The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by series.9mm, 2021-12-29 01:12:36

รายงานโครงการ IFTE ศธจ.เชียงราย

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย

Keywords: IFTE

สำนักงานศึกษาธิการ
จังหวัดเชียงราย

รายงาน โครงการ
INNOVATION FOR THAI EDUCATION (IFTE)
ผลการดำเนินงาน นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

เอกสารหมายเลข ๐๐๕ /๒๕๖๔ สำ นั ก ง า น ศึ ก ษ า ธิ ก า ร จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ร า ย
ก ลุ่ ม นิ เ ท ศ ติ ด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล สำ นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร



บทสรปุ ผู้บรหิ าร

โครงการ IFTE (Innovation For Thai Education) เป็นโครงการต่อเนื่อง โดยการนาผล
การวิเคราะห์และการวิจัย การพัฒนารูปแบบและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการวิเคราะห์ และการวิจัยแนวทางการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education) และ
โครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒-
๒๕๖๓ สร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วน เพื่อยกระดับ
คุณภาพของผู้เรยี น

เคร่ืองมือที่ใช้ในการดาเนินงาน ได้แก่ ๑) แบบเก็บข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และ
งานวิจัยทางการศึกษา ๒) แบบนิเทศ ติดตามผลการดาเนินงานโครงการ ๓) แบบรายงานการ
พัฒนานวัตกรรม ๔) แบบวิเคราะห์องค์ประกอบการพัฒนานวัตกรรม ๕) กรอบเกณฑ์การ
คัดเลือกนวัตกรรม

การดาเนินงานการการพัฒนาบุคลากรแกนนาพัฒนานวัตกรรม การนิเทศ ติดตาม
และประประเมินผล เก็บข้อมูล ในรูปแบบออนไลน์ ผ่านทางแอพพลิเคช่ันไลน์ (LINE) จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และสอบถามขอ้ มูลเพิ่มเติมผ่านทางโทรศัพท์

การคัดเลือกต้นแบบนวัตกรรมระดับจังหวัด ใน ๔ ประเภทนวัตกรรม คือ นวัตกรรม
ด้านการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมด้านการบริหารการศึกษา นวัตกรรมด้านการนิเทศภายใน
สถานศกึ ษา และ นวัตกรรมด้านการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล

รายงานผลการดาเนินงานโครงการ และผลการคัดเลือกระดับสานักงานศึกษาธิการ
จังหวัดเชียงราย และส่งต่อเข้ารับการคัดเลือกในระดับสานักงานศึกษาธิการภาค ๑๖ และ
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

สรุปผลการดาเนนิ งาน

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา
ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดเชยี งราย มีผลการดาเนินงาน ดังน้ี

ขั้นตอนท่ี ๑ การศึกษาสภาพปัจจบุ นั (Situation :S)
ขัน้ ตอนท่ี ๒ การวางแผน (Plan : P)



ประกอบด้วยกิจกรรม ๓ กิจกรรม คือ ๑) สร้างความเข้าใจร่วม ๒) สร้างทีมงาน ๓) ค้นพบ
ตนเอง ผลจากการดาเนินงานตามกิจกรรมโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์การดาเนินงาน ข้อที่ ๑
ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ในระดับจังหวัด และ
วตั ถปุ ระสงค์ขอ้ ที่ ๒ เครือขา่ ยความร่วมมือในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

ขน้ั ตอนท่ี ๓ ดาเนินการตามแผน (Do : D)
ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน 2 กิจกรรม คือ ๑) การดาเนินการพัฒนาองค์ความรู้ให้
กลุ่มเป้าหมาย จากทุกสังกัดในหน่วยงานทางการศึกษา ๑๐ หน่วยงานที่จัดการศึกษาในจังหวัด
เชียงราย ใน ๔ ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการนิเทศภายใน
และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล รวมท้ังหมด จานวน 35 นวัตกรรม ๒) ดาเนินการจัด
ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ จุดเด่น
กาหนดวิธีการ แนวทางการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างและ การพัฒนานวัตกรรม แนว
ทางการนิเทศ ติดตาม การการสรา้ งและการพัฒนานวัตกรรม ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการดาเนินงานให้สอดคล้องกับ
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของจังหวดั เชียงราย โดยจัดดาเนินการประชุมแบบออนไลน์ ผา่ นแอป
พลิเคชัน Line meeting

ขน้ั ตอนท่ี ๔ การติดตาม และตรวจสอบ (Check : C)
ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน ๓ กิจกรรม คือ ๑) แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และ
ผล การดาเนินงานโครงการ ๒) การประชุมคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม เพื่อวางแผนการนิเทศ
กาหนดปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ๓) นิเทศ ติดตาม บุคลากรนาร่องพัฒนานวัตกรรม
การดาเนินงานในครั้งน้ีได้ปรบั รปู แบบการนเิ ทศ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เป็นการนเิ ทศแบบออนไลน์ ซึ่งมีคณะกรรมการร่วมเปน็ ผนู้ ิเทศนเิ ทศจาก
๑๐ หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ร่วมเป็นคณะกรรมการนนิเทศ ผู้รับการนิเทศ
ประกอบด้วย บุคลากรแกนนาร่วมการพัฒนานวตั กรรม รวมทั้งหมด จานวน ๒๕ นวัตกรรม

ขัน้ ตอนท่ี ๕ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา (Act: A) การสะท้อนคิด
แลกเปลีย่ นเรียนรู้

ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน ๓ กิจกรรม คือ ๑) การคัดเลือกนวัตกรรม สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ คัดเลือกนวัตกรรมการศึกษา ของผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมที่ส่งผลงาน
เข้าร่วมคัดเลือก จาก ๑๐ หน่วยงานที่จัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย คือ ด้านการจัดการเรียนรู้
จานวน ๑๑ นวัตกรรม ด้านการบริหารการศึกษา จานวน ๔ นวัตกรรม ด้านการนิเทศภายใน
สถานศึกษา จานวน ๓ นวัตกรรม และ ด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จานวน ๕ นวัตกรรม



รวมท้ังสนิ้ จานวน ๒๓ นวัตกรรม เครื่องมือทีใ่ ช้คร้ังนี้ คือ แบบประเมินนวัตกรรม โดยประเมินผลงาน
จากรายงานการพฒั นานวัตกรรม และ นาเสนอผา่ นวิดิทัศน์ ๒) ประกาศผลการคดั เลือกระดบั จังหวัด
๓) รายงานผลการคัดเลือกนวัตกรรมให้นักงานศึกษาธิการภาค รายงานและนาเสนอผลการคัดเลือก
ให้ศึกษาธิการภาค ๑๖ ๔) การสะท้อนคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคลื่อน ถอด
ประสบการณส์ ะท้อนคิด แลกเปลีย่ นเรียนรู้ กาหนดแนวทางแก้ไข พฒั นาต่อยอดในการดาเนินงาน

ปญัปัญหหาาออุปปุ สสรรรรคค แแลละะแแนนววททาางงแแกกไ้ ข้ไข
ปัญหาและอปุ สรรค
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19) ทาให้การดาเนินงานไม่

เปน็ ไปตามแผนทีก่ าหนดไว้ เชน่ ไม่สามารถจัดประชุมคณะกรรม ผู้เข้าร่วมโครงการ การนเิ ทศตดิ ตาม
ผเู้ ข้าร่วมพฒั นานวัตกรรม การจดั แสดงผลงาน และ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้

แนวทางแก้ไข
ปรับรูปแบบกิจกรรมการดาเนินงานในแผนงานโครงการ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด
โดยลดกิจกรรมที่มีการรวมตัวคนจานวนมาก เช่น กิจกรรมการจัดประชุม การนิเทศติดตาม การจัด
แสดงผลงาน และ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ได้ปรับกิจกรรมเปน็ นิเทศแบบออนไลน์ นอกจากนกี้ ารดาเนิน
กิจกรรมคัดเลือกนวัตกรรม ได้ปรบั กิจกรรมการคัดเลือกจาก รูปเล่มรายงานและวีดิทัศน์

ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพัฒนา

การดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพือ่ พฒั นา
การศึกษา ควรส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ควรมีลกั ษณะเป็นการเรียนรทู้ ี่มวี ิธีการเรียนรู้
ทีห่ ลากหลาย ทั้ง แบบผสมผสาน (On Site) รว่ มกับรูปแบบอืน่ ได้แก่ จัดการเรยี นการสอนแบบมีใบงาน
หรือแบบฝึกหัดให้นักเรียนนาไปเรียนรู้เองที่บ้าน (On Hand) จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online)
จัดการเรียนการสอนผ่านแอปพริเคช่ันต่างๆ (On Demand) และจัดการเรียนการสอนแบบเรียนผ่าน TV
(On air) ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ด้วยเหตุนี้ผู้สอนจึงเป็นบุคคลที่มี
ความสาคัญอย่างยิ่งในการที่จะออกแบบการเรียนรู้ให้มีลักษณะดังกล่าว ซึ่งเป็นโจทย์ที่ท้าทายเป็น
อย่างมาก



สารบัญ หนา้

บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร .................................................................................................. ง
สารบัญ ..........................................................................................................................

ตอนที่ หน้า

๑ บทนา ๑

หลักการและเหตผุ ล .............................................................................. ๑

วัตถปุ ระสงค์ ......................................................................................... ๓

เป้าหมายตัวชีว้ ดั ความสาเร็จ ................................................................ ๓

การวดั และประเมนิ ผล .......................................................................... ๓

ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ .............................................................................. ๕

๒ การดาเนนิ งาน ๖
กรอบแนวคิดโครงการ ......................................................................... ๖
กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ ............................................................ ๗
ขน้ั ตอนท่ี ๑ ศึกษาสภาพปัจจุบนั (Situation: S) ................................. ๙
ขั้นตอนท่ี ๒ วางแผนการเนินงาน (Plan: P) ......................................... ๑๐
ขน้ั ตอนที่ ๓ ดาเนินการตามแผน (Do: D) ............................................ ๑๑
ขน้ั ตอนที่ ๔ การติดตาม และตรวจสอบ (Check : C) ........................ ๑๓
ขั้นตอนท่ี ๕ ประเมินผล ปรับปรุง แกไ้ ขและพัฒนา (Act: A) ............ ๑๔

๓ ผลการดาเนนิ งาน ๑๕

ขน้ั ตอนท่ี ๑ ศึกษาสภาพปจั จุบัน (Situation: S) ................................. ๑๕

ขนั้ ตอนท่ี ๒ วางแผนการเนนิ งาน (Plan: P) ......................................... ๑๕

ขน้ั ตอนท่ี ๓ ดาเนนิ การตามแผน (Do: D) ............................................ ๑๙

ขน้ั ตอนท่ี ๔ การตดิ ตาม และตรวจสอบ (Check : C) ........................ ๒๑

ขน้ั ตอนที่ ๕ ประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา (Act: A) ............ ๒๒



สารบัญ (ต่อ)

ตอนที่ หน้า
๔ สรปุ ผล ปัญหา และข้อเสนอแนะ .......................................................... ๒๘
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ........................................................................... ๒๙
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ...................................................... ๓๔
ขอ้ เสนอแนะและความต้องการในการพฒั นา ........................................ ๓๔

ภาคผนวก ภาคผนวก ก โครงการ ........................................................................ ๓๖
คณะทางาน ภาคผนวก ข ประกาศ / คาส่ัง สานกั งานศกึ ษาธกิ าร ........................ ๕๒
ภาคผนวก ค เครื่องมอื ในการดาเนินงาน ............................................ ๖๑

................................................................................................................ ๘๕

