The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by te_ry_tan1, 2022-04-12 09:10:25

ชุดที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

ชุดที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

คำนำ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) รายวชิ าชวี วทิ ยา
(ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ผู้เรียนสามารถนาไปฝกึ ปฏบิ ตั หิ รือเรียนรู้เพิ่มเตมิ ดว้ ยตนเอง ทงั้ ในและนอกเวลาเรยี น โดยชุด
กิจกรรมการเรยี นรู้แตล่ ะชดุ ประกอบด้วยเอกสาร 2 ส่วน คือ คู่มอื ครแู ละชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ทง้ั นเ้ี พ่อื ให้ผ้เู รียนนา
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ไปดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ได้สะดวกและมปี ระสิทธภิ าพตรงตามจดุ มุ่งหมายของการสรา้ งชดุ
กจิ กรรม ซึ่งชุดกิจกรรม เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบดว้ ย 8 ชดุ กจิ กรรม ดงั น้ี

1. ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพ
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 กาเนดิ ของสง่ิ มชี วี ิต
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 อาณาจักรมอเนอรา
4. ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรตสิ ตา
5. ชุดกิจกรรมท่ี 5 อาณาจกั รพชื
6. ชดุ กิจกรรมท่ี 6 อาณาจกั รฟังไจ
7. ชดุ กิจกรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์
8. ชดุ กจิ กรรมที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย
ชดุ กิจกรรมนี้ เปน็ ชุดท่ี 1 เรื่อง การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงประกอบด้วย คาชี้แจง ผลการ
เรยี นรู้ จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ วิธีใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและอปุ กรณ์การเรียนรู้ แบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น ซึง่ เปน็ แบบตวั เลอื ก 4 ตวั เลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมกับบัตรความรู้และบัตรกิจกรรม รวมท้งั มี
แบบทดสอบหลังเรยี นและเฉลยแบบทดสอบและบตั รกิจกรรม ท้ายสุดมีแบบบันทกึ คะแนนกอ่ นเรยี น ระหวา่ งเรยี น
และหลังเรยี น
ผู้จัดทาหวังเปน็ อยา่ งยิง่ วา่ ชดุ การเรียนรูน้ ี้ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอน สาหรับครู นกั เรียนและผทู้ ี่
สนใจ เพื่อใชใ้ นการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตอ่ ไป

นางวิไลพร จันเสงี่ยม

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) 1
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

สำรบัญ ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

เรอื่ ง หน้ำ
คานา 1
สารบญั 2
คาช้ีแจง 3
การใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4
ผลการเรียนรู้ 5
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 6
สาระการเรียนรู้ 6
บทบาทของนักเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรยี น 8
บัตรกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ี 1 11
บัตรความร้ทู ่ี 1 13
บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 14
บัตรความร้ทู ี่ 2 15
บัตรกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 3 26
แบบทดสอบหลงั เรียน 30
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก 34
แบบบนั ทกึ คะแนนระหวา่ งเรียน 35
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 36
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 1-3 37
แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น และประเมนิ คณุ ลักษณะ 44

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) 2
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

คำช้ีแจง

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวัฏจกั ร 7 ข้ัน (7E) รายวิชาชีววิทยา
(ว33109) เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ประกอบดว้ ย ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
8 ชุด ดงั น้ี

ชดุ ท่ี ช่ือชดุ กจิ กรรม จานวนคาบเรยี น
1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 2
2 กาเนิดของสงิ่ มชี ีวิต 2
3 อาณาจักรมอเนอรา 2
4 อาณาจกั รโพติสตา 2
5 อาณาจักรพชื 2
6 อาณาจักรฟงั ไจ 2
7 อาณาจักรสัตว์ 2
8 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทสไทย 2
16
รวม

ชุดกิจกรรมการเรยี นรฉู้ บับน้ี เป็นชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 3 เรอื่ ง อาณาจกั รโพรทสิ ตา ซึ่งนกั เรยี นจะได้
ศึกษาเรียนรแู้ ละปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่ือศกึ ษาเก่ียวกับความหลากหลานของสงิ่ มีชีวิต โดยใช้เวลาในการปฏิบตั ิ
กจิ กรรมทงั้ หมด 2 คาบเรยี น และให้นักเรียนศึกษาชุดกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7E) 3
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

กำรใชช้ ดุ กิจกรรม

ข้ันเตรียมกอ่ นใช้ชดุ กิจกรรม
1. ทาการศกึ ษาคน้ คว้าในเรื่องท่ตี นเองจะเรียนหรือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมมากอ่ นลว่ งหน้าเพ่ือให้เขา้ ใจในบทเรยี น
ได้ดีและรวดเร็วย่ิงข้นึ
2. เตรียมความพร้อมของตนเองสาหรับการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมรว่ มกับเพ่อื นในหอ้ งเรยี นและเพ่อื นรว่ มกล่มุ
3. คาแนะนาในการปฏบิ ตั ิงานกล่มุ
3.1 เลือกประธานกลุม่ เพอ่ื เป็นผ้นู าในการดาเนินการจดั การเรยี นรู้ และเลขากลุม่ เพอ่ื บนั ทกึ
3.2 สมาชกิ ทุกคนตอ้ งมสี ่วนรว่ ม ช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกัน และรบั ผิดชอบร่วมกนั
3.3 ตง้ั ใจปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างเตม็ ความสามารถและรอบคอบ
4. ใช้กลมุ่ เดิมตลอดการเรียนดว้ ยชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 2 เร่ือง อาณาจักรโพรทสิ ตา

ขัน้ เตรียมกอ่ นใชช้ ดุ กิจกรรม
1. ศึกษาภาระงานให้เขา้ ใจ และปฏิบัติตามข้ันตอน
2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง ไมล่ อกเพอ่ื นและไม่ให้เพอ่ื นลอก
3. ศกึ ษากิจกรรมดว้ ยความตั้งใจ แลว้ ทาการวิเคราะห์เนื้อหาและสรปุ เพื่อให้เข้าใจงา่ ย ๆ
4. ศึกษาคาช้แี จงของกจิ กรรมโดยการระดมความคดิ ในกล่มุ เพือ่ ตอบคาถามใหต้ รงตามทฤษฎีของเรื่อง
ทเี่ รยี น ไมต่ อบโดยไมม่ เี หตผุ ลหรือไมม่ ีทฤษฎีรองรบั
5. ร่วมอภปิ รายกบั ครดู ้วยความตง้ั ใจ จดความรใู้ หม่ และซกั ถามทนั ทีเมื่อไม่เข้าใจ
6. มคี วามสามัคคี มนี า้ ใจ ภาคภมู ิใจในผลงานของกลุ่ม โดยไมเ่ อาเปรยี บดว้ ยการน่งั เฉยหรอื กอ่ ความ
วนุ่ วายในห้องเรียน

ขนั้ หลังใช้ชุดกจิ กรรม
1. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. รวบรวมผลงานทไี่ ด้จากการปฏิบัติกิจกรรมสง่ ครู เพ่อื ประเมนิ ผลการเรียนรู้
3. จัดเกบ็ อุปกรณ์ทุกชน้ิ ให้เรียบรอ้ ย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 4
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ผลกำรเรียนรู้

ดำ้ นควำมรู้
1. สบื คน้ และอภปิ รายเกี่ยวกับอาณาจักรโพรทสิ ตา
2. อธบิ ายอาณาจกั รโพรทิสตา
3. จาแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจกั รโพรทิสตา
4. นาความรเู้ ร่ืองอาณาจกั รโพรทิสตาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั
5. ประเมนิ ความสาคญั ของอาณาจกั รโพรทิสตา

ด้ำนทกั ษะกระบวนกำร
นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวัฏจกั ร 7 ข้ัน (7E) ดงั นี้
1. ทาแบบฝึกหัดกอ่ นบทเรยี น เพอ่ื ทดสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase)
2. ร่วมกันอภิปรายและต้งั คาถามจากแบบทดสอบก่อนเรียน (Engagement Phase)
3. สบื คน้ ขอ้ มูลจากเอกสารประกอบการเรียนรเู้ รื่อง การศกึ ษาความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ
(Exploration Phase)
4. นาข้อมลู มาดาเนินการวิเคราะห์ แปลผล สรปุ ผลและนาเสนอผลที่ไดใ้ นรูปต่าง ๆ เชน่ บรรยายสรุป
สร้างแผนภมู คิ วามคดิ รวบยอด (Explanation and Expansion Phase)
5. ใหน้ ักเรยี นนาผลงานท่ีไดจ้ ากการสรุปผลการวเิ คราะห์มานาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนเพ่อื นาไปสหู่ าสรปุ
รว่ มกันในชนั้ เรียนและประเมินผลงาน (Evaluation and Extension Phase)

ด้ำนคุณธรรมจริยธรรมและคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
1. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้ ได้แก่ การสนทนาซกั ถาม กระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม
2. มคี วามรบั ผิดชอบ ได้แก่ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ทางานสาเร็จตามเปา้ หมาย
3. ความมเี หตุผล ได้แก่ การรวบรวมขอ้ มลู การอธบิ ายหรอื แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล มีหลกั การ
หรือข้อมูลอ้างองิ
4. มรี ะเบยี บวนิ ัย ได้แก่ ตรงต่อเวลาท่ีนัดหมาย ปฏิบัติตามระเบียบวนิ ยั ของกิจกรรม
5. อยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ ใช้ทรัพย์สินตนเองอย่างประหยัด ทรัพย์สินส่วนรวมอย่างคุ้มค่า ไม่เอาเปรียบ
คนอื่น วางแผนการเรียนการทางาน
6. ม่งุ มน่ั ในการทางาน ไดแ้ ก่ ต้ังใจ อดทนทางาน ไม่ยอ่ ทอ้
7. รักความเปน็ ไทย ได้แก่ มจี ติ สานกึ ในความเป็นไทยและภูมิปัญญาไทย
8. มจี ิตสาธารณะ ได้แก่ ช่วยเหลอื เพ่อื น พอ่ แม่ ครู จิตอาสา ทางานเพ่อื สว่ นรวม

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 5
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

1. สืบค้นขอ้ มูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรปุ ลักษณะที่เหมอื นและแตกตา่ งกนั ของสง่ิ มีชวี ติ
ในอาณาจักรโพรทสิ ตา

2. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย และนาเสนอ คณุ ค่าของความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ ในอาณาจกั รโพรทสิ ตา
กบั การใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ทีม่ ีผลต่อสงั คมและสง่ิ แวดล้อม

