาคม 2562

ภาพ โครงสรา้ งรา่ งกายของ Mollusca
ทม่ี า https://quizlet.com/542402260/bio-1500-lab-phylum-mollusca-general-anatomy-diagram

สืบค้นเม่อื 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 25

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจักรสัตว์

ไฟลมั เอไคโนเดอร์มำตำ (Phylum Echinodermata)
ไฟลมั เอไอโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata) เป็นสตั วท์ ผ่ี วิ หนงั มีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาว
ทะเล เมน่ ทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ ลกั ษณะสาคญั ของสัตว์ใน Phylum Echinoderm คือ
- สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นแบบครึง่ ซกี ตวั เต็มวัยมเี มทามอร์โฟซสิ (Metamorphosis) กลายเป็น
สมมาตรแบบรัศมี
- ลาตัวแบง่ เป็น 5 สว่ นหรอื ทวีคูณของ 5 ยน่ื ออกมาจากแผ่นกลมท่เี ป็นศนู ย์กลาง
- มีโครงรา่ งแข็งภายใน มีแผ่นหนิ ปนู เลก็ ๆ ทยี่ ึดติดกนั ดว้ ยกลา้ มเนือ้ หรือผิวหนังที่ปกคลมุ อยู่บางชนดิ
- มีเส้นประสาทเปน็ วงแหวนรอบปาก และแยกแขนงไปตามแขน
- การเคล่อื นไหวใช้ระบบทอ่ นา้ (water vascula system) ภายในรา่ งกาย
- การสบื พันธุ์ แบง่ เปน็ แบบอาศัยเพศโดยมีการปฏิสนธภิ ายนอก และ แบบไมอ่ าศัยเพศบางชนดิ เช่น
การขาดของแขนใดแขนหน่ึง สว่ นทข่ี าดกจ็ ะเจริญไปเป็นตัวเต็มอกี ทห่ี นง่ึ

ภาพ สงิ่ มีชวี ติ พวก Echinoderm
ที่มา https://sites.google.com/site/phylumchordata5820310192/phylum-echinodermata

สบื คน้ เมื่อ 1 ตุลาคม 2562

ภาพ โครงสร้างรา่ งกายพวก Echinoderm
ทม่ี า https://sites.google.com/site/phylumchordata5820310192/phylum-echinodermata

สืบคน้ เม่ือ 1 ตลุ าคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 26
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 7 อาณาจักรสัตว์

ไฟลัมคอร์ดำตำ (Phylum Chordata)
คุณสมบัตเิ ฉพาะของ Phylum Chordata
- มโี นโตคอรด์ (Notochord) ซึ่งเป็นแกนคา้ จุนหรือพยงุ กายเกิดขน้ึ ในระยะใดระยะหนงึ่ ของชวี ติ หรอื
ตลอดชวี ติ ในพวกสตั วช์ นั้ สงู มีกระดูกอ่อนหรอื กระดูกแขง็ แทนโนโตคอรด์
- มีไขสนั หลงั เปน็ หลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลงั (Dorsa hollow nerve tube) เหลือทางเดนิ อาหารซง่ึ
แตกตา่ งจากสัตวพ์ วกไม่มีกระดูกสันหลัง ซงึ่ มรี ะบบประสาทอยทู่ างด้านท้อง (Ventral nerve cord) ใต้ทางเดนิ
อาหารและเป็นเสน้ ตนั
- มชี ่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนงึ่ ของชีวติ หรือตลอดชีวิตใน พวกสตั วม์ ีกระดูกสันหลังช้ันสูง
เช่น สตั ว์ปีก สตั ว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนา้ นมจะมชี อ่ งเหงอื กตอนเป็นตัวอ่อนเทา่ นัน้ เม่อื โตขนึ้ ช่องเหงอื กจะปดิ ส่วนปลามี
ชอ่ งเหงือกตลอดชีวิต
- มีหางเปน็ กล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)

สตั วใ์ นไฟลัมนส้ี ำมำรถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 กลุ่ม

1. พวกท่ีไม่มกี ระดูกสันหลงั เรียกว่า Protochordata ได้แก่
Sub-Phytum Urochordata มลี กั ษณะคอื ตัวอ่อนมี Notochord เป็นแกนของรา่ งกายอยู่

บรเิ วณหาง และมชี ่องเหงือก เมอ่ื เจรญิ เตบิ โตเตม็ วัย สว่ นหางจะหลดุ ไป จึงไมม่ ี Notochord เหลืออยู่ ลักษณะท่ี
สาคัญคือ มีปลอกหุ้มอยูร่ อบตวั เปน็ สารจาพวกเซลลูโลส ได้แก่ เพรียงลอย เพรยี งหวั หอม เพรยี งลา

Sub-Phylum Cephalochordata สตั ว์จาพวกน้ีมี Notochord ยาวตลอดลาตัว และยาวเลยไป
ถึงหวั ดว้ ย และจะมีอยู่ตลอดชวี ติ ไดแ้ ก่ แอมฟิออกซัส (Amphioxus)

2. พวกท่ีมกี ระดูกสันหลงั ได้แก่
Sub-Phylum veteorata มลี กั ษณะสาคัญดังน้ี เปน็ สัตวช์ ัน้ สงู มีจานวนมาก มี Notochord ใน

ระยะเอมบริโอ ต่อมามีกระดูกสนั หลังมาแทนที่ (ยกเว้นปลาปากกลม) มรี ยางค์ 2คู่ (ยกเวน้ ปลาปากกลม) มเี ม็ดเลอื ด
แดง มีชอ่ งเหงอื กบริเวณคอหอยในระยะตวั ออ่ น แต่เมอ่ื เจรญิ เตบิ โตข้ึนชอ่ งเหงือกจะปดิ และมปี อดขนึ้ มาแทน
สามารถแบ่งได้ 7 Class ดงั นี้