1

ตอนที่ ต๑อหนลทกัี่ ๑กาบรแทลนะำเหตผุ ล

การที่จะพัฒนาประเทศไทยสู่ความม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยืนให้เกิดข้ึนในอนาคตน้ันจะต้องให้
ความสาคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศท่ีมีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลังพอในการขับเคล่ือน
กระบวนการการพัฒนาท้ังในระยะกลางและระยะยาวโดยเฉพาะการพัฒนาคน ให้มีการเตรียมความ
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งสิ่งสาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้และการ
เสริมสร้างปจั จยั แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ทั้งในเชิงระบบและ
โครงสรา้ งของสังคมไทยใหม้ ีภมู ิคมุ้ กันตอ่ การเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขน้ึ

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ
“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” พัฒนาคนทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมี
ภาครฐั ของประชาชนเพ่อื ประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม

แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ได้มีการ
กาหนดยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายที่สามารถตอบสนองการพัฒนาท่ีสาคัญในด้านต่าง ๆ คือ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลท่ีมุ่งหวังให้คน
ไทยมคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีภูมคิ ุ้มกนั ต่อการเปล่ยี นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต ซึ่งตอบสนอง
การพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบท ที่เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์
ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่มุ่งหวังให้มีการผลิตครูได้สอดคล้องกับความ
ต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทและมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้
ศักยภาพในการสอนได้อย่างเตม็ ที่ ซ่ึงตอบสนองการพฒั นา ในด้านคณุ ภาพ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตร์
ผลิตพัฒนากาลังสังคม รวมทั้งงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศที่มุ่งหวังให้
กาลังคนได้รับการผลิตและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ การแข่งขันของประเทศและมีองค์ความรู้
เทคโนโลยี นวัตกรรมสนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ
และด้านการตอบโจทย์บริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ยุทธศาสตร์การขยายโอกาสการเข้าถึง
บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตที่มุ่งหวัง ให้การบริการทางการศึกษาแก่
ผู้เรียนทกุ กลมุ่ ช่วงวยั ในระดับท่ีเหมาะสมกับสภาบรบิ ทและสภาพพื้นท่ี ตอบสนองการพัฒนาในดา้ นการ
เข้าถึงการให้บริการและด้านความเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบ
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการศึกษาท่ีมุง่ หวังให้คนไทยได้รบั โอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ โดย
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการ ด้านความเท่าเทียม

2

และด้านประสิทธิภาพ และยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุก
ภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาที่มุง่ หวังให้มกี ารใช้ทรพั ยากรทัง้ ด้านงบประมาณ

จากรายงานสรุปผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติประจาปี ๒๕๖๒ พบว่า ในแผนแม่บท
ด้านการพัฒนาการเรียนรู้ ซ่ึงมีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑
ครบถ้วน รูจ้ ักคิดวิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานกึ พลเมอื ง มีความกลา้ หาญทางจรยิ ธรรม มีความสามารถ
ในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีข้ึน ผลการ
ประเมินด้านทักษะ อยู่ท่ี ๖๒.๓๐ คะแนน ต่ากว่าปี ๒๕๖๑ ซ่ึงผลการประเมินอยู่ที่ ๖๓.๐๐ และจาก
รายงานวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) พบว่า ปัญหาคุณภาพการศึกษาสาเหคุหลักส่วน
หน่ึงเกิดจากระบบการศึกษาไทยไม่เอื้อต่อการสร้างความรับผิดชอบ(Accountability) หลักสูตรและ
ตาราเรียนของไทยไม่สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ การทดสอบยังคงเน้นการจัดจา
เนอ้ื หามากว่าการเรียนเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจอย่างแทจ้ รงิ

กระบวนการการบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพประกอบด้วย ๓ กระบวนการ คือ
กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา
ซงึ่ จะตอ้ งมคี วามร้อยรดั สัมพนั ธก์ นั อยา่ งดี โดยตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือกันของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องจากทุก
ภาคส่วน การสร้างเครือข่ายในการทางานในแต่ละพ้ืนท่ีจึงมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ซ่ึงจะต้องมีการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมประเมินผล อย่างต่อเน่ือง มีการพัฒนากระบวนการ
ทางาน และสร้างนวัตกรรม ในการทางานให้เห มาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบทและความต้องการ
ของแตล่ ะพน้ื ท่ี รองรับการพฒั นาผู้เรียนใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

จากเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดทาโครงการ
IFTE (Innovation For Thai Education) ขึ้น ซึ่งเป็นโครงการต่อเน่ือง โดยการนาผลการวิเคราะห์
และการวิจัย การพัฒนารูปแบบและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือยกผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนและผลการวิเคราะห์ และการวิจัยแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัด
การศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education) และโครงการ Coaching Teams เพ่ือ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓ สร้างและพัฒนาเครือข่ายความ
ร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้าน
กระบวนการบริหารจดั การศึกษา กระบวนการจัดการเรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศการศกึ ษา
เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพของผเู้ รียนในดา้ นทกั ษะการเรยี นรู้ ทกั ษะอาชพี และทักษะชวี ติ ในศตวรรษท่ี ๒๑

3

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือสรา้ งศนู ยก์ ลางข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาและการวิจยั กระบวนการจัดการเรียนร้ใู น
ระดบั จังหวัด

๒. เพ่ือสง่ เสรมิ การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรเู้ กีย่ วกับ รูปแบบ/แนว
ทางการพฒั นาการจัดการเรียนรู้

๓. เพื่อวเิ คราะห/์ วิจยั แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริหารการจัดการศึกษาใน
ระดับจังหวัด

๔. เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
๕. เพอ่ื ส่งเสรมิ สนับสนนุ พัฒนา ใหน้ กั เรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้

พ้นื ฐาน แตล่ ะวชิ าผ่านเกณฑเ์ พิ่มข้ึน

เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั ควำมสำเร็จ

เชิงปรมิ ำณ
๑. สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั เชียงรายมีศูนย์กลางข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาและมีการ

วจิ ยั กระบวนการจัดการเรียนรู้เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
๒. สานักงานศึกษาธิการจังหวดั เชยี งรายมรี ปู แบบ/แนวทางการพฒั นานักเรียน หรอื แนวทางการ

พัฒนาการจดั การเรยี นรู้อย่างนอ้ ย ๓ รปู แบบ/แนวทาง
๓. สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั เชยี งรายมีรูปแบบ/แนวทางทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล

และการบรหิ ารการจัดการศกึ ษา อย่างน้อยดา้ นละ ๓ รปู แบบ/แนวทาง
๔. สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเชียงรายมีแบบรายงานวจิ ยั และเผยแพร่นวัตกรรมด้านการจัดการ

เรยี นรู้ การบริหารจัดการ และการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
๕. สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายมเี ครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

เชิงคณุ ภำพ
๑. ข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาและการวิจยั ในระดับจังหวดั มีความครอบคลมุ ชดั เจนเปน็

ปัจจบุ นั สามารถนาไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๒. สถานศึกษาต้นแบบมีแนวทางการพฒั นานักเรยี น หรอื แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ได้

อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๓. สถานศกึ ษาต้นแบบมีแนวทางทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลและการบริหารการจัด

การศึกษาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๔. สถานศกึ ษามีร้อยละของนักเรียนท่คี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน

แตล่ ะวชิ า ผ่านกว่าเกณฑเ์ พ่ิมขนึ้

4

ระยะเวลำดำเนินงำน
ตลุ าคม ๖๓ – กันยายน ๖๔

พน้ื ทเี่ ป้ำหมำย/กลุ่มเปำ้ หมำย : หนว่ ยงานท่ีจดั การศึกษาในจังหวัดเชียงราย (สพป.,สพม. สช. กศน.
ตชด. ท้องถิน่ และพระปรยิ ตั ิธรรม)

งบประมำณ

ได้รับจัดสรรจากสานักปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน ๒๘๔,๐๐๐ บาท (สองแสนแปดหมนื่
สีพ่ นั บาท)

แนวทำงกำรบริหำรควำมเสี่ยง
๑. ประสานงานการเขา้ ร่วมกิจกรรมกอ่ นดาเนนิ การ
๒. การกาหนดแนวทางดาเนินการเกิดจากความต้องการของหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
๓. มีการชแี้ จงสรา้ งความเข้าใจอยา่ งชัดเจนและทวั่ ถึง
๔. มกี ารแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ งานทีเ่ กิดจากการมีสว่ นร่วมของทุกหน่วยทเ่ี กีย่ วข้อง
๕. มแี ผนการกากบั และติดตามอย่างมีสว่ นร่วมและชดั เจน

กำรวดั และประเมินผล

ตัวบ่งชีส้ ภำพควำมสำเรจ็ วธิ กี ำรวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือทีใ่ ช้วัด
๑. ขอ้ มลู สารสนเทศทางการศึกษาและการวิจยั ใน
ระดับจังหวัด มคี วามครอบคลมุ ชดั เจน เปน็ ปัจจุบนั ๑. การนิเทศ ตดิ ตาม ๑. แบบนิเทศ
สามารถนาไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตรวจสอบ ติดตาม ตรวจสอบ
๒.สถานศกึ ษาตน้ แบบมีแนวทางการพัฒนานักเรียน
หรือแนวทางการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ๒. การประเมินคุณภาพ ๒. แบบประเมิน
ตดิ ตามและประเมนิ ผล และการบรหิ ารการจัด
การศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ (Best Practice) คุณภาพ (Best
๓.สถานศกึ ษามรี ้อยละของนักเรียนท่คี ะแนนผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐานแตล่ ะ Practice)
วิชา ผา่ นกวา่ เกณฑ์เพม่ิ ขึ้น
๔. เครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาดาเนินการได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

5

ผลท่ีคำดว่ำจะได้รับ
บุคลากรในทกุ ภาคสว่ นมาร่วมกนั สรา้ งนวตั กรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้าน

กระบวนการบริหารจดั การศึกษา กระบวนการจดั การเรียนการสอน และกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา
เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพของผ้เู รียนในด้านทกั ษะการเรยี นรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑

6

ตตออนนทที่ ่ี๒๒กกำำรรดดำำเเนนนิ ินงงำำนน

ในการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวัตกรรมการศึกษา
เพื่อพฒั นาการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เพอ่ื เปน็ แนวทางให้กบั สานักงานศึกษาธิการภาคและ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดดาเนินไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ สานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารจึงได้เสนอแนวทางการดาเนนิ งาน ดังนี้

กรอบแนวคดิ โครงกำร Innovation For Thai Education (IFTE)
นวตั กรรมกำรศึกษำ เพ่ือพัฒนำกำรศกึ ษำ
ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔

Coaching
TFE

teams

นวัตกรรมกำรศกึ ษำ เพื่อพัฒนำกำรศึกษำ
Innovation for Thai Education (IFTE)

กำรบริหำรจดั กำร กำรพฒั นำกำรจัด กำรนิเทศ ตดิ ตำม
กำรเรียนกำรสอน ประเมนิ ผล

คุณภำพผ้เู รียน

ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะอำชีพ ทักษะชีวิต

7

แผนภำพแสดงควำมสอดคล้อง ยุทธศำสตร์ชำติ แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ทุ ธศำสตร์ แผนปฏริ ูปประเทศ
แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ นโยบำยรฐั บำล และ แผนยทุ ธศำสตรจ์ งั หวดั เชยี งรำย

โครงกำร Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมกำรศกึ ษำ เพอ่ื พฒั นำกำรศกึ ษำ
ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔ สำนักงำนศึกษำธกิ ำรจงั หวดั เชียงรำย

ยทุ ธศำสตร์ชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ที่ ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากร
มนษุ ย์

แผนแม่บทภำยใต้ยทุ ธศำสตรช์ ำติ ที่ ๑๒ การพัฒนาการเรยี นรู้
แผนย่อยท่ี ๓.๑ กำรปฏริ ปู กระบวนกำรเรยี นรู้ที่ตอบสนองตอ่ กำรเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑

แผนปฏิรปู ประเทศ ดา้ นการศกึ ษา

แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ การเสรมิ สร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนษุ ย์
นโยบำยรฐั บำล นโยบายหลักข้อท่ี ๘ การปฏิรปู กระบวนการเรยี รแู้ ละการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทย
ทกุ ช่วงวยั นโยบายเร่งดว่ น ท่ี ๗ การเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศำสตรก์ ระทรวงศึกษำธิกำร ยทุ ธศำสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคม
แหง่ การเรียนรู้

ยทุ ธศำสตรส์ ำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากร
มนุษยใ์ ห้มคี ุณภาพ

ยุทธศำสตรส์ ำนกั งำนศึกษำธกิ ำรจังหวดั เชียงรำย
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การจดั การศึกษาเพือ่ ให้เชยี งรายเป็นเมืองแห่งความสุข สะอาด ปลอดภยั นา่ ยล
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ จัดการศกึ ษาเพอื่ ใหม้ ีทักษะอาชีพที่สนองต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ การทอ่ งเทย่ี วและชายแดน
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การบรหิ ารจัดการศึกษา เพ่อื โอกาสและความเสมอภาคท่ีเทา่ เทียม

8

(Situation: ๑. สร้างความเข้าใจรว่ ม : คณะศึกษานเิ ทศก์และเจ้าหนา้ ท่ี ระดับ ศธจ.
S) ๒. สร้างทีมงาน : แต่งต้งั คณะกรรมการทางาน ระดบั ศธจ.
๓. คน้ พบตนเอง : ศึกษาสภาพปัจจบุ นั Google Form
(Plan: P)
๑. การจัดทาศูนย์กลางขอ้ มูลสารสนเทศ นวตั กรรม และการวิจยั ทางการศึกษา
Do: D) ระดบั จังหวดั
Check: C)
Act: C) ๒. การสง่ เสรมิ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรเู้ ก่ยี วกับ
รปู แบบ/แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ การนเิ ทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผล และการบรหิ ารการจัดศึกษา

๓. การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมการพัฒนาการจัดการ
เรยี นรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล และการบรหิ ารการจดั การศึกษา

๔. การสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๑. ประชมุ ชี้แจงโครงการและวางแผนดาเนินโครงการ
๒. นาเสนอผลการศึกษาสภาพปัจจบุ นั
๓. แต่งตั้งคณะทางาน ประกอบด้วย สพป., สพม., สช., กศน. ตชด. ทอ้ งถิ่น

และ พระปริยตั ธิ รรม
๔. กาหนดกลุม่ เป้าหมายหน่วยงานการศึกษาละ ๓ ด้าน ดา้ นละ ๑ คน
๕. ช้ีแจงกรอบแนวทางการดาเนินงาน และเครื่องมือการนเิ ทศ ตดิ ตาม

๑. แตง่ ตัง้ คณะกรรมการนเิ ทศ ติดตามการดาเนินงานนวัตกรรม ประกอบด้วย
คณะศึกษานิเทศก์ ศธจ.เชยี งราย และตัวแทนจาก สพป., สพม., สช., กศน.
ตชด. ท้องถ่ิน และพระปริยตั ิธรรม

๒. แตง่ ตงั้ คณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ กจิ กรรมตาม
โครงการฯ

๑. จดั กจิ กรรมการสะท้อนคิด แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และนาเสนอผลการขบั เคล่อื น
การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา

๒. สรุปและรายงานผลการดาเนินงานโครงการฯ ต่อ ภาคท่ี ๑๖ และสานักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

9

กระบวนกำรขับเคล่ือนโครงกำร Innovation For Thai Education (IFTE)
นวัตกรรมกำรศกึ ษำ เพ่ือพฒั นำกำรศึกษำ ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๔

ขั้นตอนที่ ๑ ศึกษำสภำพปัจจุบนั (Situation: S)

กลมุ่ เปำ้ หมำย คณะศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดเชยี งราย
ระยะเวลำ ๑๘ ม.ค.๖๔
วธิ ีดำเนนิ กำร

๑. รับแนวทางการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
การศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

๒. ประชุมช้ีแจงแนวดาเนินโครงการให้กับคณะศึกษานิเทศก์ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชียงราย

๓. แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานระดับสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั เชียงราย ประกอบดว้ ย
ศึกษานิเทศก์ เพื่อประสานงานกับหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ตามคาส่ังท่ีได้รับ
มอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าที่

๔. ศึกษาสภาพปัจจุบันการดาเนินงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด และหน่วยงานทาง
การศึกษาในจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย ๑) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต
๑ – ๔ ๒) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ๓) สานักงานส่งเสริมการจัดการศึกษา
เอกชน ๔) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เชียงราย ๕)
กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน ๓๒ ๖) สานกั งานส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ เชยี งราย และ
๗) สานักงานพระพุทธศาสนาเชียงราย โดยใช้แบบสารวจออนไลน์ ผ่านแอพลิเคชั่น Google Form
ประเดน็ ที่ศึกษา ดงั น้ี

๔.๑. การจดั ทาข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษาและการวจิ ยั กระบวนการจดั การเรียนรู้
๔.๒. การส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ
แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
๔.๓. การวิเคราะห์ วิจัย แนวทาง การนิเทศ ติดตามและประเมินผล และการบริหารการ
จัดการศึกษาในหน่วยงานทางการศกึ ษาของจังหวัดเชยี งราย
๔.๔. การสรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
๔.๕. การส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐานแต่ละวิชาผา่ นเกณฑเ์ พมิ่ ขนึ้

10

ขน้ั ตอนที่ ๒ วำงแผนกำรเนินงำน (Plan: P)

กลมุ่ เปำ้ หมำย ผูบ้ รหิ ารและบุคลากรในสถานศึกษา และหนว่ ยงานทางการศึกษาในจงั หวัดเชยี งราย
ระยะเวลำ ๒๙ ม.ค.๖๔
วธิ ีดำเนนิ กำร

๑. ประชุมชี้แจงโครงการ และวางแผนดาเนินโครงการ แก่ ผู้บริหาร และบุคลากรหน่วยงาน
ทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย ๑) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย
เขต ๑ – ๔ ๒) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ๓) สานักงานส่งเสริมการจัด
การศึกษาเอกชน ๔) สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเชียงราย ๕)
กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ๓๒ ๖) สานักงานส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถิน่ เชียงราย และ
๗) สานกั งานพระพุทธศาสนาเชยี งราย เพือ่ สรา้ งเครือขา่ ยการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๒. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายนาเสนอภาพรวมของการศึกษาสภาพปัจจุบันการ
ดาเนนิ งานของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด และหน่วยงานทางการศกึ ษ ในจังหวัด

๓. แต่ละหน่วยงานการศึกษานาเสนอผลข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา

๔. แต่งต้ังคณะทางาน ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต
๑ – ๔ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย สานักงานส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเชียงราย กองบัญชาการตารวจ
ตระเวนชายแดน ๓๒ สานักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงราย และ สานักงาน
พระพุทธศาสนาเชียงราย ดังนี้

๔.๑. คณะกรรมการจัดทาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทาง
การศกึ ษาระดับจงั หวดั

๔.๒. คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้
เกี่ยวกับรูปแบบ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล และการ
บริหารการจดั การศกึ ษา

๔.๓. คณะกรรมการคัดเลือกนวัตกรรม การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ
ติดตามและประเมินผลและการบรหิ ารการจดั การศึกษา

๔.๔. คณะกรรมการวิเคราะห์ วิจัยแนวทางการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผล และการบรหิ ารการจัดการศกึ ษา

๔.๕. คณะกรรมการสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
๕. กาหนดกลุ่มเป้าหมาย รับสมัครผู้ร่วมพัฒนาจากหน่วยงานทางการศึกษา ใน ๔ ประเภท
นวัตกรรม ประกอบด้วย นวัตกรรมด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมด้านการนิเทศภายใน
สถานศึกษา นวัตกรรมด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล และ นวัตกรรมด้านการบริหารการจัด

11

การศึกษา ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ – ๔ จานวน ๑๒
คน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย จานวน ๓ คน สานักงานส่งเสริมการจัด
การศึกษาเอกชน จานวน ๓ คน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เชียงราย จานวน ๓ คน กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ๓๒ จานวน ๓ คน สานักงานส่งเสริม
การปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงราย จานวน ๓ คน และ สานักงานพระพุทธศาสนาเชียงราย จานวน ๓
คน รวมทั้งสิ้น จานวน ๓๐ คน เป็นกล่มุ เป้าหมายในการดาเนนิ งาน

๖. ช้ีแจงกรอบแนวทางการดาเนินงาน และเคร่ืองมือการนิเทศ ติดตามการดาเนินงาน ตาม
กรอบแนวทางดาเนินการที่สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษากาหนด ประกอบดว้ ย

๖.๑. การจัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา และการวิจัยกระบวนการจัดการ
เรียนรู้

๖.๒. การส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
รูปแบบ แนวทางการพัฒนาการจัด ด้านการเรียนรู้ ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ด้านการ
นิเทศภายในสถานศึกษา และดา้ นการบรหิ ารการจดั การศกึ ษา

๖.๓. การวิเคราะห์ วิจัยแนวทาง ด้านการเรียนรู้ ด้านการนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผล ดา้ นการนเิ ทศภายในสถานศึกษา และดา้ นการบรหิ ารการจดั การศึกษา

๖.๔. การสรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
๖.๕. การส่งเสริม สนับสนนุ พัฒนา ให้นกั เรียนมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษา
ระดับชาติขัน้ พื้นฐานแตล่ ะวิชาผ่านเกณฑ์เพม่ิ ข้ึน

ข้ันตอนที่ ๓ ดาเนนิ การตามแผน (Do: D)

กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหารและบุคลากรที่รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศในสถานศึกษาและหน่วยงาน
ทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ – ๔
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเชียงราย สานกั งานส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน สานักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเชียงราย กองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน ๓๒ สานักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถ่ินเชียงราย และ สานักงานพระพุทธศาสนา
เชียงราย)
ระยะเวลา ม.ค. – ก.พ. ๖๔
วิธดี าเนนิ การ

๑. การจดั ทาศูนย์กลางขอ้ มลู สารสนเทศนวตั กรรม และการวิจัยทางการศึกษาระดบั จงั หวัด
๑.๑. แต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาศูนยก์ ลางข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทาง

การศึกษาระดับจงั หวดั
๑.๒. รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจัยทางการศึกษา โดยใช้แบบสารวจ

ออนไลน์ ผา่ นแอพลิเคชน่ั Google Form

12

๑.๓. ประชมุ คณะกรรมการจัดทาศูนยก์ ลางข้อมลู สารสนเทศ นวัตกรรม และการวจิ ัยทาง
การศกึ ษาระดับจังหวดั สรุป สงั เคราะห์ และบนั ทกึ ขอ้ มูล

๑.๔. เผยแพร่และนาขอ้ มูลไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
๑.๕. รายงานขอ้ มลู ให้กบั สานักงานศึกษาธกิ ารภาค ๑๖ และหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง
๒. การสง่ เสริมการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ และถ่ายทอดองค์ ความรู้เกยี่ วกบั รปู แบบแนวทาง

การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล และ การบรหิ ารการจดั การศกึ ษา

๒.๑ ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอด
องค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ แนวทางการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
และการบรหิ ารการจดั การศกึ ษา

๒.๑.๑ วิเคราะห์ สังเคราะห์ จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา สภาพปัจจุบันของสถานศึกษาท่ี
เปน็ ลมุ่ เปา้ หมาย