สำระกำรเรยี นรู้

ส่ิงมชี วี ติ ในอาณาจักรโพรทิสตา เป็นส่งิ มชี วี ิตกลมุ่ แรก ที่มีเซลล์แบบยูแคริโอต ซง่ึ เปน็ เซลล์ท่มี ีเยื่อห่อหุ้ม
DNA ไว้ใหม้ องเหน็ เปน็ นิวเคลียส (Nucleus) ของเซลล์ไดอ้ ย่างชัดเจน รวมท้ังมีออรแ์ กเนลล์ตา่ งๆ
ภายในเซลลแ์ ตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะกลุ่มส่ิงมีชวี ิต มี 8 กลุ่มยอ่ ย คอื

1. กลุ่มดิโพลโมนาดิดา (Diplomonadida)
2. กลมุ่ พาราบาซาลา (Parabasala)
3. กลมุ่ ยูกลโี นซัว (Euglenozoa)
4. กล่มุ แอลวีโอลาตา (Alveolata)
5. กลุ่มสตรามีโนพิลา (Stramenopila)
6. กลุ่มโรโดไฟตา (Rhodophyta)
7. กลุ่มคลอโรไฟตา (Chlorophyta)
8. กลุม่ อะมีโบซัว (Amaebozoa)

เวลำที่ใช้

ชดุ กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ 4 เรือ่ ง อาณาจักรมอเนอรา ใชเ้ วลาในการเรยี นรู้ 2 คาบเรียน

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 6
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

บทบำทของนกั เรยี น

1. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน เลอื กประธานกลุ่ม เพอื่ เปน็ ผูน้ าในการดาเนนิ กจิ กรรมและเลขานกุ าร
กลุ่ม เพอ่ื บันทึกข้อมูลในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ และมอบหมายหน้าที่ให้สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ ให้
ชัดเจน

2. ตรวจสอบความครบถ้วนของชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวัฏจักร
7 ขั้น (7E)

3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพื่อทดสอบความรู้เดิมของนักเรียน
4. ศกึ ษากิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 แลว้ ให้แต่ละกล่มุ รว่ มกนั อภิปรายและตอบคาถาม
5. ศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 2 เพ่อื สารวจและคน้ หาคาตอบ
6. ศึกษากจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 3 จากนัน้ เลิกปฏบิ ัตกิ จิ กรรม อภปิ รายและระดมความคดิ ในกลมุ่ สรปุ

แก้ปญั หาจากสถานการณ์ที่กาหนดขนึ้ แลว้ บนั ทกึ คาตอบลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม พรอ้ มทัง้ ขยาย
ความรู้ทีไ่ ด้รับโดยการนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น
7. แลกเปลี่ยนกนั ตรวจแบบบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 1-3 โดยเลขานกุ ารกลุ่ม รวบรวมแบบบนั ทึก
คาตอบของสมาชิกไปแลกเปล่ยี นกับกล่มุ อนื่ โดยกาหนดให้กลุ่มที่ 1 ตรวจกลมุ่ ท่ี 5, กลมุ่ ที่ 5 ตรวจ
กลมุ่ ท่ี 4, กลุ่มท่ี 4 ตรวจกลุ่มที่ 3, กลุม่ ท่ี 3 ตรวจกลุม่ ท่ี 2 และกลมุ่ ท่ี 2 ตรวจกลุ่มที่ 1
8. ประธานรับเฉลยกจิ กรรมการเรยี นรู้จากครูผสู้ อน เพ่อื นามาตรวจคาตอบ
9. สมาชิกในกลมุ่ ตรวจแบบบันทึกกิจกรรมของสมาชกิ กลุม่ อื่น (กรณีมขี ้อสงสยั ให้นกั เรยี นถามครูผู้สอน)
10. เลขานุการกล่มุ รวบรวมแบบบนั ทึกกิจกรรมกลมุ่ คืนกลุ่มเดมิ
11. ประธานกลมุ่ นาเฉลยกิจกรรมคนื ครูผู้สอน
12. สมาชกิ ในกล่มุ บันทกึ คะแนนลงในแบบบันทกึ คะแนน รวมคะแนนของสมาชกิ ในกลุม่ หาคา่ เฉล่ียเปน็
คะแนนของกลมุ่ แจง้ ครูผสู้ อน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 7
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

แบบทดสอบก่อนเรยี น ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรทู้ ี่ 4
เรอื่ ง อำณำจกั รโพรทิสตำ

คำช้แี จง แบบทดสอบเป็นแบบปรนยั เลอื กตอบ จานวน 10 ข้อ

1. ในอาณาจกั รโพรโตซวั มีหลายเซลลร์ วมกันเปน็ กล่มุ แต่ละเซลล์สามารถทาหนา้ ทข่ี องความเป็นส่ิงมีชีวิตได้
ครบถว้ นอย่าง อิสระ เรยี กเซลลท์ ี่รวมกนั นน้ั วา่ อะไร
ก. เน้อื เยือ่
ข. อวัยวะ
ค. โคโลนี
ง. ซูโดโพเดยี ม

2. อวยั วะทใี่ ชใ้ นการเคลอื่ นไหวของสิ่งมชี วี ิตในอาณาจกั รโพรทสิ ตา คือขอ้ ใด
ก. แฟลกเจล้ม
ข. หาง
ค. ครบี
ง. เกล็ด

3. ส่งิ มีชวี ติ ในข้อใดมีอายสปอต (Eye spot) ใช้ในการตอบสนองตอ่ แสง
ก. สาหรา่ ยแดง
ข. พารามเี ซียม
ค. ยกู ลนี า
ง. พลาสโมเทียม

4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของไดอะตอม
ก. การทาไสก้ รอง
ข. ยาขัดรองเทา้
ค. ทาเคร่อื งแกว้
ง. น้ายาล้างจาน

5. “ปรากฏการณข์ ้ีปลาวาฬ” เกดิ จากส่งิ มีชีวิตในกล่มุ ใด
ก. กลุม่ ไดโนแฟลเจลเลต
ข. กลมุ่ สาหร่ายสนี ้าตาล
ค. กลมุ่ ไดโพลโมแนต
ง. กลุม่ ยกู ลีนอยด์

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 8
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

6. โรคในขอ้ ใดท่ีไม่ได้เกิดจากสง่ิ มีชวี ิตในอาณาจกั รโพรทสิ ตา
ก. ตดิ เชอ้ื ในชอ่ งคลอด
ข. โรคเหงาหลับ
ค. โรคนิ่วในถงุ น้าที่
ง. ปรสิตในลาไส้ของคน

7. จีจ่ายท่ีนามาทาอาหาร หรอื สาหรา่ ยผมนาง คือส่งิ มชี ีวิตในขอ้ ใด
ก. สาหรา่ ยสีแดง
ข. สาหร่ายสีเขยี ว
ค. สาหรา่ ยสีนา้ ตาล
ง. ราเมือก

8. สง่ิ มชี วี ิตกล่มุ ใดมลี กั ษณะกงิ่ กา้ นคลา้ ยพชื ช้ันสูง
ก. สาหร่ายสเี ขยี ว
ข. สาหรา่ ยสนี า้ ตาล
ค. ราเมือก
ง. สาหร่ายเคลป์

9. สาหรา่ ยในขอ้ ใดท่ีช่วยปรับคุณภาพนา้ ได้
ก. สาหรา่ ยสเี ขยี ว
ข. สาหร่ายสนี า้ ตาล
ค. ราเมอื ก
ง. สาหร่ายเคลป์

10. สงิ่ มีชีวิตในขอ้ ใดทมี่ ีโปรตนี สูงและมักนามาทาอาหารเสริม
ก. สาหร่ายสเี ขียว
ข. สาหร่ายสีนา้ ตาล
ค. คอลเรลลา
ง. สาหร่ายเคลป์

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 9
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

กระดำษคำตอบ ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรทู้ ่ี 4
เรือ่ ง อำณำจักรโพรทสิ ตำ

 ก่อนเรียน  หลังเรียน

ชือ่ ......................................................ชั้นมธั ยมศึกษาปีท.่ี ........................เลขที่......................

ข้อท่ี ก. ข. ค. ง.
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ 10

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

บัตรกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ที่ 1
เรื่อง สง่ิ มีชวี ิตอำณำจักรโพรทสิ ตำ

คำชแ้ี จง กจิ กรรมการเรยี นร้ฉู บับนเ้ี ป็นกจิ กรรมทจ่ี ัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ขั้นตรวจสอบ
ความรู้เดิม (Elicitation Phase) ขนั้ เร้าความสนใจ (Engagement Phase) และข้นั อธบิ าย
(Explanation Phase)

คำสัง่ ใหน้ ักเรียนศกึ ษาภาพและข้อความทีก่ าหนดให้แล้วตอบคาถามตอ่ ไปนี้

ข้อควำมข่ำวท่ีกำหนด
"ขี้ปลาวาฬ” ทาน้าทะเลพัทยาเปลย่ี นสีโชคดยี ังไมเ่ ขา้ ชายหาด ผู้สอื่ ขา่ วไดร้ ับแจ้งจากนักทอ่ งเทีย่ วว่า

น้าทะเลบรเิ วณหน้าอา่ วพทั ยา ห่างจากฝงั่ ประมาณ 300 เมตร มีปรากฏการณ์นา้ ทะเลเปล่ยี นสหี รอื ที่เรียกกนั
ว่า “ปรากฏการณข์ ป้ี ลาวาฬ หรือแพลงก์ตอนบลูม”

ที่มา https://www.nationtv.tv/news/378552058
สบื คน้ เมือ่ 1 ตุลาคม 2562

โดยจากการสังเกตจากมุมสงู จะเหน็ ไดว้ ่านา้ ทะเลจากบรเิ วณชายฝง่ั กบั น้าทะเลท่อี ยูห่ า่ งออกไปจะมคี วาม
แตกต่างกัน ซึ่งลกั ษณะจะเป็นน้าสีเขยี วเข้มอย่างเห็นได้ชัด อยา่ งไรกต็ ามปรากฏการณข์ ีป้ ลาวาฬ หรอื แพลงก์ตอน
บลูมนนั้ นักท่องเท่ียวพบเหน็ ในช่วงเมื่อวานนใี้ นชว่ งนา้ ข้ึนตอนบา่ ยบริเวณหาดวงศ์อมาตย์ นาเกลือ แต่หลงั จากนั้น
กระแสนา้ ได้พัดใหเ้ กดิ การเปลีย่ นทิศทางและจางหายไป กระทง่ั มาวนั นี้ช่วงนา้ ข้ึนก็พปรากฏการณด์ งั กลา่ วอกี ครง้ั
สาหรับปรากฏการณ์ขี้วาฬ หรือแพลงกต์ อนบลมู นน้ั เกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ ท่ีมกั จะเปน็ ไปตามฤดูกาล โดย
กระบวนการน้าผุดทแ่ี นวชายฝง่ั ซึ่งเกดิ ขึ้นตามธรรมชาติจากการเคลอื่ นตัวของน้าทะเล การเตบิ โตของแพลงตอนพชื
อุณภมู ทิ ี่เพิ่มสูงขึน้ ของน้าทะเลนั้นยังเป็นอีกปัจจัยที่ทาให้เกดิ ปรากฏการณ์ขปี้ ลาวาฬเช่นเดียวกนั