1) Class Cyclostomata หรอื Class Agnatha ได้แก่ ปลาปากกลม พวกนไี้ มม่ ีขากรรไกร ลาตวั
ยาวคล้ายปลาไหล ขอบบนของปากและปลาล้นิ มีฟันเลก็ ๆ แหลมคมมากมาย ลาตัวนม่ิ ไม่มเี กล็ด ไม่มีครบี ค่เู หมือน
ปลาท่วั ไป เปน็ สัตว์มีกระดกู สันหลงั ทม่ี ีโนโตคอรด์ ปรากฏอยู่ตลอดแม้ในระยะตวั เต็มวยั มีช่องเหงอื ก 7 คู่ สาหรับ
หายใจ

2) Class Chondricthyes ไดแ้ ก่ ปลากระดกู อ่อนท้งั หลาย มชี ่องเหงอื กเหน็ ชัดเจนจากภายนอก
มคี รบี ค่หู รือครีบเด่ียว มีเกล็ดลกั ษณะคล้ายจานย่นื ออกมา ไม่มีกระเพาะลม มปี ากอยูด่ า้ นท้อง มีการปฏิสนธิภายใน
เป็นสตั วเ์ ลอื ดเยน็ เช่น ปลากระเบน ปลาฉลาม ปลาโรนนั ปลากระต่าย ปลาฉนาก

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 27
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

3) Class Osteicthyes ไดแ้ ก่ ปลากระดกู แขง็ ทั้งหลาย มแี ผน่ แกม้ ปิดช่องเหงือกเอาไว้ มีเกล็ด
บางๆ เรยี งเหลอ่ื มกนั คล้ายแผน่ กระเบื้องมงุ หลงั คา กระดกู ภายในเปน็ กระดกู แข็ง มีกระเพาะลม ปากอยู่ปลายสุด
ทางหัว ส่วนใหญป่ ฏสิ นธภิ ายนอกร่างกาย เปน็ สตั ว์เลอื ดเย็น มหี ัวใจ 2 หอ้ ง ได้แก่ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาทู
ปลาตะเพียน มา้ น้า ฯลฯ

4. Class Amphibian ไดแ้ ก่ สัตว์ครึ่งบกครง่ึ นา้ มี 4 ขา มี 5 นว้ิ ปลายนิ้วไมม่ ีเลบ็ ตวั อ่อนอยู่
ในนา้ หายใจดว้ ยเหงอื ก ตวั เตม็ วยั อย่บู นบกหายใจดว้ ยปอด มหี ัวใจ 3หอ้ ง ออกไข่ในนา้ ผิวหนงั ไม่มเี กลด็ ผวิ หนัง
เปยี กชนื้ มีต่อมเมอื ก ผสมพนั ธ์ภุ ายนอก มกี ารเปลย่ี นแปลงรูปรา่ งเพอื่ การเจรญิ เตบิ โตเปน็ สัตว์เลือดเย็น ไดแ้ ก่
คางคก เขยี ด ยง่ิ อา่ ง ปาด กบ งูดนิ ซาลาแมนเดอร์

5. Class Reptilia ไดแ้ ก่สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน สตั ว์ในคลาสน้ีเป็นสัตว์บก หรอื วางไขบ่ นบก มี 4 ขา
ปลายนวิ้ มเี ล็บ ผวิ หนังมเี กลด็ แห้ง หายใจดว้ ยปอด มอี ายุยืน มหี วั ใจ 4ห้อง เปน็ สัตว์เลอื ดเยน็ มีววิ ัฒนาการคอื มี
เปลอื กแข็งหุม้ ลาตัว ไขม่ เี ปลือกแขง็ และเหนียว มีถงุ แอลเลนทอยส์ ทาหน้าท่ีแลกเปล่ียนก๊าซขณะเจริญเตบิ โต
ในไข่ เช่น เตา่ จระเข้ ตกุ๊ แก จิง้ เหลน จิ้งจกง ก้ิงกา่ ฯลฯ

6. Class Aves ไดแ้ ก่ สตั ว์ปีก เป็นสตั วเ์ ลอื ดอุ่น ลาตัวมีขน (Feather) ปกคลุม ขามี 2 ข้าง
ปลายนว้ิ มเี ล็บ ขาหน้าเปล่ียนแปลงเป็นปกี กระดกู บางเปน็ โพรง จงึ มนี ้าหนักตวั เบา มถี งุ ลม (Air sac) แทรกไป
ตามช่องวา่ งของลาตัว และตามโพรง ซึ่งทาให้มีอากาศมากพอทจี่ ะหมนุ เวียนใช้หายใจเวลาบนิ มหี ัวใจ 4 หอ้ ง
ไขม่ เี ปลือก แข็งหมุ้ มีปริมาณไขแ่ ดงมาก ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ไมม่ ตี อ่ มเหง่อื ไมม่ ตี อ่ มนา้ นม ปฏสิ นธิภายใน
ตวั เมียมีรงั ไข่ข้างเดียว เสน้ ประสาทสมองมี 12 คู่ เชน่ นกประเภทตา่ งๆ ท้ังที่บินไดแ้ ละบินไม่ได้

7. Class Mammalia ได้แก่สัตวเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ยนม เราเรียกสัตว์พวกน้ีวา่ แมมมอล (Mammal)
เปน็ สตั ว์เลอื ดอุ่น มีขนเปน็ เส้นๆ (Hair) คลมุ ตวั มี 4 ขา มีตอ่ มเหงอ่ื และตอ่ มนา้ นม มกี ระดูกคอ 7 ข้อ มฟี นั ฝงั ใน
ขากรรไกร มีกลอ่ งเสียง มกี ระบงั ลม หายใจด้วยปอด หัวใจมี 4 ห้อง เมด็ เลอื ดแดงไม่มนี ิวเคลียส ลูกอ่อนเจรญิ ภายใน
มดลกู สมองส่วนหนา้ เจรญิ ดี ได้แก่

- ตุ่นปากเป็ด และตัวกนิ มด ออกลูกเปน็ ไข่
- จงิ โจ้ มีถงุ หน้าทอ้ ง
- สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนมอ่นื ๆ ท่ีตวั อ่อนมีรก (Placenta) เช่น ลิงกงั ลงิ แสม ลงิ ชมิ แปนซี ชะนี เสอื
แมว สุนขั สกุ ร สงิ โต หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ชา้ ง มา้ มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย ปลาวาฬ โลมา แมวนา้
สงิ โตทะเล ฯลฯ

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 28

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

บัตรกิจกรรมกำรเรียนรทู้ ี่ 3
เร่อื ง ไฟลัมในอำณำจักรสตั ว์

คำชแ้ี จง กจิ กรรมการเรียนร้ฉู บับน้เี ปน็ กิจกรรมท่ีจดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ขั้นสารวจและ
ค้นหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase) และขน้ั ประเมนิ ผล
(Evaluate Phase)

ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกันพิจารณาภาพ แล้วอธบิ ายเกี่ยวกบั ไฟลัมในอาณาจักรสัตว์มาพอสงั เขป

เป็นสัตวใ์ นไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สตั วใ์ นไฟลมั เพิ่มเตมิ ...................................................
....................................................................................