๒.๑.๒ กาหนดวธิ ีการ แนวทางการพัฒนาองคค์ วามรูเ้ กยี่ วกบั การสร้างและ การพฒั นา
นวัตกรรมใหแ้ ก่กล่มุ เปา้ หมาย

๒.๑.๓ กาหนดแนวทางนเิ ทศ ติดตามการการสร้างและการพัฒนานวตั กรรม
๒.๒. นาเสนอกจิ กรรมให้ คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวัดเชียงรายทราบ
๒.๓. ดาเนินการพัฒนาองค์ความรูใ้ หล้ ุม่ เป้าหมาย
๒.๔. กลุม่ เป้าหมายดาเนินการพฒั นานวัตกรรมในสถานศึกษาของตนเอง
๓. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรม การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ
นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การนเิ ทศภายในสถานรศกึ ษา และการบริหารการจดั การศึกษา
๓.๑. ประชุมคณะกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ
ติดตามและประเมินผล และการบริหารการจัดการศึกษาวางแผนการการคัดเลือก นวัตกรรม เพื่อ
กาหนดวธิ ีการ แนวทางและเครอ่ื งมือในการคัดเลือกนวตั กรรม
๓.๒ จัดกิจกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมด้านการพัฒนาการจัด การพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและประเมินผล การนิเทศภายในสถานรศึกษา และการบริหารการจัด
การศึกษา
๓.๓ ประกาศผลการคดั เลือกนวตั กรรมระดับจังหวัด
๓.๔ รายงานผลการคดั เลือกนวตั กรรมใหน้ กั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๖
๓.๕ ประชุมคณะกรรมการวเิ คราะห์ วจิ ยั แนวทางการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ การนิเทศ
ติดตามและประเมินผล การนิเทศภายในสถานรศกึ ษา และการบริหารการจดั การศึกษา

๓.๕.๑ ดาเนินการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วิจยั แนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ การ
นิเทศ ติดตามและประเมินผล การนิเทศภายในสถานรศึกษา และการบริหารการจัด การศึกษา

๓.๕.๒ สรปุ ผลการ สงั เคราะห์ วจิ ยั นวตั กรรม
๓.๖ นาเสนอผลการสังเคราะห์ วิจยั นวัตกรรม ดา้ นการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตาม
และประเมินผล และการบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัด ต่อระดับภาคและ
ระดบั ประเทศต่อไป

13

๔. การสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
๔.๑ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

ประชุมสร้างการรับรู้ สร้างข้อตกลงและรว่ มวางแผน (Partnership agreement & Action planning)
ประกอบด้วย

o ศึกษาธิการจังหวดั เชียงราย
o รองศึกษาธกิ ารจังหวัดเชยี งราย
o ผู้อานวยการกลมุ่ พัฒนาการศึกษา
o ผูอ้ านวยการกลมุ่ นโยบายและแผน
o ตวั แทนจากหนว่ ยงานทงการศึกษา ๑๘ หน่วยงาน
o ผูท้ ชี่ นะเลิศการแข่งขันนวัตกรรมท้งั ๔ ดา้ น
๔.๒ คณะกรรมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
เครอื ขา่ ยรว่ มดาเนนิ งานพัฒนาคุณการศึกษา

ข้นั ตอนท่ี ๔ การตดิ ตาม และตรวจสอบ (Check : C)

กลมุ่ เปา้ หมาย ผูบ้ รหิ าร คณะครูและบคุ ลากรการศึกษาในจงั หวัดเชยี งราย จานวน ๓๐ คน (สานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑–๔ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเชียงราย
สานักงานส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยเชียงราย กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ๓๒ สานักงานส่งเสริมการปกครองส่วน
ท้องถิ่นเชียงราย และ สานกั งานพระพุทธศาสนาเชยี งราย)
ระยะเวลา ก.พ. ๖๔ – ม.ิ ย. ๖๕
วธิ ดี ำเนนิ กำร

๑.๑ แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตาม ประกอบดว้ ย คณะศึกษานเิ ทศก์ สานักงานศึกาธิการ
เชยี งราย และตัวแทนจากหน่วยงานการศกึ ษา

๑.๑.๑ ประชมุ คณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม เพ่ือวางแผนการนิเทศ ปฏิทินการนเิ ทศ
เคร่อื งมือการนิเทศ

๑.๑.๒ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผล ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ
เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จงึ ปรบั รูปแบบกจิ กรรมการดาเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรการ
ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของจังหวัดเชยี งราย โดยใช้รปู แบบการนิเทศแบบออนไลน์ ผ่านแอพลเิ คชั้น
Line Meeting

๑.๑.๓ สรปุ ผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล
๑.๒ แต่งตง้ั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการฯ

๑.๒.๑ กาหนดเครอื่ งมือการติดตามการดาเนนิ กจิ กรรมตามโครงการฯ
๑.๒.๒ ตดิ ตามการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการฯ
๑.๒.๓ สรุปผลการติดตามการดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการฯ

14

ขัน้ ตอนท่ี ๕ ประเมนิ ผล ปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนา (Act: A)

กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรการศึกษาในจังหวัดเชียงราย จานวน ๕๐ คน คน
(สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑–๔ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาเชียงราย สานักงานส่งเสริมการจดั การศึกษาเอกชน สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัยเชียงราย กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ๓๒ สานกั งานส่งเสรมิ การ
ปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงราย และ สานักงานพระพทุ ธศาสนาเชยี งราย)
ระยะเวลา ก.พ. ๖๔ – ม.ิ ย. ๖๕
วิธีดาเนนิ การ

๑. จัดกิจกรรมการสะท้อนคดิ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคลือ่ นโครงการ
Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวตั กรรมการศึกษา เพ่อื พฒั นาการศึกษา ปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔

๑.๑ รายงานสรุปและรายงานผลการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล
๑.๒ รายงานสรปุ ผลการตดิ ตามการดาเนินกจิ กรรมตามโครงการฯ
๑.๓ สะท้อนคดิ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และนาเสนอผลการขบั เคลอื่ นการยกระดบั คณุ ภาพ
การศกึ ษา
๑.๔ กาหนดแนวทางแก้ไขและการพัฒนาต่อยอด
๒. สรุปและรายงานผลการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE )
นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ต่อ สานักงานศึกษาธิการภาค
๑๖ และสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

15

ตตออนนทที่ ี่ ๓๓ ผผลลกกำำรรดดำำเเนนนิ นิ งงำำนน

การดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อ
พัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการ
ตามกิจกรรม แผนงานโครงการ สร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมา
ร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในด้านกระบวนการบริหาร จัดการ ศึกษา
กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา เพ่ือยกระดับคณุ ภาพของผู้เรียนใน
ด้านทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ท้ังนี้มีผลของการดาเนินงาน
ตามลาดับของการดาเนนิ งาน ดังน้ี

ขน้ั ตอนท่ี ๑ ศึกษำสภำพปจั จุบนั (Situation: S)
ขั้นตอนท่ี ๒ วำงแผนกำรเนนิ งำน (Plan: P)

ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน ๓ กิจกรรม และมีผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์
โครงการฯ ข้อที่ ๑ ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการเรยี นรใู้ น
ระดบั จังหวดั และ วตั ถปุ ระสงค์โครงการ ขอ้ ที่ ๒ เครอื ขา่ ยความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ดังน้ี

กิจกรรมที่ ๑. สรำ้ งควำมเข้ำใจร่วม

ดร.ดวงคิด จรเอ้กา ศึกษานิเทศก์ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนามาตราฐานและประกันคุณภาพ
การศึกษา กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย สรุปรายงานการ
ประชุมแนวทางการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
การศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ให้
คณะศึกษานิเทศก์ ในการประชุมของกลุ่มศึกษานิเทศก์สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดเชียงราย เพอ่ื สร้าง
ความเขา้ ใจรับรู้รว่ มกนั

นายวรี ัตน์ สานมุ ิตร ผ้อู านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล ไดร้ ายงานแนวดาเนินการ
โครงการฯ ต่อ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รองศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ผู้อานวยกลุ่มทุกกลุ่ม ใน
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เชยี งราย

กิจกรรมที่ ๒. สรำ้ งทมี งำน
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ดาเนินการ แต่งต้ังคณะทางานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ตามประกาศ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๖ ของ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย เพ่ือสร้างเครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมา
ร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท้ังในด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา
ประกอบด้วย ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รองศึกษาธิการเชียงราย ผู้อานวยกลุ่มทุกกลุ่ม คณะ

16

ศึกษานิเทศก์สานักงานศึกษาธิกาจังหวัดเชียงราย และ บุคคลาการทางการศึกษาจากหน่วยงานทาง
การศึกษา จานวน ๑๐ หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย
เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
เชียงราย กองกากับการตารวจตระเวนชายแดนท่ี ๓๒ สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด
เชียงราย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย และ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดเชียงราย โดยมีหน้าที่ ดาเนินงาน รวบรวม จัดทาศูนย์กลางข้อมูล
สารสนเทศนวัตกรรมและการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตาม
วัตถุประสงค์ ให้สามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ได้ประชุมการขับเคลื่อนการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดผ่านกลไกของคณะกรรมก ารศึกษาธิการจังหวัด

เชียงราย ในวันท่ี กุมภาพันธ์ 2546 ณ ห้องประชุมเรือนหงส์ โรงแรมลักษวรรณรีสอร์ท อาเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย และได้ดาเนินการ สรุป สังเคราะห์ และบันทึกข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม
และการวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดเชียงรายในโครงการ (Innovation for Thai Education :
IFTE) นวัตกรรมการศึกษา ท้ังนี้ได้รับสมัครผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัด เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้
ด้านการพัฒนานวัตกรรม และเป็นต้นแบบนวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ
ด้านการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล

กิจกรรมท่ี ๓. คน้ พบตนเอง
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดดาเนินงานตามกิจกรรมการค้นพบตนเอง โดยแจ้งเป็นหนังสือ
ราชการ ท่ี ศธ ๐๒๖๘/677 เร่ือง การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษา
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ขอความร่วมมือจากหน่วยงานทางการศึกษา จานวน ๑๐
หน่วยงานที่จัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย นาเสนอข้อมูลจาการศึกษาสภาพปัจจุบันของการ

17

ดาเนินงานด้านสารสนเทศ ของหน่วยงานทางการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ระบบออนไลน์ ( Google
Form ) ในการรวบรวมข้อมูล และประชุมช้ีแจงแนวดาเนินโครงการให้กับคณะศึกษานิเทศก์ สังกัด
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั เชยี งราย

๓.๑. แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานโครงการ ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ท่ีได้รับมอบหมายให้ประสานงานกับ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย กองกากับการตารวจตระเวนชายแดนท่ี 32 สานักงานส่งเสริมการ
ปกครองท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดเชียงราย และ สง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั

๓.๒. ดาเนินการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านนวัตกรรมและวิจัยทางการศึกษา จาก ๑๐
หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดเชียงราย กองกากับการตารวจตระเวนชายแดนท่ี 32 สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
จังหวดั เชยี งราย สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดเชยี งราย และ
สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชนจังหวดั

ผลจากการดาเนินงานตามกิจกรรมแผนงานในโครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ข้ันตอนท่ี ๑ ศึกษา
สภาพปจั จบุ ัน (Situation: S) และขน้ั ตอนที่ ๒ วางแผนการเนนิ งาน (Plan: P) มีดงั น้ี

