The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriwimol.piansamer, 2020-06-23 05:25:02

ทฤษฎีใหม่

ทฤษฎีใหม่

จอมปราชญ์แห่งการพฒั นา
ทฤษฎีใหม่

ค�ำ น�ำ

“๘๔ พรรษา ประโยชน์สขุ สู่ปวงประชา” ส�ำ นักราชเลขาธกิ าร มลู นิธิชัยพฒั นา ส�ำ นกั งบประมาณ
และสำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน
กปร.) ได้ร่วมกันจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เน่ืองในโอกาสอันเป็นมงคลท่ี
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระชนมพรรษา ๗ รอบ ในวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔

หนงั สอื ชดุ จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา เปน็ หนง่ึ ในกจิ กรรมทไ่ี ดจ้ ดั ท�ำ ขนึ้ เพอื่ เผยแพรพ่ ระราชกรณยี กจิ
พระราชดำ�ริ พระปรีชาสามารถและผลสำ�เร็จจากการพัฒนาในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่ก่อให้เกิด
คุณูปการต่อประชาชน ประเทศชาติมาอย่างต่อเน่ือง โดยจัดทำ�เป็นหนังสือชุด จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
มที ้ังส้นิ ๑๔ เลม่ ประกอบดว้ ย หลกั การทรงงาน, รากฐานความมน่ั คงของมนุษย,์ นํา้ คือชวี ิต, ปราชญแ์ หง่ ดนิ ,
รกั ษป์ า่ : รกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม, วถิ แี หง่ ดลุ ยภาพ, ทฤษฎใี หม,่ ชะลอนาํ้ : เพม่ิ ความชมุ่ ชนื้ , ก�ำ แพงธรรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ ,
พลงั งานสเี ขยี ว, จากนา้ํ เสยี สนู่ าํ้ ใส, พพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ , ผลส�ำ เรจ็ สปู่ ระชาชน และพระเกยี รตเิ กรกิ ไกร

โดยมีเป้าหมายหลักคือ เพ่ือให้การจัดโครงการเฉลิมพระเกียรติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่
ปวงประชา” เป็นไปอย่างสมพระเกียรติและสามารถเผยแพร่พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย
มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนาน ประกอบกบั เพอื่ ใหเ้ ยาวชนและประชาชนทวั่ ไป ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการสานตอ่ และถา่ ยทอด
แนวพระราชด�ำ รไิ ดอ้ ยา่ งชดั เจน เหมาะสม ผา่ นการเรยี นรจู้ ากหนงั สอื ชดุ จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา ทงั้ ๑๔ เลม่
ท่ีมีลักษณะที่เรียบง่ายสามารถนำ�ไปประยุกต์ได้อย่างหลากหลาย อันนำ�ไปสู่การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
องค์กร และประเทศชาติ ให้บังเกิดความสขุ และความยง่ั ยืนตลอดไป

คณะท�ำ งานจดั ทำ�หนงั สอื เฉลมิ พระเกียรติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่ปวงประชา”
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริ
(ส�ำ นักงาน กปร.)

1ทฤษฎีใหม่

ทฤษฎีใหม่

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ทฤษฎใี หม่ ชีวติ ทีพ่ อเพียง

2

ปัญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำ�คัญ
ประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ําเพ่ือเกษตรกรรม โดยเฉพาะ
อยา่ งยงิ่ ในเขตพนื้ ทอ่ี าศยั นาํ้ ฝน ซง่ึ เปน็ พนื้ ทส่ี ว่ นใหญข่ องประเทศ
และส่วนมากเป็นนาข้าวและพืชไร่ นอกจากน้ียังมีความเสี่ยงกับ
ความแปรปรวนของสภาพดนิ ฟา้ อากาศ และฝนทงิ้ ชว่ ง แมว้ า่ จะ
มีการขุดบ่อหรือสระเก็บนํ้าไว้ใช้บ้างแต่ก็ไม่มีขนาดแน่นอน หรือ

มีปจั จัยอื่นๆ ทีเ่ ปน็ ปัญหาให้มนี าํ้ ใช้ไม่เพยี งพอ รวมทงั้ ระบบการ 3
ปลกู พืชไม่มหี ลักเกณฑ์ใดๆ และส่วนใหญ่ปลกู พชื เชิงเดย่ี ว
ทฤษฎีใหม่
ดว้ ยเหตนุ ี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จงึ ไดพ้ ระราชทาน
พระราชดำ�ริเพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยาก
ลำ�บากดังกล่าวให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤติโดยเฉพาะการ
ขาดแคลนนา้ํ ไดโ้ ดยไม่เดอื ดรอ้ นและยากล�ำ บากนกั