เปน็ สตั ว์ในไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สัตวใ์ นไฟลัมเพ่มิ เตมิ ...................................................
....................................................................................

เป็นสัตว์ในไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สตั วใ์ นไฟลัมเพมิ่ เติม...................................................
....................................................................................

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 29
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจกั รสัตว์

เปน็ สัตวใ์ นไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สัตวใ์ นไฟลัมเพม่ิ เติม...................................................
....................................................................................

เปน็ สัตวใ์ นไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สัตวใ์ นไฟลัมเพิ่มเตมิ ...................................................
....................................................................................

เป็นสตั ว์ในไฟลัม.........................................................
ลักษณะสาคญั .............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สตั ว์ในไฟลัมเพิม่ เติม...................................................
....................................................................................

เป็นสัตว์ในไฟลมั .........................................................
ลักษณะสาคัญ.............................................................
....................................................................................
....................................................................................
สัตว์ในไฟลมั เพ่ิมเตมิ ...................................................
....................................................................................

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E)
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 30

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรยี นตอบคาถามเกี่ยวกับอาณาจักรสตั ว์
1. สตั ว์ทีม่ เี นอื้ เยอื่ 2 ชนั้ (Diploblastica animal) ไดแ้ กส่ ตั วช์ นดิ ใดบา้ ง
2. สัตว์ทม่ี ีเนื้อเยอ่ื 3 ชัน้ (Triloblastica animal) ได้แกส่ ัตวช์ นิดใดบา้ ง
3. ยกตัวอย่างสตั วท์ ่ีไมม่ ีสมมาตร มีสมมาตรตามรัศมี และมสี มมาตรดา้ นข้าง
4. ทางเดนิ อาหารของพลานาเรยี เหมือนหรือแตกตา่ งกับทางเดินอาหารของปลาอย่างไร
5. ชอ่ งตัวของพยาธิใบไมก้ ับพยาธิไสเ้ ดอื นเหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร
6. หอยโข่งกับดาวทะเลมีการเกิดชอ่ งปากเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร
7. พยาธิตัวตดื และไสเ้ ดือนดินมปี ลอ้ งลาตวั เหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร
8. สตั ว์ทรี่ ่างกายมีการลอกคราบเพอ่ื การเจรญิ เติบโต ได้แก่ไฟลมั บา้ ง
9. ไฮดราและแมงกะพรนุ มรี ปู ร่างเหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร
10. ยกตวั อย่างกลมุ่ หนอนตัวแบนทมี่ กี ารดารงชวี ิตแบบอิสระ และท่ีมกี ารดารงชวี ติ แบบปรสิต
11. พวกมอลลสั มรี ะบบหมนุ เลอื ดแบบใด

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 31
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

12. เพราะเหตใุ ดพยาธิปากขอ พยาธเิ ส้นด้าย พยาธแิ ส้มา้ จึงไม่ถกู น้าย่อยของผถู้ กู อาศยั ทาลายผิวลาตวั
13. บอกชอื่ คลาสในไฟลัมอาร์โทโพดา พรอ้ มยกตัวอยา่ งสัตว์ทอ่ี ยใู่ นคลาสนั้นๆ
14. ลกั ษณะใดจะพบเฉพาะสัตว์ในไฟลมั คอร์ตาตา
15. สัตว์ทีม่ กี ระดกู สนั หลังและมีขาไกรกรรมีทัง้ หมดกี่คลาส อะไรบ้าง และยกตัวอยา่ งสตั ว์ในแต่ละคลาส

ตอนที่ 3 ใหน้ ักเรยี นนาอักษรหนา้ ข้อความทางด้านขวามือ เติมลงในชอ่ งว่างด้านซา้ ยมอื ที่มีความสมั พนั ธ์กนั

1. ดาวทะเล ก. Radula
2. ฟองน้า ข. Book lung
3. แมงมุม ค. Parapodia
4. แม่เพรียง ง. Water vascular system
5. หอยทาก จ. Choanocyte

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E)
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 32

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรทู้ ี่ 7
เรือ่ ง อำณำจกั รสัตว์

คำชี้แจง แบบทดสอบเปน็ แบบปรนยั เลือกตอบ จานวน 10 ขอ้

1. อาณาจกั รสตั ว์แบ่งเป็นกี่ไฟลมั
ก. 7
ข. 8
ค. 9
ง. 10

2. ใครคอื บิดาแหง่ Taxonomy (อนกุ รมวธิ าน)
n. Alistotle
ข. John Ray
ค. Linews
ง. Copeland

3. ไฟลมั Platyhelminthes มีระบบประสาทแบบใด
ก. ไมม่ ีระบบประสาท
ข. ร่างแห (Nerve net)
ค. แบบขัน้ บันได (Adder type)
ง. มีปมประสาทสมอง (Cerebral ganglia)

4. ลักษณะเดน่ ของ Phylum Chordata ท่ไี มม่ ไี ฟลัมไหนเหมอื น คือ
ก. มใี นโตคอร์ด
ข. เป็น Eucoelomate
ค. เป็นผูบ้ ริโภค
ง. เป็น Endoskeleton

5. ไฟลมั Porifera มลี ักษณะท่ไี ม่มใี ครเหมอื นคือ
ก. มเี ซลล์ 3 ชนิด คือ Amoebocyte/Coanocyte/Porocyte
ข. มหี นวดท่มี เี ข็มพิษอยู่ด้านใน
ค. มที างน้าเข้า Ostium ทางน้าออก Osculum และมี Spicule
ง. มที างนา้ เขา้ Osculum ทางน้าออก Ostium และมี Spicule