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) 11
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

คำชแ้ี จง นกั เรียนศึกษาภาพและขอ้ ความขา่ วท่กี าหนดให้แล้วตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1. สง่ิ มีชวี ติ ท่ที าให้เกิดปรากฏการณแ์ พลงก์ตอนบลมู คอื
2. ปรากฎการณ์แพลงก์ตอนบลมู ทาให้น้าทะเล มลี ักษณะอย่างไร
3. แพลงตอนพชื เป็นสง่ิ มีชวี ติ ในกลมุ่ ใด
4. เหตุการณน์ ม้ี ผี ลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อมอยา่ งไร
5. นักเรยี นสามารถแกป้ ญั หาจากเหตุการณน์ ้ไี ด้อยา่ งไร

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 12
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

บตั รควำมรู้ที่ 1
เรื่อง อำณำจกั รโพรทิสตำ

คำชีแ้ จง กิจกรรมการเรยี นรู้ฉบับนี้ เปน็ กจิ กรรมที่จัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ขน้ั อธบิ าย
(Explanation Phase) และขัน้ นขยายความรู้ (Elaboration Phase)

คำสัง่ ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมกันศึกษาบัตรความรแู้ ละรว่ มกันวิเคราะห์ อภิปรายและตอบคาถามตอ่ ไปนี้ลง
ในบตั รบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้

อำณำจกั รโพรตสิ ตำ

การจดั แบ่งสิ่งมชี ีวติ ออกเปน็ 2 อาณาจักร คอื อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว์นนั้ เกิดปัญหาท่ีสาคัญ
คอื สง่ิ มีชวี ิตบางชนดิ มีลักษณะทง้ั พชื และสัตวอ์ ยู่ในตัวเอง จงึ ทาให้นกั พฤกษศาสตร์จดั ไว้ในอาณาจักรพชื และ
นกั สัตว์วิทยาก็จดั ไว้ในอาณาจกั รสัตว์ ซ่งึ มันไมน่ า่ จะเปน็ ไปไดท้ ่สี งิ่ มชี ีวติ ชนิดเดียวอยู่ท้ัง 2 อาณาจกั ร ดังน้นั
Ernst Haeckel นักวทิ ยาศาสตร์ชาวเยอรมนั จงึ ไดเ้ สนอชือ่ โพรติสตา (Protista) ซึง่ หมายถึง สิง่ มีชวี ิตพวกแรกๆ
ขึ้นมาใช้ จงึ ทาใหแ้ ยกสิ่งมีชวี ิตที่ไม่มลี ักษณะของพืชหรือสตั วอ์ ยา่ งชัดเจน ออกจากอาณาจักรพืชและอาณาจักรสัตว์
แล้วตงั้ เปน็ อาณาจักรใหม่ ชื่อ “อาณาจักรโพรตสิ ตา”

ลักษณะสำคัญของส่ิงมีชีวิตในอำณำจักรโปรติสตำ
1. รา่ งกายประกอบด้วยโครงสร้างงา่ ยๆ ไมซ่ ับซอ้ น สว่ นมากประกอบด้วยเซลลเ์ ดียว (Unicellular) บางชนดิ
มหี ลายเซลล์รวมกันเปน็ กลมุ่ เรียกวา่ โคโลนี (Colony) หรอื เป็นสายยาว (Filament) แต่ยังไม่ทาหน้าที่รว่ มกันเป็น
เน้อื เยอ่ื (Tissue)หรอื อวยั วะ (Organ) แตล่ ะเซลล์สามารถทาหนา้ ทข่ี องความเป็นสง่ิ มีชีวิตได้ครบถ้วนอยา่ งอิสระ
2. ไม่มีระยะตวั ออ่ น (Embryo) ซึง่ ต่างจากพชื และสัตวท์ มี่ รี ะยะตัวอ่อนกอ่ นท่ีจะเจริญเตบิ โตเปน็ ตัวเตม็ วัย
3. การดารงชพี มีท้งั ชนดิ ทีเ่ ปน็ ผผู้ ลิต (Autotroph) เพราะมคี ลอโรฟลิ ล์ เปน็ ผู้บรโิ ภค (Consumer) และเปน็
ผยู้ ่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer)
4. โครงสรา้ งของเซลล์เปน็ แบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซ่ึงมีเย่อื หุ้มนวิ เคลยี ส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ดรา ยสี ต์
ราเมอื ก สาหร่ายต่าง ๆ
5. การเคลอื่ นท่ี บางชนดิ เคลื่อนทไี่ ด้โดยใช้ ซเี ลยี (Cilia) แฟลกเจลลมั (Flagellum) หรือซูโดโปเดียม
(Pseudopodium) บางชนิดเคล่อื นที่ไม่ได้
6. การสืบพนั ธุ์ ทงั้ แบบไม่อาศยั เพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศยั เพศ (Sexual
reproduction) แบบอาศยั เพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึง่ เกิดจากเซลล์สืบพันธ์ุท่มี รี ปู ร่างและขนาด
เหมอื นกันมารวมกนั ดงั เชน่ ที่พบในพารามเี ซียม ราดา เป็นต้น และชนดิ ปฏิสนธิ (Fertilization) ซ่งึ เกิดจากเซลล์
สืบพันธ์ุ ทม่ี รี ูปร่างและขนาดตา่ งกันมารวมกัน ดังเชน่ ทีพ่ บในสาหรา่ ยเปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ ตน้

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 13
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

บตั รกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ 2
เร่ือง อำณำจกั รโพรทสิ ตำ
คำชีแ้ จง กิจกรรมการเรียนรูฉ้ บับนี้เปน็ กิจกรรมที่จัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ข้ันสารวจและ
คน้ หา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Exploration Phase) และข้ันนาความรไู้ ปใช้
(Extend Phase)
คำสง่ั จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกต้อง
1. นกั วทิ ยาศาสตร์คนใดที่เป็นคนเสนอ อาณาจกั รโพรตสิ ตา ข้ึนมาคนแรก

2. สว่ นที่เรียกวา่ โคโลนี (colony) ในอาณาจักรโพรติสตา คืออะไร ทาหนา้ ทอี่ ย่างไร

3. โพรโตซัว มีการดารงชพี อยา่ งไร จงอธบิ าย

4. ซีเลีย (Cilia) แฟลกเจลลัม (Flagellum) หรอื ซูโดโปเดยี ม (Pseudopodium) เป็นอวัยวะของโพรโตซวั
ซ่ึงทาหน้าที่ใด

5. โพรโตซัว มกี ารสบื พนั ธอุ์ ยา่ งไร จงอธิบาย

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 14
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

บตั รควำมรทู้ ี่ 2
เร่อื ง ควำมหลำกหลำยโพรทสิ ตำ

คำชีแ้ จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับน้เี ป็นกจิ กรรมที่จัดการเรียนรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ ้นั อธิบาย
(Explanation Phase) และขั้นขยายความรู้(Elaboration Phase)

คำสัง่ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันทากจิ กรรม เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ตามกิจกรรมที่กาหนด
ใหต้ ่อไปนี้

ควำมหลำกหลำยของโพรทสิ ต์
หากแบง่ โพรทสิ ต์เปน็ กลมุ่ ตามสายววิ ัฒนาการ จะแบง่ กลมุ่ ได้ 8 กลุ่ม ดังน้ี

1. กลุ่มดิโพลโมนำดิดำ (Diplomonadida)
เปน็ กลมุ่ โพรทสิ ต์ท่ีเป็นเซลล์ยูแคริโอตท่ี ไม่มพี ลาสตดิ และไมโทคอนเดรีย ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไปเปน็ ไมโทโซม
(Mitosome) ยังไมส่ ามารถเกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเพอ่ื สรา้ ง ATP โดยใชอ้ อกซเิ จนได้ ดังนนั้ จึงได้พลงั งานจาก
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนเท่าน้ัน นอกจากนีย้ งั ไมม่ อี อร์แกเนลล์ รา่ งแหเอนโดพลาสมกิ เรตคิ ูลัม กอลจิคอม
เพล็กซ์ และเซนทริโอล แตม่ ีหนวดหลายเส้น และมนี ิวเคลยี ส 2 อัน เช่น Giardia lamblia ซึ่งเป็นปรสติ ในลาไส้
ของคน

ภาพ Giardia lamblia
(ก)-(ข) ภาพถา่ ยจากกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้แสง (ค) ถ่ายจากกล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบส่องกราด

ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบค้นเมือ่ 1 ตุลาคม 2562

2. กลมุ่ พำรำบำซำลำ (Parabasala) หรือกลมุ่ พำรำบำซำลิด (Parabasalids)
เปน็ โพรทสิ ต์ทีม่ ไี มโทคอนเดรียท่ีลดรูป เรียก ไฮโดรจโี นโซม (Hydrogenosome) ไดพ้ ลงั งานจากการหายใจ
แบบไม่ใช้ออกซเิ จน ถา่ ยปล่อยไฮโดรเจนออกมา ตัวอย่างโพรทสิ ตก์ ลุ่มน้ีไดแ้ ก่ ไตรโคนิมฟา (Trichonympha) อาศยั
อยใู่ นลาไสข้ องปลวก มีการดารงชวี ติ แบบภาวะพงึ่ พากัน โดยการสร้างเอนไซมม์ าช่วยย่อยเซลลโู ลสในไม้ใหก้ บั ปลวก
อกี ชนิดคอื ไตรโคโมแนส (Trichomonas) เปน็ พาราบาซาลิด ที่เปน็ สาเหตุให้เกดิ การตดิ เชอื้ ในช่องคลอด

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) 15
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

ภาพ Trichonympha sp.
(ก) ภาพถ่ายจากกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนแบบสอ่ งกราด (ข) ไดอะแกรมแสดงลกั ษณะสณั ฐานวทิ ยา

ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบค้นเมอื่ 1 ตุลาคม 2562

ภาพ Trichomonas sp.
(ก) ภาพถ่ายจากกล้องจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนแบบสอ่ งกราด (ข) ไดอะแกรมแสดงลักษณะสณั ฐานวิทยา

ทมี่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบคน้ เม่อื 1 ตุลาคม 2562

3. กลุ่มยกู ลีโนซัว (Euglenozoa)
เปน็ โพรทสิ ต์เซลล์เดยี วที่มีผลึกโปรตนี รูปแท่งอยู่ในหนวด แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คอื
3.1 กลุ่มย่อยยกู ลีนอยด์ (Euglenoids) ภายในเซลล์มีคลอโรพลาสต์ทีม่ ีสารสี ชนดิ คลอโรฟิลล์และแคโรทนี
สามารถดารงชวี ติ ได้ท้งั ในฐานะผู้ผลิตเม่ือมีแสงและเป็นผู้บริโภคเมือ่ ไม่มแี สง ไดแ้ ก่ ยูกลนี า (Euglena)

ภาพ Euglena sp. (ก) ภาพถ่ายจากกลอ้ งจลุ ทรรศน์ (ข) ไดอะแกรมแสดงลกั ษณะสัณฐานวทิ ยา
ทีม่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบค้นเมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) 16
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

3.2 กลุ่มย่อยไคนโี ตพลำสติด (Kinetoplastids) เปน็ กลุ่มท่ีมีไมโทคอนเดรียเพยี ง 1 อัน ในเซลล์ซึ่ง
มีสารพันธุกรรมหดตัวเปน็ โครงสรา้ งไคนโี ตพลาสต์ และไมม่ คี ลอโรพลาสต์ เปน็ โพรทิสต์ที่ดารงชีวติ แบบอิสระ
ในนา้ จืด น้าเค็ม และในสภาพแวดลอ้ มทว่ั ไป รวมทง้ั เป็นปรสติ ในเลือดของสตั ว์มีกระดูกสันหลัง เช่น เชอ้ื ทริป
พาโนโซมา (Trypanosoma cruzi) ซึ่งเปน็ สาเหตุทาให้เกดิ โรคเหงาหลับในคน

ภาพ Trypanosoma cruzi (เซลลม์ ีม่วง)
(ก)-(ข) ภาพถ่ายจากกลอ้ งจุลทรรศน์ (ค) ภาพจาลองรปู ร่างของเชอ้ื และเม็ดเลือดแดง
ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบคน้ เม่ือ 1 ตลุ าคม 2562

4. กลุม่ แอลวีโอลำตำ (Alveolata)
เป็นโพรทิสต์เซลลเ์ ดยี วทม่ี ีลกั ษณะรว่ มกนั คือ มีถุงแบนๆ ทเ่ี รียกว่า แอลวีโอไล (alveoli) เรยี งตวั เป็นชัน้
ใตเ้ ย่ือหมุ้ เซลล์ ซ่ึงยงั ไม่ทราบหนา้ ทีท่ ช่ี ัดเจนของถุงนี้ แบง่ ออกเป็น 3 กลมุ่ ย่อย ได้แก่
4.1 กลุม่ ย่อยไดโนแฟลเจลเลต (Dinoflagellates) เปน็ โพรทสิ ตเ์ ซลล์เดยี วท่ีมีสารสแี คโรทนี และ
คลอโรฟลิ ล์ในพลาสติด ผนังเซลลเ์ ป็นเซลลูโลส และสรา้ งผนงั เซลลเ์ ป็นแผ่นมาประกอบกนั หนวดมี 2 เส้น วางตัว
ในแนวรอบเซลล์และแนวดา้ นหลังของเซลลอ์ ยา่ งละเส้น ไดโนแฟลกเจลเลตบางชนดิ มีการสะสมสารพษิ ในตวั
เม่ือน้าทะเลมสี ารอินทรีย์ซ่ึงเป็นแหลง่ อาหารในปรมิ าณมาก ทาให้มกี ารเพม่ิ จานวนประชากรไดโนแฟลเจลเลต
อย่างรวดเร็ว ทาให้ทะเลมีสีแดงอันเนื่องจากสีของแคโรทีนอยด์ในพลาสติดของโดโนแฟลเจลเลต ก่อใหเ้ กิดเป็น
“ปรากฏการณข์ ี้ปลาวาฬ หรือ red tide” ขนึ้ ซ่งึ ทาให้เกิดสารพษิ ของโซอ่ าหารในทะเลและเกดิ อนั ตรายต่อสตั ว์นา้
เปน็ จานวนมาก

ภาพ โครงสร้างของ Dinoflagellate
ท่ีมา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบคน้ เมอื่ 1 ตุลาคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 17
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

ภาพ (ก) การเกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬหรอื red tide อันเกดิ มาจาก Dinoflagellate Blooming
(ข) ซากสัตวน์ า้ ที่ตายเนอ่ื งจากความเปน็ พิษของไดโนแฟลเจลเลต

ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบคน้ เม่ือ 1 ตุลาคม 2562

4.2 กลมุ่ ยอ่ ยเอพคิ อมเพลกซำ (Apicomplexas) เปน็ โพรทสิ ตท์ ่ีมขี นาดเลก็ ส่วนใหญจ่ ะดารงชีวิตเป็น
ปรสิต ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ชนดิ ทาให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อ่ืน โดยมียงุ กน้ ปล่องเป็น
พาหะคือ Plasmodium falciparum

ภาพ Plasmodium falciparum (ก) ภาพจาลองพลาสโมเดียม
(ข) พลาสโมเดยี มระยะต่างๆ ภายในเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง (ค) ภาพถา่ ยเม็ดเลอื ดแดงถกู ทาลายโดยพลาสโมเดยี ม

ทีม่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สบื คน้ เมอ่ื 1 ตุลาคม 2562

4.3 กลุ่มยอ่ ยซิลเิ อต (Ciliates) เปน็ โพรทสิ ตก์ ลมุ่ ทีใ่ ชซ้ ิเลยี ในการเคลื่อนที่ มักอาศยั อยู่ในสภาพแวดล้อม
ทม่ี ีนา้ ขังหรือความชน้ื สงู โพรทสิ ต์กลมุ่ น้ีจะมคี วามหลากหลายของชนิดมากท่ีสุด เช่น พารามีเซียม (Paramecium
sp.) และ วอร์ติเซลลา (Vorticella sp.) เปน็ ตน้

ภาพ Paramecium sp. และ Vorticella sp. 18
ทม่ี า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบคน้ เม่ือ 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E)
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

5. กลุ่มสตรำมีโนพลิ ำ (Stramenopila)
ส่วนใหญเ่ ปน็ โพรทิสต์ท่ีสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ และ โพรทสิ ต์ที่เปน็ ผู้บรโิ ภคหลายกล่มุ ลกั ษณะร่วมกนั
ของสตรามีโนไพล์ คือ เซลลส์ บื พนั ธม์ุ ีแฟลเจลลาท่มี ขี นและแฟลเจลลาท่ีไม่มีขน แบ่งออกเปน็ 4 กลมุ่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่
5.1 กล่มุ ยอ่ ยโอโอไมซีเทส (Oomycetes) เปน็ กลมุ่ โพรทิสตค์ ล้ายราทม่ี ลี ักษณะเป็นเส้น ใยท่ีไมม่ ี
ผนังเซลล์กน้ั ภายในมีนวิ เคลียสจานวนมากมาย และมีเซลลโู ลสเปน็ ส่วนประกอบของผนงั เซลล์ สามารถสืบพนั ธุ์
ได้ทง้ั แบบอาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศ มีการดารงชีวิตโดยเปน็ ผู้ย่อยสลายและปรสิต บางชนิดอาศยั อยู่ในนา้ เรยี กว่า
water molds มักทาใหเ้ กิดโรคในสตั ว์น้า เช่น การติดเช้อื ราบน เกลด็ ปลาจากเช้อื Saprolegnia parasitica

ภาพ ( ก) ลักษณะเสน้ ใยและการสรา้ งสปอร์เชอ้ื Saprolegnia parasitica (ข) ปลาทต่ี ดิ เชื้อ water mold
ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบคน้ เม่อื 1 ตลุ าคม 2562

5.2 กลุม่ ยอ่ ยไดอะตอม (Diatom) เปน็ โพรทิสตท์ ่ีมลี กั ษณะเซลลเ์ ดยี ว อยู่เด่ยี วๆ หรอื รวมกนั เปน็ กลุ่มกไ็ ด้
มลี ักษณะสาคญั คือ ผนังเซลล์ประกอบดว้ ยสารพวกซิลกิ าเป็นจานวนมาก และมีลักษณะคล้ายฝากล่องและกล่องคอื
มฝี ากลอ่ งเรยี ก “Epitheca” และกล่องเรยี ก “Hypotheca” ประกอบกัน และมคี วามแข็งแรงมาก

ภาพ (ก) โครงสรา้ งของไดอะตอม (ข) ไดอะตอมรูปทรงตา่ ง ๆ
ทีม่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สบื คน้ เมอื่ 1 ตุลาคม 2562

5.3 กลุ่มย่อยสำหรำ่ ยสที อง (Golden Algae) เปน็ โพรทสิ ตเ์ ซลล์เดียวทมี่ ีสเี หลืองทอง อนั เนื่องมาจาก
การสะสมสารสพี วกแคโรทีนอยดไ์ ว้ภายในเซลล์ แตล่ ะเซลล์มีหนวด 2 เสน้ และเซลลม์ กั ต่อเรยี งกันเปน็ เส้นสาย
หรอื โคโลนี โดยการยึดกนั ของหนวด เช่น ไดโอบริออน (Diobryon sp.) ยโู รกลนี า (Uroglena sp.) และ ซีนรู า
(Synura sp.) เปน็ ตน้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 19
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

ภาพ (ก) Dinobryon sp. (ข) Uroglena volvox (ค) Synura sp.
ท่ีมา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบค้นเมือ่ 1 ตลุ าคม 2562
5.4 กลุม่ ย่อยสำหร่ำยสนี ำ้ ตำล (Brown Algae) เป็นสาหรา่ ยทม่ี ีขนาดใหญ่และมีโครงสรา้ งซบั ซอ้ นมาก
ทส่ี ุด บางชนิดมีเนอ้ื เยอ่ื ทห่ี นาและ มอี วัยวะทค่ี ลา้ ยราก คล้ายลาตน้ และคล้ายใบ สาหร่ายกลุ่มน้ใี นธรรมชาตมิ กั พบ
มสี นี ้าตาล อันเน่อื งมาจากมกี ารสะสมสารสีชนิดฟิวโคแซนทนิ มากกวา่ แคโรทนี และคลอโรฟลิ ล์