พระราชด�ำ รนิ ี้ ทรงเรยี กวา่ “ทฤษฎใี หม”่ อนั เปน็ แนวทาง
หรือหลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ําเพื่อการเกษตรใน
ที่ดนิ ขนาดเลก็ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด

ทฤษฎใี หม่ : ทำ�ไมใหม่

๑. มีการบริหารและจัดแบ่งท่ีดินแปลงเล็กออกเป็น
สัดส่วนที่ชัดเจน เพ่ือประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร ซ่ึงไม่เคย
มใี ครคิดมากอ่ น

๒. มีการคำ�นวณโดยหลกั วชิ าการ เก่ียวกับปริมาณน้าํ ท่ี
จะกกั เก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลกู ได้ตลอดปี

๓. มกี ารวางแผนทส่ี มบรู ณแ์ บบส�ำ หรบั เกษตรกรรายยอ่ ย
โดยมีถงึ ๓ ขั้นตอน

ทฤษฎใี หมข่ น้ั ตน้ หรอื เรยี กวา่ “ทฤษฎใี หมข่ น้ั ทห่ี นง่ึ ”

การจัดสรรพนื้ ท่อี ยู่อาศัยและท่ที ำ�กิน
ใหแ้ บง่ พน้ื ทอี่ อกเปน็ ๔สว่ นตามอตั ราสว่ น๓๐:๓๐:๓๐:๑๐
ซ่งึ หมายถึง
พื้นที่ส่วนท่ีหนึ่ง ประมาณ ๓๐ เปอร์เซ็นต์ ให้ขุดสระ
เก็บกักนํ้าเพื่อใช้เก็บกักน้ําฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืช
ในฤดแู ลง้ ตลอดจนการเล้ยี งสตั วน์ ํา้ และพชื นา้ํ ตา่ งๆ
พื้นท่สี ว่ นทส่ี อง ประมาณ ๓๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ใหป้ ลูกข้าว
ในฤดฝู นเพอื่ ใชเ้ ปน็ อาหารประจ�ำ วนั ส�ำ หรบั ครอบครวั ใหเ้ พยี งพอ
ตลอดปี เพอื่ ตดั คา่ ใชจ้ ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
พน้ื ทสี่ ว่ นทส่ี าม ประมาณ ๓๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ใหป้ ลกู ไมผ้ ล -
ไมย้ นื ตน้ พชื ผกั พชื ไร่พชื สมนุ ไพรฯลฯเพอื่ ใชเ้ ปน็ อาหารประจ�ำ วนั
หากเหลอื บรโิ ภคกน็ �ำ ไปจ�ำ หน่าย
4 พน้ื ที่ส่วนที่ส่ี ประมาณ ๑๐ เปอร์เซน็ ต์ เป็นทีอ่ ยู่อาศัย

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เล้ยี งสตั วแ์ ละโรงเรอื นอืน่ ๆ

หลกั การและแนวทางส�ำ คัญ

๑. เป็นระบบการผลติ แบบพอเพยี ง ที่เกษตรกรสามารถ
เล้ียงตัวเองได้ในระดับท่ีประหยัดก่อน ทั้งน้ีชุมชนต้องมีความ
สามคั คี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกันท�ำ นองเดียว
กบั การ “ลงแขก” แบบดัง้ เดมิ เพื่อลดคา่ ใชจ้ า่ ย

๒. เน่ืองจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้อง 5
บริโภค ดังนัน้ จึงประมาณว่าครอบครวั หนึ่งทำ�นา ๕ ไร่ จะท�ำ ให้
มีข้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เพื่อยึดหลัก ทฤษฎีใหม่
พ่ึงตนเองไดอ้ ย่างมอี สิ รภาพ