๑. ศูนยข์ อ้ มลู สำรสนเทศด้ำน ผลกำรทดสอบแหง่ ชำติ
เป็นแหล่งศูนย์กลางข้อมูลผลการทดสอบการสอบโอเน็ต O-NET (Ordinary National
Educational Test) นาเสนอข้อมูลสรุปภาพรวมของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ในปี
การศึกษา ๒๕๕๙ ถึงปีการศึกษาปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๖๓) และ ผลการทดสอบการสอบประเมนิ
คุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน ( NT: National Test) การประเมินคุณภาพของการเรียนการสอนใน
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๑ ถงึ ปีการศกึ ษาปจั จบุ นั (ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓)
๒. ศูนยข์ ้อมูลสำรสนเทศทำงกำรศกึ ษำและกำรวจิ ัย กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้
เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล งานวิจัย นวัตกรรมทางการศึกษา ซ่ึงนาเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ออนไลน์ที่สามารถสืบค้นได้ ผ่านเว็บไซต์ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย โดยเครือข่ายความ
ร่วมมือจาก ๑๐ หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ -
๔ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย กอง
กากับการตารวจตระเวนชายแดนท่ี 32 สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย และ ส่งเสริม
การศึกษาเอกชนจังหวัดเชียงราย ร่วมมือในการดาเนินงาน รวบรวม จัดทาเป็นศูนย์กลางข้อมูล

18

สารสนเทศนวตั กรรมและการวจิ ัยทางการศึกษาระดับจงั หวัด เพือ่ ใหค้ รูและบุคคลากรทางการศึกษาได้
ใช้ข้อมูลเพ่ือพัฒนาการศึกษา ซึ่งข้อมูลที่ได้เกิดการการศึกษา วิจัย ในสภาพบริบทที่เหมือน หรือ
คลา้ ยคลงึ บรบิ ทของพ้นื ท่ี ความเช่ือ วิถชี ีวติ และวฒั ธรรม

๒. เครือขำ่ ยควำมร่วมมอื ในกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ
จากการดาเนินในกิจกรรมท้ัง ๓ กิจกรรม ในข้ันตอนท่ี ๑ ศึกษาสภาพปัจจุบัน (Situation: S)

และข้ันตอนท่ี ๒ วางแผนการเนินงาน (Plan: P) สร้างเครือข่ายความร่วมมือของหน่วยงานการศึกษา
ของจังหวัดเชียงราย จานวน ๑๐ หน่วยงานที่จัดการศึกษา ประกอบด้วย สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชยี งราย สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 36 สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั เชยี งราย กองกากบั การตารวจตระเวนชายแดน
ที่ 32 สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย และ ส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดเชียงราย ผู้ร่วม
พัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัด เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือเป็นต้นแบบนวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้
ด้านการบรหิ ารจัดการ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา ดา้ นการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล โดยมีผู้
ร่วมพฒั นานวตั กรรมท้ัง ๔ ด้าน จานวน 52 คน

เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามประกาศของสานักงานศึกษาธิการ
จังหวัดเชียงราย ซ่ึงมีหน้าที่ ดาเนินงาน รวบรวม จัดทาศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศนวัตกรรมและการ
วจิ ัยทางการศกึ ษาระดับจงั หวัด (ภาคผนวก ข หน้า ๔๙ )

19

ข้ันตอนท่ี ๓ ดำเนนิ กำรตำมแผน (Do: D)

ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน 2 กิจกรรม และ มีผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์
โครงการ ข้อที่ ๓ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบ แนวทางการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ดังนี้

กิจกรรมท่ี ๑. กำรดำเนินกำรพฒั นำองคค์ วำมรใู้ ห้ลุม่ เป้ำหมำย
กลุ่มงานพัฒนามาตราฐานและประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม ประเมินผล
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการตามกิจกรรมของโครงการ ในขั้นตอนท่ี ๓
ดาเนินการตามแผน (Do: D) กิจกรรมการดาเนินงาน การส่งเสริมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และ
ถ่ายทอดองค์ ความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล และ การบริหารการจัดการศึกษา สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้จัดดาเนินการ
จัดส่งหนังสือราชการ ท่ี ศธ. ๐๒๖๘/๒๓๘๖ ลงวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เรื่อง การดาเนินการ
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพฒั นาการศึกษาประจาปี
งบประมาณ ๒๕๖๔ ให้ ๑๐ หน่วยงานที่จัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย แจ้งบุคลากรในสังกัดเข้ารับ
การพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบ แนวทางการพัฒนานวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการบริหาร
จัดการ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ได้ปรับรูปแบบการพัฒนาเป็นการ
พฒั นาบุคลากรแกนนา ผ่านระบบออนไลน์ Line Meeting ในวนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔

กลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการพัฒนาองค์ความรู้คร้ังน้ี มีผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัด
สมัครเช้าร่วมเป็นบุคลากรแกนนาการพัฒนานวัตกรรม ใน ๔ ประเภทนวัตกรรรม ซึ่งจะดาเนินงานใน
หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา ท่ผี ้รู ว่ มพัฒนาปฏิบัติหน้าที่อยู่ บนพืน้ ฐานการออกแบบนวัตกรรม
ทม่ี คี วามชัดเจนเปน็ รูปธรรม ทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพสามารถวดั และประเมนิ ผลได้ ตามกรอบเกณฑ์
การคัดเลือกนวัตกรรมท้ัง ๔ ด้าน คือ ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการ
นิเทศภายใน และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล ทั้งน้ีมุ่งผลที่เกิดข้ึนกับผู้เรียนมีคะแนนผลการ
ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑเ์ พ่ิมขึน้

การพัฒนาบุคลากรแกนนาได้จัดดาเนินการ ในวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔ มีผู้สมัครเข้าร่วม
พัฒนานวัตกรรม จาก ๑๐ หนว่ ยงานทจ่ี ดั การศกึ ษาในจังหวัดเชียงราย รว่ มการพฒั นานวตั กรรมทั้ง ๔
ด้าน ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการศึกษา จานวน 8 นวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน 13
นวัตกรรม ด้านการนิเทศภายใน จานวน 7 นวัตกรรม และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล
จานวน 7 นวัตกรรม รวมทั้งหมด จานวน 35 นวัตกรรม ทุกนวัตกรรมมีเป้าหมายในการดาเนินงาน
เพ่ือ พัฒนาส่งเสริม สนับสนุน ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
แต่ละวชิ าผ่านเกณฑ์เพิ่มข้ึน ในทุกนวตั กรรมท่ดี าเนินการ

20

กิจกรรมที่ ๒. ดำเนินกำรจัดประชุมคณะกรรมกำรดำเนินงำนส่งเสริมกำรพัฒนำกำร
จัดกำรเรยี นรู้

กลุ่มงานพัฒนามาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดเชยี งราย ได้ดาเนนิ งานการจัดประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งานสง่ เสริมการ
พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วยศกึ ษานเิ ทศก์สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย
เขต ๑ – ๔ ศึกษานิเทศก์สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ศึกษานิเทศก์สานักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย นักวิชาการศึกษาสานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย นักวิชาการศึกษาสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด
เชียงราย และ ตารวจนิเทศกองกากับการตารวจตระเวนชายแดนท่ี 32 การประชุมได้ดาเนินการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาสภาพของสถานศึกษาที่เป็นลุ่มเป้าหมาย และกาหนด
วิธีการ แนวทางการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างและ การพัฒนานวัตกรรม แนวทางการนิเทศ
ติดตาม การการสร้างและการพัฒนานวัตกรรม ให้แก่ ผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัด และ
ถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับรูปแบบแนวทางการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ การนิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผลและการบรหิ ารการจัดการศกึ ษา

เนื่องจากการดาเนินงานโครงการ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (COVID-19) จึงปรับรูปแบบกิจกรรมการดาเนินงานให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันการ
แพร่ระบาดของจังหวัดเชียงราย ได้นาส่งหนังสือราชการเพื่อให้คณะกรรมการเข้าร่วมการประชุม ท่ี
ศธ ๐๒๖๘/ 2080 ลงวันที่ 18 มิถุนายน ๒๕๖๔ เชิญคณะกรรมการดาเนินงานรายช่ือตามประกาศ

21

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย เข้าร่วมประชุมออนไลน์ Line meeting ในวันที่ ๒๑ มิถุนายน
๒๕๖๔ เพ่ือรับทราบและร่วมวางแผนการดาเนนิ งานส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอด
องค์ความรู้ เกยี่ วกับรูปแบบ แนวทางการพัฒนา

ขัน้ ตอนท่ี ๔ กำรตดิ ตำม และตรวจสอบ (Check : C)

ประกอบดว้ ยกิจกรรม จานวน ๓ กจิ กรรม มผี ลการดาเนนิ งาน ดังน้ี

กิจกรรมทื่ ๑ แต่งตั้งคณะกรรมกำรนเิ ทศ ตดิ ตำม กำรนิเทศ ตดิ ตำมผลกำรดำเนินงำน
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายจึงออกประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม
บุคลากรนาร่องพัฒนานวัตกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การบริหารจัดการศึกษา การนิเทศ
ภายในสถานศึกษา และการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ผ่านระบบออนไลน์ ดูแลและช่วยเหลือ
ตลอดจนเพื่อสร้างขวัญกาลังใจ ซึ่งประกอบด้วยคณะนิเทศจาก ๑๐ หน่วยงานทางการศึกษา
ประกอบด้วย สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดเชยี งราย สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย
เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย สานักงานท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย สานักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย กองกากับการตารวจตระเวนชายแดน ที่ ๓๒ และกลุ่มส่งเสริม
การศกึ ษาเอกชนจงั หวดั เชียงราย

กจิ กรรมที่ ๒ กำรดำเนินกำรประชุมคณะกรรมกำรนิเทศ ตดิ ตำม
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ตาม
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการนเิ ทศ ตดิ ตาม บคุ ลากรนารอ่ งพัฒนานวตั กรรม ของสานักงานศึกษาธิการ
จังหวัดเชียงราย ลงวันท่ี ๒ สิงหาคม 2564 ในแต่ละประเภทนวัตกรรมท้ัง ๔ ประเภท คือ การจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอน การบรหิ ารจัดการศกึ ษา การนเิ ทศภายในสถานศึกษา และการนิเทศ ตดิ ตาม
และประเมินผล เพื่อวางแผนการนิเทศ กาหนดปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จัดทา
เครอ่ื งมอื การนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล ทัง้ ๔ ประเภทนวัตกรรม

กิจกรรมทที่ ๓ กำรนเิ ทศ ติดตำม
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงรายได้ดาเนินกิจกรรมการนิเทศติดตาม การพัฒนานวัตกรรม
โดยนาสง่ หนงั สอื ราชการ ที่ ศธ ๐๒๖๘/๒๗๑๔ ลงวนั ท่ี ๒ สงิ หาคม ๒๕๖๔ เรอื่ ง กาหนดการการนเิ ทศ
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา
ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชยี งราย ท้ังน้ีได้แนบเอกสาร ๑.)ประกาศ
แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม บุคลากรนาร่องพัฒนารูปแบบ แนวทางการพัฒนา การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน การบริหารจัดการศึกษา การนิเทศภายในสถานศึกษา และการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล ๒.)ปฏทิ ินการนเิ ทศออนไลน์

22

การดาเนินงานนเทศติดตามในครั้งน้ีได้ปรับรูปแบบการนิเทศ ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เป็นการนิเทศแบบออนไลน์ โดยได้จัด
ดาเนนิ การนเิ ทศ ในวนั ท่ี ๙ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการนิเทศ เพ่อื เป็นการติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานความก้าวหน้าของผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรม เคร่ืองมือท่ีใช้ในการนิเทศครั้งนี้
คือ แบบนิเทศติดตามผลการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม
การศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซ่ึงมีคณะกรรมการร่วมเปน็ ผนู้ ิเทศ
นิเทศจาก ๑๐ หน่วยงานทางการศึกษาร่วมเปน็ คณะกรรมการ ผู้รับการนิเทศประกอบด้วย ผู้สมคั รเข้า
ร่วมเป็นบุคลากรแกนนาการพัฒนานวัตกรรม ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการศึกษา จานวน 8
นวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน 13 นวัตกรรม ด้านการนิเทศภายใน จานวน 7 นวัตกรรม
และด้านการนิเทศติดตามและประเมนิ ผล จานวน 7 นวตั กรรม รวมท้ังหมด 35 นวตั กรรม