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E)
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 33

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจกั รสัตว์

6. สตั ว์พวกแรกทีม่ รี ะบบหมุนเวียนของเลอื ดได้แก่
ก. พยาธิตัวกลม
ข. แม่เพรยี ง
ค. ปลงิ ทะเล
ง. หอยแครง

7. สัตว์ชนดิ ใดทอ่ี ยู่ใน Phylum Porifera
ก. ฟองน้า
ข. หนอนตวั กลม
ค. ไฮตรา
ง. ไสเ้ ดือน

8. กลุ่มสตั ว์พวกใดทมี่ กี ารจัดระเบียบโครงสรา้ งร่างกายทีม่ สี มมาตร เป็นแบบเดียวกนั
ก. ดอกไม้ทะเล แมงกระพรุน ดาวเปราะ
ข. เม่นทะเล แม่เพรยี ง หอ้ งน้า
ค. พลานาเรีย ไฮดรา โอบีเลีย
ง. เพรยี งหัวหอม หมึก อะมบี า

9. Phylum Mollusca ระบบหมุนเวยี นเลอื ดแบบเปดิ ยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. ปะการัง
ข. หนอนตวั แบน
ค. หมึก
ง. ฟองนา้

10. ไฟลมั ใดไมม่ ีระบบหมนุ เวยี นเลือด
ก. Arthropoda
ข. Mollusca
ค. Nematoda
ง. Anelida

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E)
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 34

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

กระดำษคำตอบ ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรทู้ ี่ 7
เรอ่ื ง อำณำจักรสัตว์

 ก่อนเรียน  หลงั เรยี น

ชื่อ......................................................ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี.........................เลขท่ี......................

ข้อที่ ก. ข. ค. ง.
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

30

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 32
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 35

ชดุ กิจกรรมท่ี 7 อาณาจักรสตั ว์

บรรณำนกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ(2551). หลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำนพุทธศกั รำช 2551. กรงุ เทพมหานคร:
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

โครงการดาราวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์มลู นิธิ สอวน.(2552). ชวี วทิ ยา สตั ววิทยา3. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิ
สอวน.

จิรัสย์ เจนพาณิชย(์ 2552). ชวี วิทยำสำหรบั นักเรียนมธั ยมปลำย. กรงุ เทพมหานคร: ผจก.สามลดา.
เชาวน์ ชโิ นรกั ษ์ และพรรณี ชิโนรักษ์(2552). ชวี วทิ ยำ 1. กรุงเทพมหานคร: โสภณการพิมพ์.
ซรี ส์ ตาร์(2552). ชีววทิ ยำ เล่ม 1. (แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications โดยทมี คณาจารย์ ภาควชิ า

ชวี วิทยามหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , ผแู้ ปล). กรุงเทพมหานคร: เจเอสทพี บั ลชิ ช่ิงจากัด.
นงลกั ษณ์ สุวรรณพนิ จิ และปรีชา สุพรรณพินิจ(2552). จุลชวี วทิ ยำท่ัวไป. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.
ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด(มปป.). คู่มือสำระกำรเรยี นรพู้ ้ืนฐำนและเพ่ิมเตมิ กลมุ่ สำระกำร

เรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ชีววทิ ยำ ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพมหานคร: พฒั นาศกึ ษา.
ปรีชา สวุ รรณพนิ จิ และนงลกั ษณ์ สุพรรณพินจิ (2549). ชีววิทยำ 2. กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
วนั ดี วัฒนชยั ยิ่งเจรญิ (2552). กำรจดั จำแนกสงิ่ มีชีวิต. ภาควชิ าชีววทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(2541). หนังสือเรยี นรำยวชิ ำชวี วิทยำเพ่ิมเติม เล่ม 5.

กรงุ เทพมหานคร: สกสค.
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(2555). คมู่ ือครูรำยวชิ ำชวี วิทยำเพมิ่ เตมิ เลม่ 5.

กรงุ เทพมหานคร: สกสค.

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 36
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 37
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์

แบบบนั ทึกคะแนนระหวำ่ งเรยี น
เรื่อง อำณำจักรสัตว์

ชดุ กิจกรรมกำรเรียนร้คู วำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ รำยวิชำชวี วทิ ยำ (ว33109) ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 6
กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง อำณำจักรสัตว์

ช่อื ......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่.........................เลขที.่ .....................

กิจกรรม คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้
บัตรกิจกรรมท่ี 1 10
บตั รกจิ กรรมที่ 2 10
บัตรกจิ กรรมที่ 3 30

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 38
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจักรสัตว์

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ที่ 7
เรือ่ ง อำณำจกั รสตั ว์

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ขอ้ ท่ี ก. ข. ค. ง.
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อที่ ก. ข. ค. ง.
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 39
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

เฉลยบตั รกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง รจู้ ักสัตว์

คำชี้แจง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบบั นีเ้ ปน็ กจิ กรรมทจี่ ดั การเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ขั้นตรวจสอบ
ความรู้เดิม (Elicitation Phase) ขน้ั เรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) และข้ันอธบิ าย
(Explanation Phase)

กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ศึกษาภาพ แล้วตอบคาถามต่อไปน้ี

คำถำม
1. จากภาพมีจานวนสตั ว์กช่ี นิด อะไรบ้าง

มี 11 ชนิด ได้แก่ ฉลาม ปลา ผีเสอ้ื ลงิ ผ้งึ หอยทาก เตา่ แมงมมุ เสอื นกเคา้ แมว เขยี ด

2. สตั วแ์ ต่ละชนิดท่ีพบ สามารถแบ่งเปน็ ชนดิ ย่อยๆ ไดอ้ ีกหรอื ไม่
ได้ เพราะสัตว์ในภาพมีหลายสายพนั ธ์ุ มีโครงสร้างร่างกาย และการดารงชวี ติ หลายรปู แบบ