๓. ตอ้ งมนี าํ้ เพอื่ การเพาะปลกู ส�ำ รองไวใ้ ชใ้ นฤดแู ลง้ หรอื
ระยะฝนท้ิงช่วงได้อย่างพอเพียง ดังน้ัน จึงจำ�เป็นต้องกันที่ดิน
ส่วนหนึ่งไว้ขุดสระนํ้า โดยมีหลักว่าต้องมีนํ้าเพียงพอท่ีจะทำ�การ
เพาะปลกู ไดต้ ลอดปี ทง้ั นไ้ี ดพ้ ระราชทานพระราชด�ำ รเิ ปน็ แนวทาง
วา่ ตอ้ งมนี า้ํ ๑,๐๐๐ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ การเพาะปลกู ๑ไร่โดยประมาณ
ฉะน้ัน เมื่อทำ�นา ๕ ไร่ ทำ�พืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น
๑๐ ไร)่ จะตอ้ งมนี า้ํ ๑๐,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี ดงั นน้ั หากมพี น้ื ท่ี
๑๕ ไร่ จึงมสี ูตรครา่ วๆ ว่า แตล่ ะแปลงประกอบด้วย

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา - นา ๕ ไร่
6 - พืชไร่พชื สวน ๕ ไร่

- สระนา้ํ ๓ ไร่ ลกึ ๔ เมตร จปุ ระมาณ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศก-์
เมตร ซง่ึ เปน็ ปรมิ าณนา้ํ ทเ่ี พยี งพอทจ่ี ะส�ำ รองไวใ้ ชย้ าม
ฤดแู ลง้

- ทอี่ ยอู่ าศยั และอืน่ ๆ ๒ ไร่
รวมท้ังหมด ๑๕ ไร่
แต่ท้ังน้ี ขนาดของสระเก็บกักนํ้าข้ึนอยู่กับสภาพ
ภมู ปิ ระเทศและสภาพแวดลอ้ ม ดังนี้

- ถ้าเป็นพ้ืนที่ทำ�การเกษตรอาศัยนํ้าฝน สระน้ําควร 7
มีลักษณะเพื่อป้องกันไม่ให้น้ําระเหยได้มากเกินไป
ซึ่งจะท�ำ ให้มีน้าํ ใชต้ ลอดทั้งปี ทฤษฎีใหม่

- ถ้าเป็นพ้ืนที่ทำ�การเกษตรในเขตชลประทาน สระน้ํา
อาจมีลักษณะลึกหรือตื้นและแคบหรือกว้างก็ได้
โดยพิจารณาตามความเหมาะสมเพราะสามารถมีน้ํา
มาเติมอยู่เรื่อยๆ

การมีสระเก็บกักนํ้าน้ันเพ่ือเกษตรกรได้มีน้ําใช้อย่าง
สม่ําเสมอท้งั ปี (ทรงเรยี กว่า Regulator หมายถึง การควบคุมใหด้ ี
มีระบบนํ้าหมุนเวียนใช้เพื่อการเกษตรได้โดยตลอดเวลาอย่าง
ต่อเนื่อง) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหน้าแล้งและระยะฝนท้ิงช่วง แต่
มิได้หมายความว่าเกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวนาปรัง เพราะ
หากน้ําในสระเก็บกักไม่พอ ในกรณีมีเขื่อนอยู่บริเวณใกล้เคียง
ก็อาจจะต้องสูบน้ํามาจากเข่ือน ซึ่งจะทำ�ให้นํ้าในเขื่อนหมดได้
แต่เกษตรกรควรทำ�นาในหน้าฝน และเมื่อถึงฤดูแล้งหรือฝน
ทิ้งช่วง ให้เกษตรกรใช้นํ้าท่ีได้เก็บตุนนั้นให้เกิดประโยชน์ทางการ
เกษตรอย่างสูงสดุ โดยพจิ ารณาปลูกพืชใหเ้ หมาะสมกับฤดูกาลเชน่

- หนา้ ฝน จะมนี า้ํ มากพอทจ่ี ะปลกู ขา้ วและพชื ชนดิ อน่ื ๆ ได้
- หนา้ แล้งหรือฝนทงิ้ ช่วง ควรปลกู พืชทใ่ี ชน้ ํา้ นอ้ ย เช่น

ถวั่ ตา่ งๆ

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ๔. การจัดแบ่งแปลงท่ีดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดน้ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคำ�นวณและคำ�นึงจากอัตรา
ถือครองที่ดินถัวเฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตาม หาก
เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองน้อยกว่าหรือมากกว่านี้ ก็สามารถใช้
อัตราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ไปเปน็ เกณฑป์ รบั ใช้ได้ กล่าวคือ