ภาพ (ก) Postelsia sp. (ข) Laminaria digitata (ค) Laminaria sp. (Kelp)
ทม่ี า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สบื คน้ เมอื่ 1 ตลุ าคม 2562

ถงึ แมส้ าหรา่ ยสนี ้าตาลจะมีโครงสร้างคลา้ ยพชื แต่อย่างไรก็ตามในเชงิ ววิ ฒั นาการพบว่า สาหร่ายกลุ่มน้มี ี
ความสัมพนั ธ์ใกล้ชิดกบั สาหรา่ ยเซลลเ์ ดียวมากกว่าพืชชั้นสงู สาหรา่ ยสนี ้าตาลบางชนดิ เจริญอย่ใู นบรเิ วณเดียวกนั
เป็นจานวนมาก และมคี วามยาวได้ถงึ 60 เมตร เช่น สาหร่ายเคลป์ (Kelp) หรอื Laminaria spp. ซ่งึ เป็นแหล่งทมี่ ี
ความสาคญั ต่อส่ิงมีชวี ติ ทีอ่ าศยั อยใู่ นนา้ ทะเล เพราะเปน็ ท้งั แหล่งอาหารทีอ่ ยูอ่ าศยั และท่หี ลบภัยของบรรดาสตั วน์ ้า
และนามาทาเปน็ อาหารของมนษุ ย์ สาหร่ายสีน้าตาล หลายชนดิ มีคณุ คา่ ทางเศรษฐกจิ เชน่ สาหรา่ ยลามินาเรยี
(Laminaria sp.) และสาหรา่ ยทนุ่ หรือซารก์ ัสซัม (Sargassum sp.) นยิ มนามาทาเป็นอาหารเนอ่ื งจากมีธาตไุ อโอดนี
สงู สาหรา่ ยพาไดนา (Padina sp.) และสาหรา่ ยฟวิ กสั (Fucus sp.) นามาใชผล้ ติปุ๋ยโพแทสเซียม เป็นตน้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 20
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

ภาพ ( ก) Sargassum sp. (ข) Padina sp. (ค) Fucus sp.
ทมี่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สบื คน้ เมอื่ 1 ตลุ าคม 2562

6. กล่มุ โรโดไฟตำ (Rhodophyta) หรือกลุม่ สำหร่ำยสีแดง (Red algae)
สาหร่ายกลุม่ นม้ี ีการ สรา้ งเนอื้ เย่อื และกิ่งก้านสาขาคล้ายพืช บางชนดิ อาศยั อยใู่ นนา้ จืด แต่สว่ นใหญอ่ าศยั
อยู่ในนา้ เค็ม เนอ่ื งจากสาหร่ายสแี ดงมีสารสีเสรมิ ชนิดไฟโคอีรีทรนิ (Phycoerythrin) ซง่ึ สามารถดูดกลืนแสงช่วง
ความยาวคล่นื แสงสเี ขียวและสีนา้ เงินที่สอ่ งผ่านน้าไดล้ ึกกว่าแสงสีอ่นื ๆ สาหรา่ ยสีแดงจงึ สามารถเจรญิ เติบโต
ในบรเิ วณน้าลกึ กวา่ สาหรา่ ยสีนา้ ตาลและสาหรา่ ยสีเขยี วได้ และท่ีแตกตา่ งจากสาหรา่ ยกลุ่มอนื่ ๆ คือ สาหรา่ ยกลุ่มน้ี
สร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศผู้ (Sperm) แบบไม่มีหนวด กลมุ่ สาหร่ายสีแดงท่ีพบได้แก่ Porphyra sp. หรอื จีฉา่ ย นามา
ทาเปน็ อาหาร Gracilaria sp. หรอื สาหร่ายผมนาง ใชเ้ ปน็ วัตถุดิบในการผลิตวนุ้ เปน็ ตน้

ภาพ (ก) Porphyra tenera (ข) Gracilaria sp. (ค) Fauchea laciniata
ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สบื ค้นเมอื่ 1 ตุลาคม 2562

7. กลุ่มคลอโรไฟตำ (Chlorophyta) หรือกลุ่มสำหรำ่ ยสเี ขียว (Green algae)
จัดแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะวิวัฒนาการและความซบั ซอ้ นของลกั ษณะสัณฐานวทิ ยา และโครงสรา้ ง
สืบพันธุ์ ได้แก่
7.1 กล่มุ ยอ่ ยคลอโรไฟต์ (Chlorophytes) เป็นกลมุ่ ทม่ี ลี ักษณะคลา้ ยพืชทั้งลักษณะ โครงสรา้ งผนงั เซลล์
และสว่ นประกอบของสารสี คือ คลอโรฟิลล์บี และแคโรทีน บางชนดิ มีหนวดชว่ ยในการเคลื่อนท่ี ส่วนใหญ่จะพบใน
แหลง่ นา้ จืด มีบางชนดิ เท่าน้ันที่พบในนา้ ทะเล เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของสตั ว์นา้ และช่วยเพ่มิ ปริมาณออกซเิ จน
ในนา้ กลุ่มสาหรา่ ยสีเขียวมีความหลากหลายมาก จดั แบ่งตามลักษณะนิสยั ได้ดังน้ี

7.1.1 สำหรำ่ ยเซลล์เดียว (Unicellular algae) สาหร่ายกลมุ่ นมี้ กั พบลอยอยู่ในน้า อาจเรียกอกี
อย่างวา่ “แพลงก์ตอนพืช” เซลลม์ รี ูปร่างรีจนถงึ กลม ทุกชนิดมีคลอโรฟิลล์แบบต่างๆ อยู่ภายในเซลล์ บางชนิดอาจ
มีหนวดหลายเสน้ ช่วยในการเคลื่อนท่ี เป็นกลุ่มสาหร่ายทม่ี ีความหลากหลายมากท่ีสุด ในกล่มุ สาหรา่ ยสีเขียว เชน่

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 21
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

คลาไมโดโมแนส (Chlamydomonas sp.) เปน็ สาหรา่ ยเซลล์เดียว ท่นี ามาใช้เป็นตวั อยา่ งในการศึกษาด้านชวี วทิ ยา
โมเลกุล โดยเฉพาะการเคลอ่ื นทดี่ ้วยแฟลเจลลา และการเพม่ิ จานวนและพนั ธุกรรมของคลอโรพลาสต์ อกี ชนิดคอื
คลอเรลลา (Chlorella sp.) เปน็ สาหร่ายสีเขยี วเซลล์เดยี วท่ีมกี ารสะสมโปรตีนสงู จึงนยิ มนามาผลิตเป็นอาหารเสริม

7.1.2 สำหรำ่ ยท่ีอย่รู วมกันเปน็ กลมุ่ (Colonial algae) สาหร่ายกล่มุ นเ้ี กดิ จากการรวมกันของสาหรา่ ย
เซลล์เดียวชนิดเดียวกันหลายๆ เซลล์ เกาะกล่มุ กันอยูเ่ ปน็ โคโลนีรูปทรงตา่ งๆ เช่น วอลวอกซ์ (Volvox sp.) ซนี ีเดสมัส
(Scenedesmus sp.) และโกเนยี ม (Gonium sp.) เป็นต้น

ภาพ Chlamydomonas moewusii
(ก) ภาพถ่ายจากกลอ้ งจลุ ทรรศน์ (ข) ภาพถา่ ยจากลอ้ งอิเล็กตรอนแบบสอ่ งกราด (SEM)
ทม่ี า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สบื ค้นเม่ือ 1 ตุลาคม 2562

ภาพ Chlorella sp. (ก) ลักษณะเซลล์ของ Chlorella sp. (ข) ผลิตภัณฑอ์ าหารเสรมิ ทผี่ ลติ จาก Chlorella
ทมี่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบคน้ เม่ือ 1 ตุลาคม 2562

ภาพ ลกั ษณะสาหร่ายทอี่ ยู่รวมกันเป็นกลมุ่ (colony) 22
(ก) Volvox sp. (ข) Scenedesmus sp. (ค) Gonium sp.
ท่ีมา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบค้นเมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E)
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

7.1.3 สำหรำ่ ยทมี่ ลี กั ษณะเปน็ เสน้ (Filamentous algae) สาหรา่ ยชนิดน้พี บลอยอยู่ใน แหล่งนา้
หรอื ยึดเกาะอย่กู บั สง่ิ ต่างๆ ใต้นา้ มีลักษณะเปน็ เส้นท่ีเกดิ จากเซลล์เด่ยี วเรียงต่อกนั เป็นสายยาว แต่ละชนิดมี
คลอโรพลาสตร์ ูปร่างแตกตา่ งกันไป และมอี อรก์ าเนลต่างๆ ที่ทาหนา้ ทีส่ มบูรณภ์ ายในแต่ละเซลล์ ได้แก่ สไปโรไจรา
(Spirogyra sp.) หรือเทานา้ เปน็ สาหรา่ ยสเี ขยี วท่ีมีคลอโรพลาสต์เรียงตัวเป็นเกลียวอยู่ในเซลลม์ ีการสะสมแปง้
ภายในเซลล์มากอีกชนิด คอื คลาโดฟอรา (Cladophora sp.) หรอื ไก เป็นสาหร่ายสเี ขยี วทีม่ ีคลอโรพลาสต์เรียงกัน
เปน็ ร่างแห (Recticulate Chloroplast) รับประทานได้มีโปรตนี สงู

ภาพ Spirogyra (ก) ลกั ษณะถนิ่ อาศัยในลาธารนา้ ใส (ข) ลกั ษณะเส้นสายมองเห็นคลอโรพลาสตเ์ ป็นแถบ
(ค) การสืบพนั ธ์ุแบบ Conjugation ได้เซลลไ์ ซโกต (zygote) เจรญิ เตบิ โต เปน็ ต้นใหมต่ ่อไป
ที่มา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สบื ค้นเม่อื 1 ตุลาคม 2562

ภาพ Cladophora sp. (ก) โครงสรา้ งแบบเส้นสาย (ข) คลอโรพลาตแ์ บบร่างแห
ท่ีมา http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบคน้ เม่ือ 1 ตุลาคม 2562