3. เขยี นช่อื สัตว์ท่ีนกั เรยี นรมู้ า 15 ชนดิ
มี 11 ชนิด ไดแ้ ก่ ฉลาม ปลา ผเี สอื้ ลิง ผึ้ง หอยทาก เตา่ แมงมมุ เสอื นกเค้าแมว เขยี ด

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 40
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์

เฉลยบตั รกิจกรรมกำรเรยี นรทู้ ี่ 2
เรอ่ื ง กำเนดิ อำณำจกั รสตั ว์

คำชแี้ จง กิจกรรมการเรียนรฉู้ บับนเ้ี ป็นกิจกรรมทีจ่ ัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ขน้ั สารวจและ
คน้ หา (Exploration Phase), ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration Phase) และขน้ั นาความรูไ้ ปใช้
(Extend Phase)

คำส่ัง เมอ่ื นักเรียนศึกษาบัตรความรูเ้ รอ่ื ง กาเนดิ อาณาจักรสัตว์ แล้วเขยี นเตมิ ผงั มโนทัศนท์ ี่กาหนดให้สมบูรณ์

ลักษณะของ เปน็ สตั วท์ ี่มี สมมาตรของ
โพรงในลาตวั เนือ้ เย่ือที่ รา่ งกาย
แทจ้ ริงหรือไม่

ลักษณะเกณฑใ์ น
กำรจัดจำแนก
หมวดหมขู่ องสตั ว์

การเจรญิ ในระยะ การเปลี่ยนแปลง
ตวั อ่อน ของบลาสโทพอร์
(Embryo) (Blastopore)

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 41
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

เฉลยบตั รกิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ี 3
เรือ่ ง ไฟลมั ในอำณำจกั รสตั ว์

คำชแ้ี จง กิจกรรมการเรียนรูฉ้ บับนี้เป็นกิจกรรมท่จี ดั การเรียนรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ข้นั สารวจและ
ค้นหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Elaboration Phase) และขน้ั ประเมินผล
(Evaluate Phase)

ตอนท่ี 1 ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั พจิ ารณาภาพ แล้วอธิบายเกี่ยวกับไฟลมั ในอาณาจักรสัตวม์ าพอสงั เขป

เป็นสัตวใ์ นไฟลมั ...ไ.น...ด..า..เ.ร..ีย....(.C...n..i.d..a...r.i.a..).......................
ลกั ษณะสาคัญ..ม...เี .น..้ือ...เ.ย..อ่ื...ท..แ่ี...ท..จ้...ร..งิ ...ล..า..ต..ัว..ก...ล..ว..ง..............
...ม..หี...น..ว...ด..ร..อ..บ...ป...า.ก....ไ..ม..่ม...รี ..ะ..บ...บ..ห...ม..ุน...เ.ว..ีย..น...เ.ล...อื ..ด................
...ไ.ม...่ม..รี..ะ..บ...บ...ห..า..ย...ใ.จ....ม..สี ..ม...ม..า..ต...ร..แ..บ...บ..ร..ัศ...ม..ี .......................
สตั วใ์ นไฟลมั เพมิ่ เติม..ไ..ฮ..ด..ร..า...แ...ม..ง..ก..ะ...พ..ร..นุ......................
...ซ..แี...อ..น..โี..ม..น...ี.ก...ัล..ป...ป์ ..ัง..ห...า...ป...า..ก..ก..า..ท...ะ..เ.ล.............................

เปน็ สัตว์ในไฟลัม...อ..า..ร..โ์..ท..โ..พ..ด...า....(.A...r.t..h..r.o...p..o...d..a..)...........
ลกั ษณะสาคัญ.ล..า..ต..วั..เ..ป..น็...ป...ล..้อ..ง...ม...ีส..ว่..น...ห..วั....อ..ก....แ..ล...ะ..ท...้อ..ง.
แ...ล..ะ..ม...ีร..ย..า..ง..ค..เ์ .ป...็น...ข..อ้ ..ๆ...ต..่อ...ก..นั ....ม..โี..ค..ร..ง..ร..า่ ..ง..แ..ข...็ง.ภ...า..ย..น...อ..ก.....
.ร..ะ..บ...บ..ป...ร..ะ..ส..า..ท...เ.จ..ร..ิญ....ด..ี.ร..ะ...บ..บ...ห..ม...ุน..เ..ว..ยี ..น...เ.ล..อื...ด..แ..บ...บ...เ.ป...ิด..
สัตวใ์ นไฟลัมเพิ่มเตมิ .เ.ม..่น...ท...ะ..เ.ล....ก..งุ้...ก...ั้ง...ป..ู..แ..ม..ล...ง............
...ก..ิง้..ก..ือ....ต..ะ...ข..า..บ....แ..ม...ง.ป...่อ...ง..............................................

เป็นสัตว์ในไฟลัม.เ..อ..ไ.ค...โ.น...เ.ด...อ..ม..า..ต...า...(.E..c..h...i.n..o..d...e..r..m...a..t..a. )
ลกั ษณะสาคัญ.ม...ผี..ว..ห...น...งั .บ...า..ง..ห..ุ้ม...โ.ค...ร..ง.ร..า่..ง..แ...ข..ง็..ภ..า..ย...ใ.น...ล..า.ตวั
.ม..ีห...น..า..ม...ย..น่ื...อ..อ..ก...ม..า..ซ...ึง่ .ท...า..ห...น..า้..ท...่ีแ..ต..ก...ต..า่..ง..ก..นั...ใ..น..แ..ต...ล่ ..ะ..ช...น..ดิ
ม...รี ..ะ..บ...บ..ท...อ่ ..ล...า.เ..ล..ีย..ง..น...า้ ..แ..ล..ะ...ท..ิว..ป...ฟ์...ิต..ช...่ว..ย..ใ.น...ก..า..ร..เ..ค..ล..อื่...น.....
สตั ว์ในไฟลมั เพมิ่ เติม.ด..า..ว..ท...ะ..เ.ล....อ..ีแ...ป..ะ..ท...ะ..เ.ล....ป...ล..งิ..ท...ะ..เ.ล..
พ...ล..ับ...พ...ล..ึง..ท...ะ..เ.ล....ด..า..ว..ข..น...น...ก...ด...า..ว..ม..ง..ก..ฏุ...ห...น..า..ม...................