- ๓๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ สว่ นแรก ขดุ สระนา้ํ (สามารถเลย้ี งปลา
ปลูกพืชนํ้า เชน่ ผกั บุ้ง ผกั กระเฉด ฯลฯ ไดด้ ้วย)

- ๓๐ เปอรเ์ ซ็นต์ สว่ นทส่ี อง ท�ำ นา
- ๓๐ เปอร์เซ็นต์ ส่วนท่ีสาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน

(ไมผ้ ล - ไมย้ นื ตน้ ไมใ้ ชส้ อย ไมส้ รา้ งบา้ น พชื ไร่ พชื ผกั
สมุนไพร เปน็ ตน้ )
- ๑๐ เปอร์เซ็นต์ สุดท้าย เป็นท่ีอยู่อาศัยและอ่ืนๆ
(ถนน คนั ดนิ กองฟาง ลานตากกองปุ๋ยหมกั โรงเรือน
8 โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผัก
สวนครัวหลังบา้ น เป็นต้น)
อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนดังกล่าวเป็นสูตรหรือหลักการ
โดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับปรุงเปล่ียนแปลงได้ตามความ
เหมาะสมโดยข้ึนอยู่กับสภาพของพื้นที่ คุณสมบัติของดิน
ปริมาณน้ําฝนและสภาพแวดล้อม เช่น ในกรณีภาคใต้ที่มีฝนตก
ชุกกว่าภาคอ่ืน หรือหากพื้นท่ีท่ีมีแหล่งน้ํามาเติมสระได้ต่อเน่ือง
ก็อาจลดขนาดของบ่อหรือสระน้ําให้เล็กลง เพื่อเก็บพื้นท่ีไว้ใช้
ประโยชน์อ่นื ตอ่ ไปได้

ทฤษฎีใหมข่ นั้ กา้ วหนา้ : “ทฤษฎีใหมข่ ้ันท่ีสอง” และ 9
“ทฤษฎีใหม่ข้นั ทีส่ าม”
ทฤษฎีใหม่
เมอื่ เกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ติ ามขนั้
ทหี่ นงึ่ ในทดี่ นิ ของตนจนไดผ้ ลแลว้ เกษตรกรกจ็ ะพฒั นาตนเองไปสู่
ขนั้ พออยพู่ อกนิ และตดั คา่ ใชจ้ า่ ยลงเกอื บหมด มอี สิ รภาพจากปจั จยั
ภายนอก และเพอื่ ใหม้ ผี ลสมบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ จงึ ควรทจ่ี ะตอ้ งด�ำ เนนิ การ
ตามขนั้ ท่สี อง และขนั้ ท่สี าม ตอ่ ไปตามล�ำ ดับ ดังน้ี

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา10 ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่สอง

เม่ือเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในท่ีดินของ
ตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเร่ิมข้ันท่ีสอง คือ ให้เกษตรกรรวมพลัง
กันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกันดำ�เนินการในด้าน
ตา่ งๆ ดังน้ี

๑. การผลติ (พันธ์พุ ชื เตรยี มดิน ชลประทาน ฯลฯ)
- เกษตรกรจะตอ้ งร่วมมือในการผลิตโดยเรม่ิ ตง้ั แต่
ขนั้ เตรยี มดิน การหาพนั ธุพ์ ชื ปุ๋ย การหาน้าํ และ
อ่นื ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู

๒. การตลาด (ลานตากขา้ ว ยงุ้ เครอ่ื งสขี า้ ว การจ�ำ หนา่ ย 11
ผลผลิต)
ทฤษฎีใหม่
- เมอื่ มผี ลผลติ แลว้ จะตอ้ งเตรยี มการตา่ งๆ เพอื่ การ
ขายผลผลิตใหไ้ ดป้ ระโยชน์สงู สุด เชน่ การเตรยี ม
ลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว
เตรียมหาเคร่ืองสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขาย
ผลผลิตใหไ้ ดร้ าคาดี และลดคา่ ใช้จ่ายลงดว้ ย

๓. ความเปน็ อยู่ (กะปิ นา้ํ ปลา อาหาร เครอ่ื งนงุ่ หม่ ฯลฯ)
- ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ท่ีดี
พอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดำ�รงชีวิต
เชน่ อาหารการกนิ ต่างๆ กะปิ น้ําปลา เสอื้ ผา้ ที่
พอเพยี ง

๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงนิ กู้)
- แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการที่จำ�เป็น
เชน่ มสี ถานอี นามยั เมอ่ื ยามปว่ ยไข้ หรอื มกี องทนุ
ไวก้ ยู้ มื เพอ่ื ประโยชนใ์ นกจิ กรรมตา่ งๆ ของชมุ ชน

๕. การศึกษา (โรงเรียน ทนุ การศกึ ษา)
- ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ การศกึ ษา เชน่
มีกองทุนเพ่ือการศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชน
ของชมุ ชนเอง

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ๖. สังคมและศาสนา
- ชมุ ชนควรเปน็ ทร่ี วมในการพฒั นาสงั คมและจติ ใจ
โดยมศี าสนาเปน็ ท่ียดึ เหนย่ี ว
- กิจกรรมท้ังหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับ
ความร่วมมือจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ไม่ว่าส่วน
ราชการ องคก์ รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชมุ ชน
นัน้ เป็นสำ�คัญ

ทฤษฎใี หมข่ น้ั ท่สี าม

เมื่อด�ำ เนินการผ่านพ้นขนั้ ที่สองแลว้ เกษตรกรหรอื กลุ่ม
เกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นท่ีสามต่อไป คือ ติดต่อ
ประสานงาน เพอ่ื จดั หาทนุ หรอื แหลง่ เงนิ เชน่ ธนาคาร หรอื บรษิ ทั
12 หา้ งร้านเอกชน มาช่วยในการลงทนุ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ทั้งน้ี ฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัทเอกชน
จะได้รับประโยชน์ร่วมกนั กลา่ วคือ

- เกษตรกรขายข้าวไดใ้ นราคาสงู (ไม่ถกู กดราคา)
- ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่ํา

(ซ้ือขา้ วเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง)
- เกษตรกรซอื้ เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคไดใ้ นราคาตาํ่ เพราะ

รวมกันซ้ือเป็นจำ�นวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคา
ขายส่ง)

- ธนาคารกบั บรษิ ทั เอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร
เพอื่ ไปดำ�เนินการในกจิ กรรมต่างๆ ใหเ้ กดิ ผลดียิ่งขึ้น

ประโยชนข์ องทฤษฎีใหม่

จากพระราชด�ำ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ทไี่ ดพ้ ระราชทานในโอกาสตา่ งๆ นน้ั พอจะสรปุ ถงึ ประโยชน์
ของทฤษฎีใหม่ได้ ดงั นี้

๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับ
ท่ีประหยัด ไม่อดอยาก และเล้ียงตนเองได้ตามหลักปรัชญาของ
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง”

13

ทฤษฎีใหม่

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา14 ๒. ในหน้าแล้งมีน้ําน้อย ก็สามารถเอาน้ําที่เก็บไว้ใน
สระมาปลูกพืชผักต่างๆ ท่ีใช้นํ้าน้อยได้ โดยไม่ต้องเบียดเบียน
ชลประทาน
๓. ในปที ฝี่ นตกตามฤดกู าลโดยมนี าํ้ ดตี ลอดปี ทฤษฎใี หม่
นี้ก็สามารถสร้างรายไดใ้ หร้ า่ํ รวยขึน้ ได้
๔. ในกรณีท่ีเกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัว และช่วย
ตวั เองไดใ้ นระดบั หนง่ึ โดยทางราชการไมต่ อ้ งชว่ ยเหลอื มากเกนิ ไป
อันเปน็ การประหยดั งบประมาณดว้ ย

ข้อสำ�คัญท่ีควรพิจารณา 15

๑. การดำ�เนินการตามทฤษฎีใหม่น้ัน มีปัจจัยประกอบ ทฤษฎีใหม่
หลายประการ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถ่ิน ฉะนั้น
เกษตรกรควรขอรบั ค�ำ แนะนำ�จากเจา้ หน้าทีด่ ว้ ย