ขนั้ ตอนที่ ๕ ประเมนิ ผล ปรับปรงุ แก้ไขและพัฒนำ (Act: A) กำรสะท้อนคิด แลกเปลยี่ น
เรยี นรู้

ประกอบด้วยกจิ กรรม จานวน ๓ กิจกรรม มีผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์โครงการ
ข้อที่ ๔ การ วิเคราะห์ วิจัยแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริหารการจัดการศึกษาใน
ระดับจังหวัด วัตถุประสงค์ ข้อท่ี ๕ การส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน แตล่ ะวชิ าผา่ นเกณฑ์เพิ่มขน้ึ ดงั นี้

กจิ กรรมที่ ๑ กำรคดั เลอื กนวัตกรรม
๑.๑ แต่งต้ังคณะกรรมการคัดเลือกนวตั กรรมการศึกษา สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย
ได้ดาเนินการจัดทาประกาศของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการ

23

คัดเลือกนวัตกรรมการศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ การบริหารการศึกษา การนิเทศ ลงวันท่ี วันที่ ๑๓
เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชียงราย ได้ขอความอนุเคราะห์ ผู้ทรงคุณวุฒิ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย จานวน ๓ ท่าน คือ
รศ.ดร.ไพโรจน์ ดว้ งนคร รองอธิการบดีด้านการจดั การศึกษา ผศ.ดร.สุทศั น์ คล้ายสวุ รรณ์ รองอธิการบดี
ดา้ นพัฒนานักศึกษา ศลิ ปวฒั นธรรม รองอธกิ ารบดีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฯ และ ผศ.ดร.จารัส กล่ิน
หนู และศึกษานิเทศก์ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จานวน ๖ ท่าน ร่วมเป็นคณะกรรมการ
คดั เลือกนวตั กรรมการศึกษา

๑.๒. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จัดดาเนินการประชุมคณะกรรมการคัดเลือก
นวัตกรรม ในวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมเรือนหงส์ โรงแรมลักษวรรณรีสอร์ท โดยมี
นายอภิวฒั กนั ศรเี วยี ง รองศึกษาธิการจงั หวัดเชยี งราย เป็นประธานในการประชมุ คณะกรรมการ ทัง้ น้ี
มผี ้รู ่วมพฒั นานวัตกรรมสง่ ผลงานเข้ารว่ มคัดเลือกเป็นต้นแบบระดับจังหวัด แบง่ ตามประเภทนวัตกรรม
จาก ๑๐ หนว่ ยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย จานวน ๒๓ นวัตกรรม คือ ดา้ นการจัดการเรียนรู้
จานวน ๑๑ นวัตกรรม การบรหิ ารการศกึ ษา จานวน ๔ นวัตกรรม การนิเทศภายในสถานศึกษา จานวน
๓ นวัตกรรม และ ด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ๕ นวัตกรรม คณะกรรมการคัดเลือกผลงาน
นวัตกรรมตามได้ร่วมกันวางแผนการการคัดเลือกนวัตกรรม กาหนดวิธีการ แนวทาง เครื่องมือในการ
ประเมนิ ผลงาน

๑.๓. ดาเนนิ การคัดเลอื ก
๑.๓.๑. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินงานตามแผนงานโครงการ

ตามลาดบั ของ ข้นั ตอนที่ ๕ ประเมนิ ผล ปรับปรุง แกไ้ ขและพัฒนา (Act: A) การสะท้อนคดิ แลกเปล่ยี น
โดยแจ้งกาหนดการคัดเลือกนวัตกรรมทางการศึกษา ให้บุคลากรแกนนาพัฒนานวัตกรรม ท้ัง ๑๐
หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ผ่านระบบงานสารบัญรับส่งเอกสานทางราชการ นาส่ง
หนังสือราชการ ท่ี ศธ ๐๒๖๘/ว ๒๙๕๙ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ให้บุคลากรแกนนาส่งรายงาน
ผลการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา พร้อมวีดีทัศน์นาเสนอผลงาน มายังกลุ่มนิเทศติดตามและ
ประเมนิ ผล สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดเชยี งราย ในวันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ เพือ่ ให้คณะกรรมการ
ประเมนิ คดั เลอื กผลงาน

๑.๓.๒. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการคัดเลือกนวัตกรรมการศึกษา
จากผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมท่ีส่งผลงานเข้าร่วมคัดเลือก จาก ๑๐ หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวัด
เชียงราย คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน ๑๑ นวัตกรรม ด้านการบริหารการศึกษา จานวน ๔
นวัตกรรม ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา จานวน ๓ นวัตกรรม และ ด้านการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมนิ ผล จานวน ๕ นวตั กรรม รวมท้งั สิ้น จานวน ๒๓ นวัตกรรม

24

ภายไต้ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ได้ปรับกิจกรรมการคัดเลือก จากรูปแบบการประเมินจากผลงานดาเนินงานของผู้เข้าร่วมพัฒนา
นวัตกรรมในโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนา
การศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงกาหนดให้มีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของผู้ร่วมพฒั นา
ปรับกิจกรรมเป็นการประเมินผลงานจากรายงานการพัฒนานวัตกรรม และ นาเสนอผลงานพัฒนา
นวัตกรรมในรูปแบบวิดีทัศน์ โดยทาการประเมินคัดเลือกผลงานในวันท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้อง
ประชมุ เรือนหงส์ โรงแรมลักษวรรณรีสอร์ท อาเภอเมอื งเชียงราย จงั หวดั เชยี งราย

กจิ กรรมทื่ ๒ ประกำศผลกำรคดั เลือก
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการคัดเลือกนวัตกรรม ใน ๔ ประเภท
นวัตกรรม คือ ด้านการจัดการเรยี นรู้ การบริหารการศึกษา การนิเทศภายในสถานศึกษา และ ด้านการ
นิเทศ ติดตาม และประเมินผล หลังดาเนินงานเสร็จสิ้นเเรียบร้อยแล้ว ได้นาส่งหนังสือราชการ ที่ ศธ
๐๒๖๘/ว๓๐๖๓ ลงวันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔ เรื่อง ประกาศผลการคัดเลอื กนวตั กรรมการศึกษา เพื่อ
พัฒนาการศึกษาประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย แจ้ง ๑๐
หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวดั เชียงราย มีผลการคดั เลอื ก ดงั น้ี

25

ประเภทนวตั กรรม ด้านการจัดการเรียนรู้

๑ วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ เกศยา กล้าณรงค์ สพป.ชร. เขต ๒ ชนะเลศิ อันดับ ๑

๒ นายอดุ ร แกว้ เลศิ สพป.ชร. เขต ๑ รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑

๓ นางสาวกฤตณิ า จนิ ธะนู กศน.จงั หวัดเชยี งราย รองชนะเลิศ อนั ดับ ๒

๔ ด.ต.วีรชัย คาแก้ว กก.ตชด.๓๒ ชมเชย

๕ นางสาวศริ ิมาศ หมูกอ้ น สพป.ชร. เขต ๔ ชมเชย

๖ นางวาสนา ศรที า สนง.ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวดั เชียงราย ชมเชย

๗ นางสาวจุฑามาศ พุทธรกั ษา สนง.ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จังหวดั เชียงราย ชมเชย

๘ นางเกศราพรรณ พนั ธศ์ุ รเี กตุ สนง.สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ชมเชย

๙ นางสาวภรณท์ ิพย์ วงศท์ ิพย์ สนง.ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ชมเชย

๑๐ นางสาวเกสร นามดี สนง.สง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ชมเชย

๑๑ นางสาวชัชญาณนิ ท์ ขดั สทุ ะ สนง.สง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ชมเชย

ประเภทนวัตกรรม ด้านการบริหารจัดการ

๑ นางอจั ฉราภรณ์ บวั นวล สพป.ชร. เขต ๑ ชนะเลิศ อนั ดบั ๑
รองชนะเลิศ อนั ดับ ๑
๒ นายประกอบ สนมฉ่า สพป.ชร. เขต ๒ รองชนะเลิศ อนั ดบั ๒
ชมเชย
๓ นายสรุ ยิ า สมฤทธิ์ สพป.ชร เขต ๔

๔ นางสมหมาย ดที ิพย์ กศน.จงั หวดั เชยี งราย

ประเภทนวตั กรรม ด้านการนิเทศภายในสถานศกึ ษา

๑ นางศริ ริ ัตน์ เขือนขา่ ย สพป.ชร เขต ๒ ชนะเลศิ อันดับ ๑
รองชนะเลิศ อันดับ ๑
๒ นางวาสนา หาญจริง สนง.ปกครองสว่ นท้องถิ่นจังหวดั เชียงราย รองชนะเลศิ อันดบั ๒

๓ นางสาวศรานนั ท์ มีหวงั กศน.จังหวัดเชียงราย

ประเภทนวตั กรรม ด้านการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

๑ นางสาวประภสั สร ฟงั ชา้ สพป.ชร เขต ๔ ชนะเลศิ อันดบั ๑

๒ นางณภัทร นวลจนี สพป.ชร เขต ๒ รองชนะเลศิ อันดบั ๑

๓ นางนภสร ใจอิ่นคา กศน.จงั หวดั เชยี งราย รองชนะเลศิ อนั ดับ ๒

๔ นางธัญญรัตน์ คาสรุ นั ทร์ สนง.ปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย ชมเชย

๕ นายปกรณ์ พนั สุภะ สนง.พระพุทธศาสนาจังหวดั เชียงราย ชมเชย

26

กจิ กรรมที่ ๓ รำยงำนผลกำรคดั เลือกนวัตกรรมให้นักงำนศึกษำธกิ ำรภำค
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการสรุปผลการ สังเคราะห์ผลการคัดเลือก
นวัตกรรม ใน ๔ ประเภท นวัตกรรม คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการบริหารการศึกษา ด้านการ
นิเทศภายในสถานศึกษา และ ดา้ นการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ในระดับจงั หวัดพร้อมทั้งนาเสนอ
ผลการคัดเลือก และจัดส่งผลงานของผูไ้ ด้รับการคัดเลอื กเป็นต้นแบบการพัฒนานวตั กรรมระดับจงั หวดั
ให้ศึกษาธิการภาร ภาค ๑๖ ดาเนินการคดั เลอื กในระดับภาค และระดบั ประเทศ
ผลการคัดเลือกนวัตกรรมในระดับภาค ตามประกาศของสานักงานศึกษาธิการภาค ๑๖ ได้ซ่ึงมี
นวัตกรรม ท้ัง ๔ ประเภทนวัตกรรมท่ีได้รับรางวัลชนะเลิศระดับสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ และ จังหวัดน่าน เข้ารับการคัดเลือกเป็น
ผลงานระดับภาค ซงึ่ มผี ลการคัดเลือกนวัตกรรมระดับภาค ใน ๔ ประเภทนวตั กรรม ได้รบั รางวลั ดังนี้