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E)
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 42

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

เป็นสตั วใ์ นไฟลมั แ...พ..ล...ท..เี..ฮ..ล..ม...ิน..เ..ท..ส....(.P..l..a..t.y..h...e..l.m....i.n..t..h..e. s
ลักษณะสาคัญ..ล...า..ต..วั..แ..บ...น....ร..ปู ..ร..า่..ง..ค...ล..้า..ย..ใ..บ..ไ..ม..้ห...ร..ือ..ร..ิบ...บ..ิ้น
ม...ที ..า..ง..เ.ด...ิน..อ...า..ห..า..ร..ไ..ม..ส่...ม..บ...ูร..ณ...์.ไ..ม..่ม...ีร..ะ..บ...บ..ห...ม..ุน...เ.ว..ยี...น..เ.ล...ือ..ด..
.ไ.ม...่ม..ชี..่อ...ง..ว..า่ ..ง.ใ..น..ล...า..ต..ัว....ข..บั...ถ..่า..ย..ด..้ว..ย...เ.ฟ...ล..ม...เ.ซ..ล...ล..์...............
สัตวใ์ นไฟลมั เพิ่มเติม.พ...ล..า..น...า..เ.ร..ีย...พ...ย..า..ธ..ใิ..บ..ไ..ม..้..ต..วั..ต..ื.ด......

....................................................................................

เปน็ สตั ว์ในไฟลัม...ม..อ...ล..ล..สั...ก..า...(.M....o..l.l..u..s..c..a..)...................
ลกั ษณะสาคญั .....ล..า..ต..วั..อ...อ่ ..น...น..มุ่....ป...ก..ค..ล...มุ ..ด...ว้ ..ย..แ..ม...น..เ..ท..ิล....
..ท...า.ง..เ..ด..ิน...อ..า..ห..า..ร..ส...ม..บ...ูร..ณ...์ ..ม..ไี ..ต..ส..า..ห...ร..ับ..ข...ับ..ถ...่า..ย...พ...ว..ก...อ..ย..ู่..
..ใ.น...น...า้ ..ห..า..ย..ใ..จ..ด..้ว...ย..เ.ห...ง..ือ..ก....พ...ว..ก..อ..ย...ู่บ..น...บ..ก...ห...า.ย...ใ.จ...ด..้ว..ย..ป...อ..ด
สตั วใ์ นไฟลมั เพ่มิ เตมิ .ห...อ..ย....ห..ม...ึก...ห...อ..ย...ท..า..ก....ล..น่ิ...ท..ะ..เ..ล......

....................................................................................

เป็นสตั วใ์ นไฟลัม...อ..า..ร..์โ..ท..โ..พ...ด..า....(..A..r.t..h..r..o..p..o...d..a...)..........
ลักษณะสาคัญ..ล..า..ต..ัว..เ..ป..น็...ป..ล...้อ..ง...ม...สี ..ว่..น...ห..ัว....อ..ก....แ..ล..ะ...ท..้อ...ง
.แ...ล..ะ..ม...รี ..ย..า..ง..ค..์เ.ป...น็...ข..้อ..ๆ...ต..อ่...ก..นั....ม..โี..ค..ร..ง..ร..า่..ง..แ..ข..ง็..ภ...า..ย..น...อ..ก....

.ร..ะ..บ..บ...ป...ร..ะ..ส..า..ท...เ.จ..ร..ิญ...ด...ี .ร..ะ..บ...บ...ห..ม...ุน..เ..ว..ีย..น...เ.ล..ือ...ด..แ..บ...บ...เ.ป...ิด..
สัตว์ในไฟลมั เพ่ิมเตมิ .เ.ม...่น..ท...ะ..เ.ล....ก..งุ้....ก..้งั...ป...ู .แ..ม...ล..ง............
.ก..งิ้ ..ก..อื ....ต..ะ..ข...า..บ....แ..ม..ง..ป...่อ..ง.................................................

เปน็ สัตว์ในไฟลมั .ค...อ..ร..์ด..า..ต...า...(.C...h..o...r.d..a..t..a..).....................
ลกั ษณะสาคญั ..ม..ีโ..น..โ..ต..ค..อ...ร..ด์ ..เ.ป...น็...แ..ก..น...ค..้า..จ...ุน...ม...ไี.ข...ส..ัน...ห..ล..ัง
.เ..ป..็น...ห...ล..อ..ด...ก..ล..ว..ง..ย..า..ว....ม..ีช...อ่ ..ง..เ.ห...ง..ือ..ก..ใ..น..ร..ะ...ย..ะ..ห...น..งึ่..ข...อ..ง..ช..ีว..ติ
.ม...ีร..ะ..บ...บ..ป...ร..ะ..ส..า..ท...เ.จ..ร..ิญ....ด..ี..............................................
สัตวใ์ นไฟลมั เพม่ิ เตมิ .ส..ตั...ว..์ป..ีก....ส..ั.ต..ว..์เ.ล..ื้อ...ย..ค...ล..า..น....ป..ล...า......

.ส..ตั..ว..ค์...ร..ง่ึ ..บ..ก...ค..ร..่ึง..น..้า....ส..ตั..ว...์เ.ล..ย้ี..ง..ล...ูก..ด..ว้..ย...น..้า..น...ม....................