๒. การขดุ สระนํา้ นน้ั จะต้องสามารถเก็บกักน้าํ ได้ เพราะ
สภาพดินในแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดินร่วน ดินทราย
ซงึ่ เปน็ ดนิ ทไ่ี มส่ ามารถอมุ้ นาํ้ ได้ หรอื เปน็ ดนิ เปรย้ี ว ดนิ เคม็ ซง่ึ อาจ
จะไมเ่ หมาะกับพืชที่ปลูกได้ ฉะนั้น จะต้องพิจารณาให้ดีและควร
ขอรับคำ�แนะนำ�จากเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน หรือเจ้าหน้าที่หน่วย
งานทเี่ กี่ยวขอ้ งกอ่ น

๓. ขนาดของพ้ืนที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง
คำ�นวณและคำ�นึงจากอัตราการถือครองท่ีดินถัวเฉลี่ยครัวเรือน
ละ ๑๕ ไร่ แตใ่ หพ้ ึงเข้าใจวา่ อตั ราสว่ นเฉลยี่ ขนาดพ้นื ทีน่ ี้มิใชห่ ลัก
ตายตัว หากพื้นที่การถือครองของเกษตรกรจะมีน้อยกว่าหรือ
มากกวา่ น้ี กส็ ามารถน�ำ อตั ราสว่ นนี้ (๓๐:๓๐:๓๐:๑๐) ไปปรบั ใชไ้ ด้
โดยถอื เปน็ เกณฑ์เฉลยี่

๔. การปลกู พชื หลายชนดิ เชน่ ขา้ วซง่ึ เปน็ พชื หลกั ไมผ้ ล
พืชผัก พชื ไร่ และพชื สมุนไพร อกี ทัง้ ยังมีการเลีย้ งปลา หรือสัตว์
อนื่ ๆ ซง่ึ เกษตรกรสามารถนำ�มาบรโิ ภคได้ตลอดทัง้ ปี เป็นการลด
ค่าใช้จ่ายในส่วนของอาหารสำ�หรับครอบครัวได้ และส่วนที่เหลือ
สามารถจำ�หน่ายไดเ้ ปน็ รายไดแ้ กค่ รอบครวั ไดอ้ กี

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ๕. ความร่วมมือร่วมใจของชุมชนจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญใน
การปฏิบตั ติ ามหลกั ทฤษฎีใหม่ เชน่ การลงแรงชว่ ยเหลือกัน หรอื
ท่ีเรยี กว่าการลงแขก นอกจากจะทำ�ใหเ้ กดิ ความรกั ความสามัคคี
ในชมุ ชนแลว้ ยงั เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจา้ งแรงงานไดอ้ กี ดว้ ย

๖. ในระหว่างการขุดสระนํ้า จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาเป็น
จ�ำ นวนมาก หน้าดินซ่งึ เป็นดินดีควรนำ�ไปกองไวต้ ่างหาก เพอ่ื น�ำ
มาใชป้ ระโยชนใ์ นการปลูกพชื ต่างๆ ในภายหลงั โดยน�ำ มาเกล่ยี
คลุมดินชั้นล่างที่เป็นดินไม่ดี ซึ่งอาจนำ�มาถมทำ�ขอบสระน้ําหรือ
ยกรอ่ งส�ำ หรับปลกู ไม้ผล

เงื่อนไขหรอื ปญั หาในการดำ�เนินงาน

เม่ือวันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย
16 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดม้ พี ระราชด�ำ รสั ความตอนหนงึ่ วา่

“...การทำ�ทฤษฎใี หมน่ ้ีมิใชข่ องง่ายๆ แลว้ แตท่ ี่ แล้ว
แตโ่ อกาส และแลว้ แตง่ บประมาณ เพราะวา่ เดยี๋ วนปี้ ระชาชน
ทราบถึงทฤษฎีใหม่น้ีกว้างขวาง และแต่ละคนก็อยากได้
ใหท้ างราชการขดุ สระแลว้ ชว่ ยแตม่ นั ไมใ่ ชส่ งิ่ งา่ ยนกั บางแหง่
ขดุ แลว้ ไมม่ นี า้ํ แม้จะมฝี นน้ําก็อยไู่ ม่ได้ เพราะวา่ มันร่ัว หรือ
บางทกี เ็ ปน็ ทที่ ร่ี บั นา้ํ ไมไ่ ด้ทฤษฎใี หมน่ จ้ี งึ ตอ้ งมพี นื้ ทท่ี เ่ี หมาะ
สมด้วย...ฉะนนั้ การที่ปฏิบตั ิตามทฤษฎีใหม่หรืออกี นัยหนง่ึ