7.1.4 สำหรำ่ ยทมี่ ลี ักษณะเป็นแผ่น (Thallus algae) สาหร่ายกลุ่มนมี้ ีลักษณะเปน็ แผ่นของโครงสร้าง
ท่ีประกอบด้วยเซลล์เรียงซอ้ นกนั หนามากกว่าหนง่ึ ช้นั มสี ่วนทีย่ ึดเกาะกบั พน้ื ดนิ คล้ายราก คล้ายลาต้น และคล้ายใบ
แตย่ งั ไม่มรี ะบบทอ่ ลาเลยี งใดๆ ได้แก่ Ulva sp. และสาหร่ายใบมะกรดู (Halimeda sp.) เป็นตน้

ภาพ (ก) Ulva sp. (ข) Halimeda discoidea (ค) Halimeda sp. 23
ทม่ี า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf

สืบคน้ เมอ่ื 1 ตลุ าคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E)
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

7.2 กลมุ่ ยอ่ ยคำโรไฟเซียน (Charophyceans) หรือ กลุ่มสำหร่ำยไฟ สาหรา่ ยกลุ่มนี้ แตกต่าง
จากคลอโรไฟต์ คอื สรรี วทิ ยาของการสงั เคราะหด์ ้วยแสง การสบื พนั ธุ์แบบอาศัยเพศแบบ ซบั ซ้อน และเซลลว์ ิทยา
พบไดท้ ั่วไปในบริเวณนา้ ต้ืนและใส ตวั อย่างสาหร่ายในกลุม่ น้ี เช่น สาหร่ายไฟ (Chara sp.) และนเิ ทลลา (Nitella
sp.) เป็นสาหร่ายกล่มุ ท่ีมีโครงสรา้ งทีป่ ระกอบด้วยเซลล์เรยี งซ้อนกนั หลายชนั้ มีส่วนยึดเกาะกับพนื้ ดินคลา้ ยราก
สว่ นทีต่ ั้งขน้ึ คล้ายลาตน้ และมีการแตกก่งิ ก้าน หลายชน้ั ใกล้เคยี งกับพืชชั้นสงู มาก โครงสร้างสืบพนั ธ์เุ พศผู้และ
โครงสรา้ งสบื พันธเุ์ พศเมียมคี วามแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน และเมื่อเจรญิ เตบิ โตเต็มที่จะมสี ีเหลือง ส้ม จนถงึ สีแดง
การศึกษาวิวฒั นาการ ของพืชในปจั จุบันพบวา่ สาหร่ายไฟมคี วามสัมพนั ธใ์ กลช้ ิดกับพชื ทเ่ี จริญบนบกมากที่สุด หรอื
อาจถอื ได้วา่ พชื ทีเ่ จรญิ บนบกมีววิ ัฒนาการมาจากสาหร่ายไฟนัน่ เอง

ภาพ Nitella sp. (ก) ลักษณะการแตกก่ิงของสาหรา่ ยไฟ (ข) โครงสรา้ งสบื พันธ์ุ เพศเมยี (Oogonium)
(ค) โครงสร้างสืบพนั ธุเ์ พศผู้ (Antheridium)

ท่มี า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบคน้ เมอื่ 1 ตุลาคม 2562

8. กลุ่มอะมีโบซัว (Amaebozoa)
เปน็ กลุ่มส่งิ มชี ีวติ ท่ีนามาจัดกลมุ่ โดยขอ้ มูลจากโมเลกุลดีเอ็นเอ มกี ารดารงชวี ติ มีท้ังเป็นผู้ยอ่ ยสลาย ผบู้ ริโภค
และปรสติ ซ่งึ จะพบในบริเวณที่ช้ืนแฉะและตามขอนไม้หรอื ใบไม้เน่าเป่ือยในปา่ แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คอื
8.1 รำเมอื กชนิดพลำสโมเดียม (Plasmodium slime molds) ซง่ึ เป็นเซลลท์ มี่ หี ลาย นิวเคลยี สภายใน
เซลล์และอีกชนดิ เป็นราเมอื กชนดิ เซลลูลาร์ (Cellular slime molds) เปน็ เซลล์ท่มี ี 1 นิวเคลยี ส หลายเซลล์มาอยู่
รวมกัน ราเมือกมีบทบาทเปน็ ผยู้ ่อยสลายที่สาคัญในระบบนิเวศ ไดแ้ ก่ สเตโมนทิ ิส (Stemonitis sp.) และ ไฟซาลัม
(Physarum sp.) เปน็ ต้น

ภาพ (ก) Stemonitis axifera (ข) Physarum nutans (ค) Physarum polycephalum
ทีม่ า http://www.sysp.ac.th/files/1403271111004763_14042614140043.pdf
สืบค้นเม่อื 1 ตุลาคม 2562

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 24
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

8.2 แอนตำมีบำ (Entamoeba) เป็นโพรทิสต์ทถ่ี กู จัดไวใ้ นกล่มุ เดยี วกนั ดว้ ยข้อมูล โมเลกลุ ดเี อ็นเอ
ลกั ษณะทั่วไปมเี ท้าเทียม (Pseudopodium) หรอื เพอ่ื ใชใ้ นการเคลือ่ นที่หรอื กนิ อาหาร โดยการยื่นเทา้ เทียมไป
ลอ้ มรอบอาหาร สว่ นใหญจ่ ะดารงชีวติ แบบอิสระ ทีร่ ้จู กั กนั ดี คอื Amoeba proteus แตบ่ างชนดิ เป็นปรสิต
ทสี่ าคัญ เช่น Entamoeba histolytica เป็นสาเหตขุ องโรคบิด

ภาพ (ก) Amoeba proteus (ข) Entamoeba histolytica ระยะ Trophozoite

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 25
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

บัตรกจิ กรรมกำรเรยี นรทู้ ่ี 3
เรอ่ื ง ควำมหลำกหลำยของโพรทิสตำ

คำชีแ้ จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับนีเ้ ป็นกิจกรรมทจ่ี ัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ขน้ั สารวจและ
คน้ หา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Exploration Phase) และขั้นประเมินผล
(Evaluate Phase)

คำสง่ั ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ทากจิ กรรม เร่อื ง การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ ตามกิจกรรมท่ี
กาหนดให้ต่อไปนี้

กิจกรรมท่ี 1 ใหน้ กั เรยี นพิจารณาภาพ แล้วเติมข้อความลงในช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 26
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 27
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

กจิ กรรม 2 จงตอบคาถามเก่ียวกับอาณาจกั รโพรพสิ ตา

1. โพรทิสต์ชนิดใดทาใหเ้ กิดโรคเหงาหลับ

2. โพรทสิ ต์ชนดิ ใดอาศัยอยู่ในลาไส้ปลวก

3. โพรทสิ ต์ชนิดใดทาใหเ้ กิดโรคมาลาเรีย

4. โพรทสิ ต์กล่มุ ใดทาใหเ้ กิดปรากฏการณ์ข้ีปลาวาฬ

5. โพรทิสตท์ ี่ทาให้เกิดอาการติดเชอ้ื ในช่องคลอด

6. สาหร่ายสเี ขียว (น้าจดื ) ชนดิ โดมโี ปรตนี สงู

7. สาหรา่ ยสีเขียวชนิดใดที่ชาวบ้านเรยี ก “เทานา้ ”

8. ไดอะตอมมสี ารโดสะสมในเซลล์

9. สาหร่ายสีแดงชนดิ ใดท่ีสามารถนามาสกดั ว้นุ ได้

10. สาหรา่ ยสนี ้าตาลขนิดใดใช้เปน็ อาหารและมไี อโอดนี สงู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 28
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

กจิ กรรมที่ 3 ให้นักเรยี นนาอกั ษรหน้าข้อความทางด้านขวามาเติมหน้าขอ้ ความท่ีมีความสัมพนั ธ์กนั
1. อวยั วะท่ใี ช้ในการเคล่ือนทขี่ องวอลวอกซ์
2. อวัยวะท่ีใช้ในการเคลื่อนที่ของวอรต์ ิเซลสา
3. คอลเรลลาและสไปโรไจรา
4. เกณฑ์ท่ีใช้ในการจาแนกสาหรา่ ยชนิดต่างๆ
5. สาหรา่ ยสีเขยี วท่ีชาวบ้านเรียก “เทานา้ ”
6. พอรไ์ ฟราและกราซลิ าเรีย
7. สาหร่ายทุน่ พบมากในอ่าวไทย ใชท้ าอาหารได้
8. ผลติ สารอะฟลาทอกซินเปน็ สาเหตุของโรคมะเร็งตับ
9. ราอยรู่ วมกับสาหรา่ ย
10. สาเหตขุ องโรคบิดมีตวั

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 29
รายวชิ าชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

แบบทดสอบหลงั เรียน ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ท่ี 4
เรอ่ื ง อำณำจักรโพรทสิ ตำ

คำช้ีแจง แบบทดสอบเปน็ แบบปรนัยเลือกตอบ จานวน 10 ข้อ

1. อวัยวะท่ใี ชใ้ นการเคล่อื นไหวของส่งิ มีชีวติ ในอาณาจักรโพรทสิ ตา คือข้อใด
ก. แฟลกเจล้ม
ข. หาง
ค. ครีบ
ง. เกล็ด

2. สิง่ มีชีวิตในข้อใดมอี ายสปอต (Eye spot) ใชใ้ นการตอบสนองต่อแสง
ก. สาหร่ายแดง
ข. พารามีเซยี ม
ค. ยกู ลนี า
ง. พลาสโมเทียม

3. ในอาณาจักรโพรโตซวั มีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลมุ่ แต่ละเซลล์สามารถทาหนา้ ทข่ี องความเปน็ ส่ิงมชี วี ิตได้
ครบถว้ นอยา่ ง อสิ ระ เรยี กเซลล์ทร่ี วมกนั นน้ั วา่ อะไร
ก. เนอ้ื เย่อื
ข. อวยั วะ
ค. โคโลนี
ง. ซโู ดโพเดยี ม

4. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนข์ องไดอะตอม
ก. การทาไสก้ รอง
ข. ยาขัดรองเทา้
ค. ทาเคร่ืองแกว้
ง. นา้ ยาลา้ งจาน

5. “ปรากฏการณ์ขป้ี ลาวาฬ” เกิดจากสงิ่ มชี ีวิตในกลมุ่ ใด
ก. กลุ่มไดโนแฟลเจลเลต
ข. กลมุ่ สาหรา่ ยสนี ้าตาล
ค. กลุ่มไดโพลโมแนต
ง. กลุ่มยูกลีนอยด์

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) 30
รายวชิ าชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