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 43
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 7 อาณาจักรสัตว์

ตอนที่ 2 ให้นกั เรยี นตอบคาถามเกย่ี วกับอาณาจักรสตั ว์
1. สตั วท์ ม่ี เี น้อื เย่ือ 2 ช้ัน (Diploblastica animal) ไดแ้ ก่สัตว์ชนดิ ใดบ้าง

ฟองน้า และสตั ว์กลมุ่ ไนดาเรีย

2. สตั ว์ท่มี ีเน้ือเยื่อ 3 ช้ัน (Triloblastica animal) ไดแ้ ก่สตั วช์ นิดใดบา้ ง
หนอนตวั แบน หนอนตวั กลม อาร์โทพอด หอย หมกึ เอไคโนเดิรม์ สัตวใ์ นกลุม่ มกี ระดูกสนั หลงั

3. ยกตัวอยา่ งสัตวท์ ่ีไม่มีสมมาตร มีสมมาตรตามรัศมี และมีสมมาตรด้านข้าง
ไมม่ สี มมาตร เชน่ ฟองนา้ ..มสี มมาตรแบบรัศมี เช่น ไฮดรา ดาวทะเล แมงกะพรุน ...มสี มมาตรแบบครงึ่ ซีก
ไดแ้ ก่ กงุ้ ปลา คน แมง นก

4. ทางเดินอาหารของพลานาเรยี เหมือนหรอื แตกต่างกบั ทางเดนิ อาหารของปลาอยา่ งไร
แตกต่างกัน..พลานาเรีย มชี อ่ งเปิดทางเดียวคอื ปาก..ปลามีชอ่ งเปิด 2 ทาง คอื ปากและทวารหนัก

5. ชอ่ งตัวของพยาธใิ บไม้กับพยาธไิ สเ้ ดือนเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร

แตกตา่ งกนั ..พยาธิใบไม้ไม่มีชอ่ งลาตัว พยาธไิ ส้เดือนมชี อ่ งตวั เทยี ม

6. หอยโขง่ กบั ดาวทะเลมกี ารเกิดช่องปากเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร

แตกต่างกัน ...หอยโขง่ ปากจะเกิดก่อนทวานหนัก ดาวทะเลช่องปากเกิดหลังทวารหนัก
7. พยาธติ ัวตดื และไสเ้ ดอื นดนิ มปี ล้องลาตัวเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร

แตกต่างกัน..ตัวตืดมลี าตัวเปน็ ปล้องเฉพาะภายนอก ส่วนไสเ้ ดือนดินลาตัวเป็นปลอ้ งท่แี ท้จริง

8. สตั ว์ทร่ี ่างกายมกี ารลอกคราบเพอื่ การเจริญเติบโต ได้แก่ไฟลัมบา้ ง
ไฟลมั นีมาโทดา และ ไฟลัมอาร์โทรโพดา

9. ไฮดราและแมงกะพรนุ มีรูปร่างเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร
แตกต่างกนั คอื ไฮดรามรี ปู รา่ งเป็นแบบโพลปิ แมงกะพรุนมรี ปู ร่างแบบเมดซู า ...เหมือนกนั คือขณะที่
แมงกะพรนุ เปน็ ตวั อ่อนจะมีรปู รา่ งแบบโพลปิ

10. ยกตัวอยา่ งกลุ่มหนอนตัวแบนทม่ี กี ารดารงชีวิตแบบอิสระ และทม่ี กี ารดารงชีวติ แบบปรสิต
พวกท่ดี ารงชวี ิตอิสระ เชน่ พลานาเรยี หนอนหัวขวาน...พวกที่ดารงชีวิตเป็นปรสติ เช่น พยาธิใบไม้
พยาธติ ัวตืด

11. พวกมอลลัสมีระบบหมนุ เลือดแบบใด
มีระบบหมนุ เลือดแบบเปดิ ยกเวน้ หมึก

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 44
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

12. เพราะเหตใุ ดพยาธปิ ากขอ พยาธิเสน้ ดา้ ย พยาธแิ ส้มา้ จงึ ไม่ถกู นา้ ย่อยของผถู้ กู อาศยั ทาลายผิวลาตัว

เนอ่ื งจากพยาธิเป็นปรสติ มีคิวทนิ ปกคลมุ ผิวลาตัว ช่วยป้องกันน้าย่อยจากทางเดินอาหารของผู้ถูกอาศัยได้

13. บอกชอ่ื คลาสในไฟลัมอารโ์ ทโพดา พร้อมยกตัวอยา่ งสตั วท์ อ่ี ยู่ในคลาสนั้นๆ

1.คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata) ไดแ้ ก่ แมงดาทะเล แมงดาถ้วย แมงดาจาน
2.คลาสอะแรคนดิ า (Class Arachinida) ไดแ้ ก่ แมงมมุ แมงปอ่ ง บ้ึง เห็บ
3.คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda) ได้แก่ กิ้งกอื กระสุนพระอนิ ทร์
4.คลาสชโิ ลโพดา (Class Chilopoda) ได้แก่ ตะขาบ
5.คลาสอนิ เซค็ ตา (Class Insecta) ไดแ้ ก่ ตวั สามงา่ ม ยงุ แมลงวนั แมลงปอ ผีเสอื แลงสาป มด ปลวก
6.คลาสครสั เทเซยี (Class Crustacea) ไดแ้ ก่ กุง้ นา้ จืด กุง้ นา้ เค็ม กงั้ ปู ไรนา้

14. ลกั ษณะใดจะพบเฉพาะสตั ว์ในไฟลมั คอรต์ าตา
มีโนโตคอร์ดเป็นแกนค้าจุน มไี ขสันหลงั เปน็ หลอดกลวงยาว มีชอ่ งเหงอื กในระยะหนึ่งของชวี ติ มีระบบ
ประสาทเจริญดี

15. สตั วท์ ี่มกี ระดกู สนั หลงั และมีขาไกรกรรมีทัง้ หมดก่ีคลาส อะไรบ้าง และยกตวั อย่างสัตวใ์ นแต่ละคลาส

1. คลาสคอนดริคไธอสิ (Class Chondrichthyes) เปน็ ปลาทมี่ ีกระดูกอ่อน เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน
ง2จ. าคกลพายสาอธอิเสปต็นรปิครไสธติอสิ มีค(Cวิ lทasินsปOกคstลeมุ icผhวิ tลhาyตeวั s)ชเว่ ปยน็ ปป้อลงากกนั รนะา้ดยกู อ่ แยขจง็ าเกชทน่ างปเดลินากอราะหดาูกรแขขอ็งงผถู้ ูกอาศัยได้
3.คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia) เป็นพวกสตั ว์คร่ึงบกครงึ่ น้า เช่น ซาลามานเดอร์ กบ คางคก
4. คลาสเรพทเี รีย (Class Reptilia) เป็นพวกสัตว์เล้อื ยคลาน เช่น งู ต๊กุ แก
5. คลาสเอวีส (Class Aves) มีขน มีปกี ไม่มฟี นั ตอ้ งใชก้ ึ๋นในการบดอาหาร ปอดมีถุงลม เชน่ นกทุกชนิด
6. คลาสแมมมาเรยี (Class Mammalia) เป็นสตั ว์ทเ่ี ลี้ยงลูกด้วยนม เป็นสัตว์เลือดอ่นุ เชน่ ตัวเมน่ นม่ิ ชา้ ง