๑. รำงวัล ระดับดมี ำก อันดับ ๑ ดำ้ นกำรบริหำรกำรศกึ ษำ
นางอจั ฉราภรณ์ บัวนวล
โรงเรยี นบ้านปางคึก สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถศึกษาเชยี งราย เขต ๑
นวัตกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ FIVE MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนบ้านปางศกึ
๒. รำงวัลระดับดเี ย่ยี ม อันดบั ๑ ด้ำนกำรจัดกำรเรยี นรู้
วา่ ที่ ร.ต.หญิง เกศยา กล้าณรงค์
โรงเรยี นชมุ ชนบ้านสนั จาปา สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต ๒
นวัตกรรม CAT KSY MODEL ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ พิชติ วทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยสะเต็มศกึ ษา
๓. รำงวัล ระดบั ดเี ยยี่ ม อันดบั ๑ ด้ำนกำรนเิ ทศภำยในสถำนศกึ ษำ
นางศริ ิรตั น์ เขอื นขา่ ย
โรงเรยี นทา่ ก๊อพลบั พลาพิทยา สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต ๒
นวตั กรรมรปู แบบและแนวทางการนิเทศภายใน TAKOE S MODEL & PIDRER
๔. รำงวลั ระดับดี อนั ดบั ๑ ด้ำนกำรนเิ ทศ ติดตำมและประเมนิ ผล
นางสาวประภัสสร ฟังช้า
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถศึกษาเชียงราย เขต ๓
นวัตกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบร่วมคิดพาทา
ด้วยรูปแบบ 7TQ&S Supervision Approach (7 steps To Quality of Education & Smart Area
Supervision Approach)

27

กิจกรรมที่ ๔ กำรสะท้อนคดิ แลกเปลีย่ นเรียนรู้
มีผลการดาเนินงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ข้อที่ ๕ การส่งเสริม สนับสนุน
พัฒนา ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์
เพิ่มข้นึ ดังนี้
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ดาเนินการตามแผนงานโครงการ จัดกิจกรรมการสะท้อน
คิด แลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษา จัดดาเนินการ
ธุรการหนังสือราชการท่ี ศธ ๐๒๖๘/๓๒๓๗ ลงวันท่ี ๖ กันยายน ๒๕๖๔ เร่ือง การประชุมถอด
ประสบการณ์ สะท้อนคิด แลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคล่ือนการยกระดับ คุณภาพ
การศกึ ษา (IFTE) ประสานงาน ๑๐ หนว่ ยงานทีจ่ ดั การศึกษาในจังหวดั เชียงราย เขา้ รว่ มการประชุมถอด
ประสบการณ์สะท้อนคิด แลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาพร้อมการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการคัดเลือกนวัตกรรม
ระดับจังหวัด ๔ ประเภทนวัตกรรม คือ ๑.)ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๓.)ด้านการบริหาร
การศึกษา ๒.)ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา และ ๔.)ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมินผล พร้อม
ทั้งมอบโล่ เงนิ รางวลั และเกยี รติบตั ร ใหก้ ับผู้ไดร้ ับรางวลั ในวันที่ ๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๔
จากการดาเนนิ งานตามกจิ กรรม หนว่ ยงานทางการศึกษา บคุ ลากรทางการศึกษา บุคลากรแกน
นาพัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัด เกิดองค์ความรู้จากการแลกเปลี่ยน ร่วมแสดงความคิดเห็น และ
ถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ วิจัยแนวทาง
การนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล การบิหารการศกึ ษา และการนเิ ทศภายในสถานศึกษา เพือ่ ขับเคล่ือน
การยกระดับคุณภาพการศึกษา กาหนดแนวทางแก้ไขและการพัฒนาต่อยอด ในการดาเนินงานในครั้ง
ตอ่ ไป

28

ตตออนนทที่ ่ี๔๔ สสรรุปุปผผลลปปญั ญั หหำำแแลละะขขอ้ อ้ เเสสนนออแแนนะะ

การดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อ
พัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อสร้างศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ในระดับจังหวัด ส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบ
แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ วิจัยแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การ
บรหิ ารการจดั การศึกษา การนิเทศภายในสถานศกึ ษา สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น
พ้นื ฐาน แต่ละวิชาผ่านเกณฑเ์ พิ่มขนึ้

การดาเนินงานคร้ังนี้ ผู้รับผิดชอบโครงการได้ใช้กระบวนการ SPDCA ประกอบไปด้วย ๕
ขั้นตอน (Situation : Plan : Do : Check : Act ) หรือ ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั วางแผน ปฏบิ ัติ ตรวจสอบ
ปรับปรุง เป็นกระบวนการท่ีใช้ปรับปรุงการทางานขององค์กรอย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าหมายเพ่ือ
แกป้ ัญหาและเกดิ การพฒั นาอย่างต่อเน่ือง และกล่มุ เปา้ หมายของโครงการน้ีคอื ผู้บริหาร และบุคลากร
หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดเชียงราย โดยมีผู้สมัครเข้าร่วมพัฒนานวัตกรรมท้ัง ๔ ประเภท ด้านการ
บริหารจัดการศึกษา จานวน ๘ นวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน ๑๓ นวัตกรรม ด้านการ
นิเทศภายใน จานวน ๗ นวัตกรรม และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล จานวน ๗ นวัตกรรม
รวมท้ังหมด จานวน ๓๕ นวัตกรรม ทุกนวัตกรรมมีเป้าหมายในการดาเนินงาน เพื่อ พัฒนาส่งเสริม
สนับสนุน ให้นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์
เพิม่ ข้ึน ในทุกนวัตกรรมท่ดี าเนนิ การ

การพัฒนาบุคลากรแกนนาการพัฒนานวัตกรรม จากหน่วยงานการศึกษาในจังหวัดเชียงราย
โดยมีเนื้อหาในการพัฒนาการพัฒนาองค์ความรู้ เก่ียวกับ รูปแบบ แนวทางการพัฒนานวัตกรรม ด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา ด้านการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล ได้ปรับรูปแบบการพัฒนาเป็นการพัฒนาบุคลากรแกนนา ผ่านระบบออนไลน์ ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ๑) แบบนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงานโครงการ
Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และ ๒) แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม ๓) เกณฑ์การคัดเลือกนวัตกรรม
โดยการนิเทศ ติดตาม และเก็บข้อมูลในรูปแบบออนไลน์ ผ่านทางแอพพลิเคช่ันไลน์ (LINE Meeting)
จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-mail) และแบบเก็บขอ้ มูล google from

29

การดาเนินการคัดเลือกนวัตกรรมระดับจังหวัด ดาเนินการคัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือก
นวัตกรรมจากผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และคณะกรรมการจากศึกษานิเทศก์
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย นาเสนอผลการคัดเลือกต่อสานักงานศึกษาธิการภาค ๑๖ และ
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สรสุปรผปุ ลผกลำกรำดรำดเนำเินนงนิ ำงนำน
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา

ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั เชยี งราย มผี ลการดาเนินงาน ดังนี้

ข้ันตอนท่ี ๑ กำรศึกษำสภำพปจั จบุ ัน (Situation :S)
ขน้ั ตอนที่ ๒ กำรวำงแผน (Plan : P)
ประกอบดว้ ยกิจกรรม ๓ กจิ กรรม ดังนี้

กิจกรรมท่ี ๑. สร้างความเข้าใจร่วม นาเสนอแนวทางการดาเนินงานโครงการ Innovation For
Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ต่อ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รองศึกษาธิการเชียงราย ผู้อานวย
กลมุ่ ทกุ กลุม่ ศกึ ษานเิ ทศก์ และบุคลากรของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เชยี งราย

กิจกรรมที่ ๒. สร้างความเข้าใจร่วม สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้แต่งต้ัง
คณะทางานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด เพื่อสร้างและ
พฒั นาเครือขา่ ยความรว่ มมือของบุคลากรในทุกหนว่ ยงานทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ ๓. ค้นพบตนเอง จัดทาข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และงานวิจัยทางการศึกษา
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย รวบรวมข้อมูลสารสนเทศจาก ๑๐ หน่วยงานการศึกษาที่จัด
การศึกษาในจังหวัดเชียงราย โดยใช้รูปแบบออนไลน์ ( Google Form ) ในการรวบรวมข้อมูล แต่งตั้ง
คณะกรรมการดาเนนิ งานโครงการ

จากการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการ ข้อที่ ๑ ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทาง
การศึกษาและการวจิ ยั กระบวนการจัดการเรียนรใู้ นระดบั จงั หวัด และ ข้อที่ ๒ เครอื ข่ายความร่วมมือใน
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ดังน้ี

๑. ศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาและการวิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ในระดับ
จงั หวดั ประกอบดว้ ย

๑.๑. ศูนยข์ ้อมูลสารสนเทศ ดา้ นผลการทดสอบ
๑.๒. ศนู ย์ขอ้ มูลสารสนเทศทางการศกึ ษา

30

ขน้ั ตอนท่ี ๓ ดำเนินกำรตำมแผน (Do: D)
ประกอบด้วยกิจกรรม จานวน 2 กิจกรรม และมีผลการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์
โครงการ ข้อที่ ๓ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ รูปแบบ แนวทางการ
พฒั นาการจดั การเรียนรู้ ดงั นี้

กิจกรรมที่ ๑. การดาเนินการพัฒนาองค์ความร้ใู ห้ลุ่มเป้าหมาย สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชยี งราย ไดด้ าเนนิ การส่งเสริมพฒั นาการ และถา่ ยทอดองค์ ความรูเ้ กย่ี วกบั รูปแบบ และ แนวทางการ
พัฒนานวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา ด้าน
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (COVID-19) ไดป้ รบั รปู แบบการพฒั นาเป็นการพัฒนาบุคลากรแกนนา ผ่านระบบออนไลน์

กลุ่มเป้าหมายดาเนินการพัฒนาองค์ความรู้ คือ ผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมจากทุกสังกัดใน
หน่วยงานทางการศึกษา ๑๐ หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ร่วมการพัฒนานวัตกรรมทั้ง
๔ ด้าน ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการศึกษา จานวน 8 นวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน 13
นวัตกรรม ด้านการนิเทศภายใน จานวน 7 นวัตกรรม และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล
จานวน 7 นวัตกรรม รวมท้ังหมด จานวน 35 นวตั กรรม

กิจกรรมท่ี ๒. ดาเนินการจัดประชุมคณะกรรมการดาเนินงานส่งเสริมการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ ประกอบด้วยศึกษานิเทศก์สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ – ๔
ศึกษานิเทศก์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ศึกษานิเทศก์สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเชียงราย นักวิชาการศึกษาสานักงานพระพุทธ
ศาสนาจังหวัดเชียงราย นักวิชาการศึกษาสานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย และ
ตารวจนิเทศกองกากับการตารวจตระเวนชายแดนที่ 32 ดาเนินการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ จุดเด่น จุดที่
ควรพัฒนา สภาพของสถานศึกษาท่ีเป็นลุ่มเป้าหมาย และกาหนดวิธีการ แนวทางการพัฒนาองค์
ความรู้เกี่ยวกับการสร้างและ การพัฒนานวัตกรรม แนวทางการนิเทศ ติดตาม การการสร้างและการ
พัฒนานวัตกรรม ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการดาเนินงานให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของจังหวัด
เชียงราย โดยจัดดาเนนิ การประชุมแบบออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชัน Line meeting

ขน้ั ตอนที่ ๔ กำรติดตำม และตรวจสอบ (Check : C)
ประกอบดว้ ยกจิ กรรม จานวน ๓ กจิ กรรม มีผลการดาเนินงานดังนี้

กิจกรรมที่ ๑ แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และผล การดาเนินงานโครงการ บุคลากร
นาร่องพัฒนานวัตกรรม ผ่านระบบออนไลน์ เพ่ือ ติดตาม ดูแลและช่วยเหลือ ตลอดจนเพื่อสร้างขวัญ
กาลังใจ ให้การพัฒนานวัตกรรม มีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงประกอบด้วยคณะ