6. สิ่งมีชีวติ ในขอ้ ใดทมี่ โี ปรตนี สงู และมกั นามาทาอาหารเสรมิ
ก. สาหรา่ ยสเี ขยี ว
ข. สาหรา่ ยสนี า้ ตาล
ค. คอลเรลลา
ง. สาหรา่ ยเคลป์

7. จจี ่ายที่นามาทาอาหาร หรือสาหร่ายผมนาง คือสง่ิ มชี ีวติ ในขอ้ ใด
ก. สาหรา่ ยสแี ดง
ข. สาหรา่ ยสเี ขียว
ค. สาหร่ายสีน้าตาล
ง. ราเมือก

8. สงิ่ มีชีวติ กลุม่ ใดมลี กั ษณะก่งิ ก้านคลา้ ยพชื ชั้นสูง
ก. สาหร่ายสีเขยี ว
ข. สาหร่ายสีน้าตาล
ค. ราเมอื ก
ง. สาหรา่ ยเคลป์

9. โรคในขอ้ ใดที่ไมไ่ ด้เกิดจากสง่ิ มีชีวติ ในอาณาจกั รโพรทสิ ตา
ก. ตดิ เชือ้ ในชอ่ งคลอด
ข. โรคเหงาหลับ
ค. โรคน่วิ ในถงุ น้าท่ี
ง. ปรสิตในลาไส้ของคน

10. สาหรา่ ยในขอ้ ใดท่ีชว่ ยปรับคุณภาพนา้ ได้
ก. สาหร่ายสีเขียว
ข. สาหรา่ ยสีน้าตาล
ค. ราเมือก
ง. สาหร่ายเคลป์

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 31
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

กระดำษคำตอบ ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรทู้ ่ี 4
เรือ่ ง อำณำจักรโพรทสิ ตำ

 ก่อนเรียน  หลังเรียน

ชือ่ ......................................................ชั้นมธั ยมศึกษาปีท.่ี ........................เลขที่......................

ข้อท่ี ก. ข. ค. ง.
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

30

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 32
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

บรรณำนกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ(2551). หลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนพุทธศกั รำช 2551. กรุงเทพมหานคร:
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

โครงการดาราวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรม์ ลู นธิ ิ สอวน.(2552). ชวี วิทยา สตั ววทิ ยา3. กรุงเทพมหานคร: มลู นิธิ
สอวน.

จริ ัสย์ เจนพาณชิ ย์(2552). ชีววทิ ยำสำหรบั นักเรียนมธั ยมปลำย. กรงุ เทพมหานคร: ผจก.สามลดา.
เชาวน์ ชิโนรกั ษ์ และพรรณี ชิโนรักษ์(2552). ชวี วทิ ยำ 1. กรงุ เทพมหานคร: โสภณการพิมพ์.
ซรี ส์ ตาร์(2552). ชีววิทยำ เลม่ 1. (แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications โดยทีมคณาจารย์ ภาควิชา

ชีววทิ ยามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: เจเอสทีพับลิชช่งิ จากัด.
นงลักษณ์ สุวรรณพินจิ และปรชี า สพุ รรณพินิจ(2552). จุลชวี วทิ ยำทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .
ประสงค์ หลาสะอาด และจติ เกษม หลาสะอาด(มปป.). ค่มู อื สำระกำรเรียนรพู้ ื้นฐำนและเพิ่มเติมกลุ่มสำระกำร

เรยี นร้วู ิทยำศำสตร์ ชวี วทิ ยำ ม.6 เลม่ 5. กรุงเทพมหานคร: พฒั นาศกึ ษา.
ปรชี า สุวรรณพินจิ และนงลกั ษณ์ สุพรรณพินจิ (2549). ชวี วทิ ยำ 2. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
วนั ดี วฒั นชยั ยิง่ เจริญ(2552). กำรจัดจำแนกสง่ิ มีชวี ิต. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์: มหาวิทยาลยั นเรศวร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(2541). หนังสอื เรยี นรำยวิชำชีววิทยำเพิ่มเติม เล่ม 5.

กรงุ เทพมหานคร: สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี(2555). คู่มอื ครูรำยวิชำชีววิทยำเพ่มิ เตมิ เล่ม 5.

กรุงเทพมหานคร: สกสค.

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) 33
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 34
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

แบบบนั ทกึ คะแนนระหวำ่ งเรยี น
เรื่อง อำณำจักรโพรทสิ ตำ

ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรคู้ วำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ รำยวิชำชีววทิ ยำ (ว33109) ช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 6
กลมุ่ สำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เร่ือง อำณำจกั รโพรทสิ ตำ

ช่ือ......................................................ชั้นมธั ยมศึกษาปที .ี่ ........................เลขที่......................

กจิ กรรม คะแนนเตม็ คะแนนท่ีได้
บตั รกิจกรรมท่ี 1 10
บัตรกิจกรรมที่ 2 10
บัตรกิจกรรมที่ 3 30

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) 34
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ
35

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรทู้ ่ี 4
เรอื่ ง อำณำจกั รโพรทิสตำ

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ขอ้ ที่ ก. ข. ค. ง.
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

ขอ้ ที่ ก. ข. ค. ง.
1X
2X
3X
4X
5X
6X
7X
8X
9X
10 X

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 36
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทิสตา

เฉลยบัตรกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ท่ี 1
เรือ่ ง สงิ่ มชี ีวิตอำณำจกั รโพรทิสตำ

คำช้แี จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบับนเี้ ป็นกจิ กรรมท่ีจัดการเรยี นรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ข้นั ตรวจสอบ
ความร้เู ดิม (Elicitation Phase) ขัน้ เรา้ ความสนใจ (Engagement Phase) และข้นั อธิบาย
(Explanation Phase)

คำส่งั ให้นกั เรยี นศกึ ษาภาพและข้อความท่กี าหนดให้แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี

ข้อควำมข่ำวท่ีกำหนด
"ข้ปี ลาวาฬ” ทานา้ ทะเลพัทยาเปลยี่ นสีโชคดียงั ไมเ่ ข้าชายหาด ผ้สู อ่ื ขา่ วไดร้ ับแจ้งจากนกั ท่องเท่ียวว่า

นา้ ทะเลบรเิ วณหน้าอา่ วพทั ยา ห่างจากฝ่ังประมาณ 300 เมตร มีปรากฏการณ์นา้ ทะเลเปล่ยี นสีหรือที่เรียกกนั
ว่า “ปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ หรือแพลงกต์ อนบลูม”

ทีม่ า https://www.nationtv.tv/news/378552058
สบื คน้ เมื่อ 1 ตลุ าคม 2562

โดยจากการสงั เกตจากมมุ สูงจะเหน็ ได้วา่ นา้ ทะเลจากบรเิ วณชายฝง่ั กบั นา้ ทะเลท่อี ย่หู ่างออกไปจะมคี วาม
แตกต่างกนั ซ่ึงลกั ษณะจะเป็นนา้ สเี ขียวเขม้ อยา่ งเหน็ ได้ชัด อย่างไรกต็ ามปรากฏการณข์ ีป้ ลาวาฬ หรอื แพลงก์ตอน
บลมู นน้ั นักท่องเทีย่ วพบเหน็ ในชว่ งเมอื่ วานนใ้ี นชว่ งนา้ ขึ้นตอนบา่ ยบริเวณหาดวงศ์อมาตย์ นาเกลอื แต่หลงั จากน้ัน
กระแสนา้ ได้พัดให้เกดิ การเปลย่ี นทิศทางและจางหายไป กระทงั่ มาวันนชี้ ว่ งน้าข้นึ ก็พปรากฏการณด์ ังกล่าวอกี ครั้ง
สาหรับปรากฏการณ์ข้วี าฬ หรอื แพลงกต์ อนบลูม นั้นเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ที่มกั จะเปน็ ไปตามฤดูกาล โดย
กระบวนการน้าผุดทแ่ี นวชายฝั่ง ซ่ึงเกิดขน้ึ ตามธรรมชาตจิ ากการเคลื่อนตวั ของนา้ ทะเล การเติบโตของแพลงตอนพชื
อณุ ภูมทิ ่เี พม่ิ สงู ขึ้นของนา้ ทะเลนั้นยงั เปน็ อีกปัจจัยที่ทาให้เกิดปรากฏการณ์ขป้ี ลาวาฬเช่นเดียวกัน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 37
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

คำชแ้ี จง นักเรียนศึกษาภาพและขอ้ ความขา่ วที่กาหนดให้แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1. สิ่งมีชีวติ ท่ที าให้เกิดปรากฏการณ์แพลงก์ตอนบลมู คอื

แพลงตอนพชื
2. ปรากฎการณ์แพลงก์ตอนบลมู ทาใหน้ ้าทะเล มลี ักษณะอยา่ งไร

ลกั ษณะจะเป็นน้าสเี ขียวเขม้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ัด
3. แพลงตอนพชื เป็นสง่ิ มชี วี ติ ในกล่มุ ใด

กลุ่มไดโนแฟลเจลเลต
4. เหตุการณน์ ม้ี ผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมอย่างไร

ปรากฏการณ์นี้ เกย่ี วข้องกบั อัตราการตายของสิ่งมีชีวติ หลายๆ อยา่ งท่ีอาศัยอยู่ในทะเล รวมไปถงึ แนว
ชายหาด เชน่ ปลา นก สัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนา้ นมทางทะเล และสง่ิ มชี ีวิตชนิดอื่น
5. นักเรียนสามารถแก้ปญั หาจากเหตุการณน์ ีไ้ ด้อย่างไร
คาตอบอยู่ในดุลพินจิ ของครูผู้สอน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) 38
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

เฉลยบัตรกจิ กรรมกำรเรียนรทู้ ี่ 2
เรอื่ ง อำณำจักรโพรทิสตำ

คำช้ีแจง กจิ กรรมการเรยี นรฉู้ บบั นีเ้ ปน็ กิจกรรมที่จดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ขัน้ สารวจและ
คน้ หา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Exploration Phase) และขัน้ นาความร้ไู ปใช้
(Extend Phase)

คำส่ัง จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกต้อง

1. นักวิทยาศาสตรค์ นใดท่ีเปน็ คนเสนอ อาณาจกั รโพรตสิ ตา ขน้ึ มาคนแรก

Ernst Haeckel นกั วิทยาศาสตร์ชาวเยอรมนั

2. ส่วนท่ีเรียกวา่ โคโลนี (colony) ในอาณาจกั รโพรตสิ ตา คืออะไร ทาหน้าที่อย่างไร
- เซลล์หลายเซลลร์ วมกนั เป็นกล่มุ
- เซลล์ทาหน้าทข่ี องความเป็นส่งิ มชี ีวิตได้อย่างครบถว้ น อสิ ระ