ตอนท่ี 3 ใหน้ ักเรยี นนาอักษรหน้าข้อความทางด้านขวามอื เตมิ ลงในชอ่ งวา่ งด้านซา้ ยมือ ที่มีความสัมพันธ์กนั

ง 1. ดาวทะเล ก. Radula
จ 2. ฟองน้า ข. Book lung
ข 3. แมงมมุ ค. Parapodia
ค 4. แม่เพรียง ง. Water vascular system
ก 5. หอยทาก จ. Choanocyte

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E)
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ 45

ชุดกจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสตั ว์

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล
เร่ือง อำณำจักรสตั ว์

ช่ือ......................................................ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี.........................เลขท่.ี .....................

คำช้ีแจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งทตี่ รงกับ
ระดบั คะแนน

ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน
3 การทางานตามหน้าท่ที ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
4 ความมีนา้ ใจ
5 การตรงต่อเวลา

รวม

ลงชอ่ื ......................................ผู้ประเมิน
........../................./........

เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์กำรตัดสินคณุ ภำพ ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ดมี าก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรบั ปรุง
ต่ากว่า 10

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 46
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสตั ว์

แบบสังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลมุ่
เรือ่ ง อำณำจักรสัตว์

ชอื่ ......................................................ชั้นมธั ยมศึกษาปีท.่ี ........................เลขท่ี......................

คำชแี้ จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทต่ี รงกับ
ระดบั คะแนน

ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
1 การแบง่ หน้าท่กี นั อยา่ งเหมาะสม
2 ความร่วมกันทางาน
3 การแสดงความคิดเหน็
4 การรบั ฟังความคิดเหน็
5 ความมนี า้ ใจชว่ ยเหลือกนั

รวม

ลงชอ่ื ......................................ผูป้ ระเมิน
........../................./........

เกณฑก์ ำรให้คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์กำรตัดสินคุณภำพ ระดบั คณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ดีมาก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรบั ปรงุ
ตา่ กว่า 10

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) 47
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 7 อาณาจกั รสัตว์

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะของผเู้ รียน
เรอื่ ง อำณำจักรสตั ว์

ช่อื ......................................................ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่.........................เลขท.ี่ .....................

คำชแี้ จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องทตี่ รงกับ
ระดบั คะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
อนั พงึ ประสงค์

ด้าน

1. 1. ยืนตรงเมือ่ ไดย้ นิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธิบายความหมายของเพลงชาติ

รกั ชาติ 2. ปฏบิ ตั ติ ามสิทธิฯและหน้าที่ของนักเรียน

ศาสน์ 3. ให้ความรว่ มมือร่วมใจในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น

กษตั ริย์ 4. เข้ารว่ มกจิ กรรมและมีส่วนร่วม ในการจดั กิจกรรมที่สรา้ งความสามคั คปี รองดอง

และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นและชุมชน

5. เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏิบตั ิตามหลักของศาสนา

6. เข้ารว่ มกิจกรรมและมสี ว่ นรว่ มในการคดิ จดั กิจกรรม เก่ียวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

ตามทโี่ รงเรียนและชมุ ชนจัดขน้ึ

2. 1. ใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ต้องและเป็นจริง

ซือ่ สัตย์ 2. ปฏิบตั ิในสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ละอายและเกรงกลวั ท่ีจะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ีตนใหไ้ ว้

สุจริต กับเพือ่ น พ่อแม่หรือผปู้ กครอง และครู

3. ปฏิบตั ติ อ่ ผู้อ่ืนด้วยความซือ่ ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทไี่ มถ่ ูกต้อง

3. 1. ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคบั ของครอบครัวและโรงเรยี น

มีวินยั 2. ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวนั และรบั ผิดชอบในการทางาน
รบั ผดิ ชอบ

4. 1. แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งเรียนร้ตู า่ งๆ

ใฝเ่ รียนรู้ 2. มกี ารจดบนั ทกึ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ

3. สรุปความรู้ท่ีได้อย่างมีเหตผุ ล

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 48
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจักรสตั ว์

คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงค์ 4321

ด้าน

5. 1. ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เช่น สิ่งของ เคร่ืองใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รักษา
อยอู่ ย่าง ดูแลอยา่ งดีและใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม
พอเพยี ง
2. ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และเก็บรกั ษาดูแลอยา่ งดี

3. ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล

4. ไม่เอาเปรียบผูอ้ ่นื และไมท่ าให้ผอู้ ื่นเดอื ดร้อน พรอ้ มให้อภัย เมื่อผู้อนื่ กระทาผดิ พลาด
5. วางแผนการเรียน การทางาน และการใช้ชวี ิตประจาวัน บนพ้ืนฐานของความร้ขู อ้ มลู

ขา่ วสาร
6. รู้เทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ มยอมรับ และปรบั ตัวอยรู่ ่วมกบั

ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข

6. 1. มีความต้ังใจและพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย
มุ่งม่นั 2. มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเรจ็
ในการทางาน
7. 1. มีจติ สานกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
รักความ 2. เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย
เป็นไทย
8. 1. รู้จักชว่ ยพ่อแมผ่ ู้ปกครองและครูทางาน
2. อาสาทางานชว่ ยคดิ ชว่ ยทาและแบง่ ปนั สง่ิ ของให้ผู้อื่น
มี 3. ดูแลรักษาทรพั ยส์ มบัติของห้องเรยี นโรงเรียนและชมุ ชน
จติ สาธารณะ

4. เข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน

ลงชื่อ......................................ผปู้ ระเมิน
........../................./........

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 49
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ


Click to View FlipBook Version