31

นิเทศจาก ๑๐ หน่วยงานทางการศึกษา คือ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ - ๔ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
สานักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดเชียงราย สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเชียงราย กองกากับการตารวจตระเวนชายแดน
ท่ี ๓๒ และ กลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดเชียงราย สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดเชยี งราย

กิจกรรมที่ ๒ การประชุมคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม เพื่อวางแผนการนิเทศ กาหนดปฏิทิน
การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล จัดทาเคร่ืองมือการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ทั้ง ๔ ด้าน คือ
ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการนิเทศภายใน และด้านการนิเทศติดตาม
และประเมนิ ผล

กิจกรรมที่ ๓ การนิเทศ ติดตาม บุคลากรนาร่องพัฒนานวัตกรรม การดาเนินงานในครั้งน้ีได้
ปรับรูปแบบการนิเทศ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-
19) เป็นการนิเทศแบบออนไลน์ โดยได้จัดดาเนินการ ในวันท่ี ๙ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ เคร่ืองมือท่ีใช้
ในการนิเทศ ในคร้ังนี้คือ แบบนิเทศติดตามผลการดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai
Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งมี
คณะกรรมการร่วมเป็นผู้นิเทศนิเทศจาก ๑๐ หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ร่วมเป็น
คณะกรรมการนนิเทศ ผู้รับการนิเทศประกอบด้วย บุคลากรแกนนาร่วมการพัฒนานวตั กรรม ด้านการ
บริหารจัดการศึกษา จานวน ๘ นวัตกรรม ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน ๑๓ นวัตกรรม ด้านการ
นิเทศภายใน จานวน ๗ นวัตกรรม และด้านการนิเทศติดตามและประเมินผล จานวน ๗ นวัตกรรม
รวมท้งั หมด จานวน ๒๕ นวัตกรรม

ขั้นตอนท่ี ๕ ประเมนิ ผล ปรับปรุง แก้ไขและพัฒนำ (Act: A) กำรสะท้อนคดิ แลกเปลีย่ น
เรียนรู้

ประกอบดว้ ยกิจกรรม จานวน ๓ กิจกรรม มผี ลการดาเนินงานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์โครงการ
ขอ้ ท่ี ๔ การ วิเคราะห์ วิจยั แนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การบรหิ ารการจดั การศึกษาใน
ระดบั จังหวดั วตั ถุประสงค์ ข้อที่ ๕ การสง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นา ใหน้ ักเรยี นมคี ะแนนผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน แต่ละวิชาผา่ นเกณฑ์เพ่ิมขนึ้ ดังนี้

กิจกรรมท่ี ๑ การคัดเลือกนวัตกรรม สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ แต่งตั้ง
คณะกรรมการคัดเลือกนวตั กรรมการศกึ ษา ได้รบั ความความอนุเคราะห์จาก ผทู้ รงคณุ วุฒิ มหาวิทยาลัย
ราชภัฎเชียงราย จานวน ๓ ท่าน คือ รศ.ดร.ไพโรจน์ ด้วงนคร รองอธิการบดีด้านการจัดการศึกษา ผศ.
ดร.สุทัศน์ คล้ายสุวรรณ์ รองอธิการบดีด้านพัฒนานักศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ผศ.ดร.จารัส กล่ินหนู รอง

32

อธิการบดีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฯ และ และคณะศึกษานิเทศก์ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชียงราย จานวน ๖ ทา่ น ร่วมเป็นคณะกรรมการคัดเลือกนวัตกรรมการศกึ ษา

ดาเนินการประชุมคณะกรรมการคัดเลือกนวัตกรรม ในวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้อง
ประชุมเรอื นหงส์ โรงแรมลกั ษวรรณรีสอร์ท อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชยี งราย โดยมีรองศกึ ษาธิการ
จงั หวดั เชยี งราย นายอภวิ ัฒ กนั ศรีเวยี ง เปน็ ประธานในการประชุมคณะกรรมการ ทงั้ นม้ี ีผูร้ ว่ มพัฒนา
นวัตกรรมส่งผลงานเข้าร่วมคัดเลือกเป็นต้นแบบระดับจังหวัด แบ่งตามประเภทนวัตกรรม จาก ๑๐
หน่วยงานทจี่ ดั การศกึ ษาในจงั หวดั เชียงราย คณะกรรมการไดร้ ว่ มกนั วางแผนการการคัดเลือกนวตั กรรม
กาหนดวิธีการ แนวทางพร้อมท้งั เคร่ืองมือในการประเมนิ ผลงาน

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการคัดเลือกนวัตกรรมการศึกษา จากผู้ร่วม
พัฒนานวัตกรรมที่ส่งผลงานเข้าร่วมคัดเลือก จาก ๑๐ หน่วยงานที่จัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย คือ
ด้านการจัดการเรียนรู้ จานวน ๑๑ นวัตกรรม ด้านการบริหารการศึกษา จานวน ๔ นวัตกรรม ด้าน
การนิเทศภายในสถานศึกษา จานวน ๓ นวัตกรรม และ ดา้ นการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล จานวน
๕ นวัตกรรม รวมทั้งส้ิน จานวน ๒๓ นวัตกรรม เคร่ืงมือท่ีใช้ครั้งนี้ คือ แบบประเมินนวัตกรรม ท้ังนี้ได้
ปรับรูปแบบการประเมิน ภายไต้ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) ซึ่งกาหนดให้มีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของผู้ร่วมพัฒนา ปรับเปลี่ยนเป็นการ
ประเมินผลงานจากรายงานการพัฒนานวัตกรรม และ นาเสนอผ่านวีดิทัศน์ ในวันท่ี ๒๓ สิงหาคม
๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมเรอื นหงส์ โรงแรมลกั ษวรรณรีสอร์ท อาเภอเมืองเชียงราย จงั หวดั เชียงราย

กิจกรรมท่ี ๒ ประกาศผลการคัดเลือก สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการ
ประกาศผลคัดเลือกนวัตกรรมระดับจังหวัด ใน ๔ ประเภท นวัตกรรม คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ การ
บริหารการศึกษา การนิเทศภายในสถานศึกษา และ ด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล มีผลการ
คดั เลอื ก ดังน้ี

ชนะเลศิ อนั ดับ ๑ ประเภทนวตั กรรม ด้านการจดั การเรียนรู้
วา่ ที่ ร.ต.หญงิ เกศยา กล้าณรงค์
โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสันจาปา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๒
นวตั กรรม CAT KSY MODEL ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ พชิ ิตวิทยาศาสตร์ ดว้ ยสะเต็มศกึ ษา

ชนะเลศิ อันดับ ๑ ประเภทนวัตกรรม ด้านการบรหิ ารจดั การ
นางอจั ฉราภรณ์ บัวนวล
โรงเรียนบ้านปางคกึ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถศึกษาเชียงราย เขต ๑

33

นวตั กรรมการบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มโดยใช้ FIVE MODEL เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนบา้ นปางศึก

ชนะเลศิ อันดับ ๑ ประเภทนวัตกรรม ด้านการนิเทศภายในสถานศกึ ษา
นางศิรริ ัตน์ เขือนข่าย
โรงเรยี นทา่ กอ๊ พลับพลาพทิ ยา สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต ๒
นวตั กรรมรูปแบบและแนวทางการนิเทศภายใน TAKOE S MODEL & PIDRER

ชนะเลิศ อันดับ ๑ ประเภทนวัตกรรม ด้านการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล
นางสาวประภัสสร ฟังช้า
สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถศึกษาเชียงราย เขต ๓
นวตั กรรมการพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาไทย โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศแบบรว่ มคิดพาทา
ดว้ ยรปู แบบ 7TQ&S Supervision Approach (7 steps To Quality of Education & Smart Area
Supervision Approach)

กจิ กรรมที่ ๓ รายงานผลการคัดเลือกนวัตกรรมให้นกั งานศึกษาธิการภาค สานักงานศกึ ษาธิการ
จังหวัดเชียงราย ได้ดาเนินการสรุปผลการ สังเคราะห์ผลการคัดเลือกนวัตกรรม ใน ๔ ประเภท
นวัตกรรม รายงานและนาเสนอผลการคัดเลือก ให้ศึกษาธิการภาร ภาค ๑๖ ผลการคัดเลือกนวัตกรรม
ในระดบั ภาค มผี ลดังนี้ ได้รับรางวลั ระดับดีมากอนั ดบั ๑ ด้านการบริหารการศึกษา รางวลั ระดบั ดีเย่ียม
อันดับ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้ รางวัลระดับดีเย่ียมอันดับ ๑ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา และ
รางวัลระดับดีอันดับ ๑ ด้านการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

กิจกรรมที่ ๔ การสะท้อนคิด แลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอผลการขับเคลื่อน การยกระดับ
คุณภาพการศึกษา มีหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในจังหวัดเชียงราย ร่วมการประชุมถอดประสบการณ์
สะท้อนคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กาหนดแนวทางแก้ไข พัฒนาต่อยอด ในการดาเนินงาน และจัด
นิทรรศการแสดงผลงานของผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการคัดเลือกนวัตกรรม ในวันท่ี ๑๐ กันยายน
๒๕๖๔ ณ โรงแรมลกั ษวรรณรสี อร์ท อ. เมืองเชยี งราย จ. เชียงราย

34

ปัญปหัญำหอำุปอสุปรสรรครคแลแะลแะนแวนทวำทงำแงกแไ้ กข้ไข

ปญั หำและอุปสรรค

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ (COVID-19) ทาให้การดาเนนิ งานไม่
เปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ เช่น ไมส่ ามารถจดั ประชุมคณะกรรม ผู้เขา้ รว่ มโครงการ การนเิ ทศตดิ ตาม
ผู้เข้าร่วมพฒั นานวตั กรรม การจดั แสดงผลงาน และ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้

แนวทำงแก้ไข

ปรับรูปแบบกิจกรรมการดาเนินงานในแผนงานโครงการ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาด โดย
ลดกิจกรรมทีม่ กี ารรวมตัวคนจานวนมาก เชน่ กจิ กรรมการจัดประชมุ การนเิ ทศตดิ ตาม การจดั แสดงผล
งาน และ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ได้ปรับกิจกรรมเป็นนิเทศแบบออนไลน์ นอกจากนกี้ ารดาเนินกิจกรรม
คดั เลอื กนวตั กรรม ได้ปรบั กิจกรรมการคัดเลอื กจาก รปู เลม่ รายงานและวดี ทิ ศั น์

ข้อขเอ้สเนสอนแอนแะนแะลแะลคะวคำวมำตม้อตงอ้ กงำกรำใรนใกนำกรำพรัฒพนฒั ำนำ
การดาเนินงานโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา

เพื่อพัฒนาการศึกษา ควรส่งเสริมให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาภายใต้สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ควรมีลักษณะเป็นการเรียนรู้ที่มีวิธีการ
เรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทั้ง แบบผสมผสาน (On Site) ร่วมกับรูปแบบอ่ืน ได้แก่ จัดการเรียนการสอนแบบ
มีใบงานหรือแบบฝึกหัดให้นักเรียนนาไปเรียนรู้เองท่ีบ้าน (On Hand) จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์
(Online) จัดการเรียนการสอนผา่ นแอปพริเคชัน่ ต่างๆ (On Demand) และจัดการเรยี นการสอนแบบเรียน
ผ่าน TV (On air) ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ด้วยเหตุน้ีผู้สอนจึงเป็นบุคคลที่มี
ความสาคัญอย่างยงิ่ ในการที่จะออกแบบการเรียนรู้ใหม้ ีลักษณะดงั กล่าว ซ่ึงเปน็ โจทย์ที่ทา้ ทายเปน็ อย่าง
มาก

35

ภำคผนวก

36

ภำคผนวก ก
โครงกำร

37

38

39

40

41

42

43

44


Click to View FlipBook Version