ปฏิบัติเพื่อหาน้ําให้แก่ราษฎร เป็นส่ิงที่ไม่ใช่ง่าย ต้องช่วย 17
กันทำ�...”
ทฤษฎีใหม่
ตัวอยา่ งพชื ที่ควรปลกู และสตั ว์ท่ีควรเลยี้ ง

ไม้ผลและผักยืนต้น : มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนุน
ละมดุ สม้ กลว้ ย นอ้ ยหนา่ มะละกอ กระทอ้ น แคบา้ น มะรมุ สะเดา
ขีเ้ หล็ก กระถนิ เปน็ ต้น

ผักล้มลุกและดอกไม้ : มันเทศ เผอื ก ถวั่ ฝักยาว มะเขอื
มะลิ ดาวเรือง บานไมร่ โู้ รย กหุ ลาบ รัก และซ่อนกล่นิ เป็นตน้

สมนุ ไพรและเครอื่ งเทศ : หมาก พลู พรกิ ไทย บกุ บวั บก
มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้าแฝก และพืชผักบางชนิด เช่น กะเพรา
โหระพา สะระแหน่ แมงลกั และตะไคร้ เป็นต้น

ไมใ้ ชส้ อยและเชอ้ื เพลงิ : ไผ่ มะพรา้ ว ตาล กระถนิ ณรงค์
มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจรุ ี กระถนิ สะเดา ขี้เหลก็ ประดู่
ชิงชัน และยางนา เป็นต้น

พชื ไร่ : ขา้ วโพด ถวั่ เหลอื ง ถว่ั ลสิ ง ถวั่ พมุ่ ถว่ั มะแฮะ ออ้ ย
มันสำ�ปะหลัง ละหุ่ง นุ่น เป็นต้น พืชไร่หลายชนิดอาจเก็บเก่ียว

18

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

เมอื่ ผลผลติ ยงั สดอยู่ และจ�ำ หนา่ ยเปน็ พชื ประเภทผกั ไดแ้ ละมรี าคา 19
ดกี วา่ เก็บเม่อื แก่ พชื ไร่เหลา่ นี้ไดแ้ ก่ ข้าวโพด ถั่วเหลอื ง ถ่ัวลสิ ง
ถั่วพุ่ม ถว่ั มะแฮะ อ้อย และมนั สำ�ปะหลงั เปน็ ตน้ ทฤษฎีใหม่

พืชบำ�รงุ ดิน และพืชคลุมดนิ : ถว่ั มะแฮะ ถัว่ ฮามาต้า
โสนแอฟริกัน โสนพ้ืนเมือง ปอเทือง ถ่ัวพร้า ขี้เหล็ก กระถิน
รวมทัง้ ถ่วั เขียวและถัว่ พุ่ม เป็นตน้ และเมือ่ เกบ็ เก่ยี วแล้วไถกลบ
ลงไปเพ่ือบ�ำ รงุ ดินได้

หมายเหตุ : พืชหลายชนิดใช้ทำ�ประโยชน์ได้มากกว่า
หนง่ึ ชนดิ และการเลอื กปลกู พชื ควรเนน้ พชื ยนื ตน้ ดว้ ย เพราะการ
ดูแลรักษาในระยะหลังจะลดน้อยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี
หากเลือกพืชยืนต้นชนิดต่างๆ กัน จะให้ความร่มเย็นและชุ่มชื้น
กับที่อยู่อาศัยและส่ิงแวดล้อม รวมท้ังควรเลือกต้นไม้และพืช
ให้สอดคล้องกับคุณภาพของพ้ืนที่ เช่น ไม่ควรปลูกยูคาลิปตัส
บรเิ วณขอบสระ ควรเป็นไมใ้ หค้ ุณค่าสูงกวา่ เช่น ไม้ผล เป็นตน้

สัตวเ์ ลยี้ งอ่นื ๆ ไดแ้ ก่
๑. สตั วน์ าํ้ เชน่ ปลาไน ปลานลิ ปลาตะเพยี นขาว ปลาดกุ
เพอื่ เปน็ อาหารเสรมิ ประเภทโปรตนี และยงั สามารถน�ำ ไปจ�ำ หนา่ ย
เปน็ รายไดเ้ สรมิ ไดอ้ กี ด้วย ในบางพ้นื ท่ีสามารถเลีย้ งกบได้
๒. สกุ ร หรอื ไก่ ท�ำ เลา้ เลยี้ งบนสระนาํ้ ทงั้ นม้ี ลู สกุ รและไก่
สามารถนำ�มาเป็นอาหารปลา บางแห่งอาจเลยี้ งเปด็ ได้