3. โพรโตซวั มกี ารดารงชีพอยา่ งไร จงอธบิ าย
การดารงชีพ มที ้ังชนิดที่เปน็ ผู้ผลิน (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟลิ ล์ เปน็ ผบู้ รโิ ภค (Consumer)
และเปน็ ผู้ยอ่ ยสลายอินทรยี ์สาร (Decomposer)

4. ซีเลีย (Cilia) แฟลกเจลลมั (Flagellum) หรอื ซูโดโปเดียม (Pseudopodium) เปน็ อวยั วะของโพรโตซัว
ซง่ึ ทาหนา้ ท่ีใด
- ใช้ในการเคล่ือนไหวร่างกาย
- ใช้ในการเคลื่อนที่

5. โพรโตซวั มีการสืบพนั ธุ์อย่างไร จงอธิบาย
มีท้ังแบบไมอ่ าศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction)

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 39
รายวิชาชวี วทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

เฉลยบตั รกจิ กรรมกำรเรียนรทู้ ่ี 3
เรอ่ื ง ควำมหลำกหลำยของโพรทิสตำ

คำชี้แจง กิจกรรมการเรยี นร้ฉู บับนี้เป็นกจิ กรรมที่จัดการเรยี นร้ตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ข้ันสารวจและ
ค้นหา (Exploration Phase), ขั้นขยายความรู้ (Exploration Phase) และขั้นประเมนิ ผล
(Evaluate Phase)

คำสง่ั ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันทากิจกรรม เร่ือง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ตามกจิ กรรมท่ี
กาหนดให้ต่อไปน้ี

กิจกรรมที่ 1 ให้นกั เรยี นพจิ ารณาภาพ แลว้ เติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 40
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 41
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

กจิ กรรม 2 จงตอบคาถามเกีย่ วกับอาณาจักรโพรพสิ ตา

1. โพรทิสต์ชนดิ ใดทาใหเ้ กิดโรคเหงาหลับ ทรปิ พาโนโซมา
(Trypanosoma sp.)

2. โพรทิสตช์ นิดใดอาศยั อยู่ในลาไส้ปลวก ไตรโคนิมฟา
3. โพรทิสตช์ นิดใดทาให้เกดิ โรคมาลาเรีย (Triconympha sp.)

พลาสโมเดียม
(Plasmodium sp.)

4. โพรทสิ ต์กลุ่มใดทาให้เกดิ ปรากฏการณ์ขีป้ ลาวาฬ ไดโนแฟลเจลเลต
(Dinoflagellate sp.)

5. โพรทสิ ตท์ ่ีทาให้เกิดอาการติดเช้อื ในชอ่ งคลอด ไตรโคโมแนส
(Trichomonas sp.)

6. สาหรา่ ยสีเขียว (นา้ จืด) ชนิดโดมีโปรตนี สงู คลอเรลลา
(Chorella sp.)

7. สาหรา่ ยสเี ขียวชนดิ ใดท่ีชาวบ้านเรียก “เทาน้า” สไปโรไจรา
(Spirogyra sp.)

8. ไดอะตอมมีสารโดสะสมในเซลล์ คริสโซลามนิ าริน
(Chrusolaminarin sp.)

9. สาหรา่ ยสแี ดงชนิดใดทส่ี ามารถนามาสกัดวุ้นได้ กราซิลาเลยี
(Gracilaria sp.)

10. สาหร่ายสนี า้ ตาลขนิดใดใช้เปน็ อาหารและมไี อโอดนี สงู ซาร์กสั ซัม
(Sargassum sp.)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) 42
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทิสตา

กจิ กรรมที่ 3 ให้นักเรยี นนาอักษรหน้าข้อความทางด้านขวามาเติมหนา้ ขอ้ ความทมี่ คี วามสัมพนั ธก์ นั
1. อวัยวะทใี่ ช้ในการเคลื่อนท่ีของวอลวอกซ์
2. อวยั วะท่ีใชใ้ นการเคลอ่ื นท่ขี องวอรต์ ิเซลสา
3. คอลเรลลาและสไปโรไจรา
4. เกณฑ์ท่ีใช้ในการจาแนกสาหร่ายชนดิ ตา่ งๆ
5. สาหร่ายสีเขยี วท่ีชาวบ้านเรียก “เทาน้า”
6. พอรไ์ ฟราและกราซลิ าเรยี
7. สาหรา่ ยทุ่นพบมากในอา่ วไทย ใชท้ าอาหารได้
8. ผลิตสารอะฟลาทอกซนิ เปน็ สาเหตุของโรคมะเร็งตับ
9. ราอยู่รวมกับสาหรา่ ย
10. สาเหตขุ องโรคบดิ มีตวั

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) 43
รายวิชาชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบคุ คล
เรอ่ื ง อำณำจกั รโพรทสิ ตำ

ชอ่ื ......................................................ชนั้ มธั ยมศึกษาปที .่ี ........................เลขท่.ี .....................

คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกบั
ระดบั คะแนน

ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อืน่
3 การทางานตามหน้าท่ที ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
4 ความมนี า้ ใจ
5 การตรงตอ่ เวลา

รวม

ลงชือ่ ......................................ผู้ประเมิน
........../................./........

เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์กำรตัดสินคุณภำพ ระดบั คุณภาพ
ช่วงคะแนน ดีมาก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรบั ปรงุ
ต่ากว่า 10

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 44
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมท่ี 4 อาณาจกั รโพรทสิ ตา

แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
เรื่อง อำณำจักรโพรทิสตำ

ชื่อ......................................................ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่.........................เลขท่ี......................

คำชแ้ี จง ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกบั
ระดับคะแนน

ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
1 การแบ่งหนา้ ท่กี ันอยา่ งเหมาะสม
2 ความรว่ มกันทางาน
3 การแสดงความคิดเหน็
4 การรบั ฟงั ความคิดเห็น
5 ความมนี ้าใจชว่ ยเหลอื กนั

รวม

ลงชื่อ......................................ผู้ประเมิน
........../................./........

เกณฑ์กำรให้คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ำรตัดสินคุณภำพ ระดบั คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ดมี าก
18-20 ดี
14-17 พอใช้
10-13 ปรับปรุง
ต่ากว่า 10

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) 45
รายวิชาชีววทิ ยา (ว33109) เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

แบบประเมินคุณลกั ษณะของผู้เรยี น
เรอ่ื ง อำณำจกั รโพรทิสตำ

ชอ่ื ......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปที .ี่ ........................เลขที่......................

คำช้ีแจง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ตี รงกับ
ระดับคะแนน

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
4321
อันพึงประสงค์

ดา้ น

1. 1. ยืนตรงเม่ือได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของเพลงชาติ

รกั ชาติ 2. ปฏิบัตติ ามสทิ ธิฯและหน้าท่ีของนกั เรยี น

ศาสน์ 3. ให้ความร่วมมือร่วมใจในการทางานกบั สมาชิกในโรงเรยี น

กษัตรยิ ์ 4. เข้ารว่ มกิจกรรมและมสี ่วนร่วม ในการจัดกจิ กรรมท่สี รา้ งความสามคั คปี รองดอง

และเปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรยี นและชุมชน

5. เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถือ ปฏิบตั ิตามหลักของศาสนา

6. เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการคิดจัดกิจกรรม เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

ตามท่โี รงเรียนและชมุ ชนจดั ข้ึน

2. 1. ให้ขอ้ มูลท่ถี กู ตอ้ งและเป็นจริง

ซื่อสตั ย์ 2. ปฏบิ ัติในสิง่ ทถ่ี กู ตอ้ ง ละอายและเกรงกลัวท่ีจะทาความผิด ทาตามสัญญาท่ีตนใหไ้ ว้

สจุ รติ กบั เพือ่ น พอ่ แมห่ รือผูป้ กครอง และครู

3. ปฏบิ ัตติ อ่ ผอู้ นื่ ด้วยความซ่ือตรง ไม่หาประโยชนใ์ นทางทไ่ี ม่ถกู ต้อง

3. 1. ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลงกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น

มีวนิ ัย 2. ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวนั และรับผดิ ชอบในการทางาน
รบั ผดิ ชอบ

4. 1. แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ

ใฝ่เรยี นรู้ 2. มีการจดบนั ทึกความร้อู ย่างเป็นระบบ

3. สรุปความรู้ท่ไี ด้อยา่ งมเี หตุผล

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) 46
รายวิชาชวี วิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชดุ กิจกรรมที่ 4 อาณาจักรโพรทิสตา

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงค์ 4321

ดา้ น

5. 1. ใชท้ รพั ยส์ นิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยดั คุ้มค่า และเก็บรักษา
อยู่อยา่ ง ดแู ลอย่างดีและใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม
พอเพียง
2. ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คุม้ คา่ และเก็บรกั ษาดแู ลอย่างดี

3. ปฏิบัติตนและตดั สินใจด้วยความรอบคอบมีเหตุผล

4. ไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ ่นื และไม่ทาให้ผู้อืน่ เดอื ดรอ้ น พร้อมให้อภยั เมื่อผูอ้ น่ื กระทาผดิ พลาด
5. วางแผนการเรียน การทางาน และการใชช้ ีวติ ประจาวนั บนพ้ืนฐานของความรขู้ อ้ มูล

ขา่ วสาร
6. รเู้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ มยอมรับ และปรบั ตวั อยรู่ ่วมกบั

ผ้อู น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข

6. 1. มคี วามต้ังใจและพยายามในการทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
มุ่งม่นั 2. มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่ือให้งานสาเรจ็
ในการทางาน
7. 1. มจี ิตสานึกในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย
รกั ความ 2. เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย
เปน็ ไทย
8. 1. รจู้ ักช่วยพ่อแม่ผปู้ กครองและครทู างาน
2. อาสาทางานช่วยคิดช่วยทาและแบง่ ปนั สิ่งของให้ผอู้ ืน่
มี 3. ดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบตั ขิ องห้องเรยี นโรงเรยี นและชมุ ชน
จติ สาธารณะ

4. เข้าร่วมกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชอ่ื ......................................ผปู้ ระเมิน
........../................./........

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) 47
รายวชิ าชีววทิ ยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ

ชุดกจิ กรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรทสิ ตา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E)
รายวชิ าชีววิทยา (ว33109) เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพ


Click to View FlipBook Version