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ทฤษฎีใหมท่ ี่สมบรู ณ์

ทฤษฎใี หมท่ ด่ี �ำ เนนิ การตามธรรมชาติ อาศยั แหลง่ นา้ํ จาก
นา้ํ ฝนประสทิ ธภิ าพยงั อยใู่ นลกั ษณะ “หมน่ิ เหม”่ เพราะหากปไี หน
ฝนน้อยอาจไมเ่ พยี งพอ ฉะนั้น การทีจ่ ะทำ�ใหท้ ฤษฎีใหมส่ มบรู ณ์
ไดน้ ้ัน สระเก็บกักน้ําจะต้องท�ำ หนา้ ที่ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และ
เตม็ ความสามารถ โดยตอ้ งมแี หลง่ นาํ้ ขนาดใหญท่ ส่ี ามารถเพมิ่ เตมิ
นาํ้ ในสระเกบ็ กกั นา้ํ ใหเ้ ตม็ อยเู่ สมอ ดงั เชน่ ในกรณขี องการทดลอง
ทวี่ ดั มงคลชยั พฒั นา จงั หวดั สระบรุ ี ณ โครงการพฒั นาพน้ื ทบี่ รเิ วณ
วดั มงคลชยั พฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอย่หู วั ไดท้ รงเสนอวธิ กี าร ดงั น้ี

ระบบทฤษฎีใหม่ท่สี มบรู ณ์

20 อา่ งใหญ่ เติมอา่ งเล็ก อา่ งเล็ก เติมสระนา้ํ
จากภาพวงกลมเล็กคือสระนํ้าที่เกษตรกรขุดข้ึนตาม

ทฤษฎีใหม่ เม่ือเกิดขาดแคลนน้ําในฤดูแล้ง เกษตรกรสามารถ
สบู น้าํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ และหากนาํ้ ในสระไม่เพยี งพอกข็ อรับนา้ํ
จากอ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ซ่ึงได้ทำ�ระบบส่งน้ําเช่ือมต่อทาง
ท่อลงมายังสระน้ําที่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลง ซึ่งจะช่วยให้สามารถ
มีน้ําใช้ตลอดปี

สระนํ้า

เขื่อนป่าสัก อา่ งเล็ก
อา่ งใหญ่ อา่ งห้วยหินขาว

อา่ งเลก็

สระนํ้า 21

กรณีท่ีเกษตรกรใช้น้ํากันมาก อ่างเก็บนํ้าห้วยหินขาว ทฤษฎีใหม่
ก็อาจมีปริมาณนํ้าไม่พอเพียง เม่ือมีเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิหรือมี
โครงการใหญท่ ส่ี มบรู ณแ์ ลว้ กใ็ ชว้ ธิ กี ารผนั นาํ้ จากปา่ สกั คอื อา่ งใหญ่
ต่อลงมายังอ่างเก็บน้ําห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็จะช่วยให้มี
ปรมิ าณนา้ํ มาเตมิ ในสระของเกษตรกรพอตลอดปโี ดยไมต่ อ้ งเสย่ี ง

ระบบการจัดการทรัพยากรนํ้าตามแนวพระราชดำ�ริ
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถทำ�ให้การใช้น้ําเพ่ิม
ประสิทธิภาพ จากระบบส่งท่อเปิดผ่านไปตามแปลงไร่นาต่างๆ
ถึง ๓ - ๕ เทา่ เพราะยามหน้าฝนนอกจากนํ้าในอา่ งเกบ็ นา้ํ ยังมี
นํ้าในสระของราษฎรเก็บไว้พร้อมกันด้วย ทำ�ให้มีปริมาณนํ้า
เพ่ิมอย่างมหาศาล น้ําในอ่างท่ีต่อมาสู่สระจะทำ�หน้าที่เป็นแหล่ง
เกบ็ นา้ํ ส�ำ รอง คอยเตมิ เทา่ นั้นเอง

NEW THEORY ทฤษฎีใหม่

เรื่องทฤษฎีใหม่
(๑) ถ้าพูดอย่างสรุปท่ีสุด เป็นวิธีปฏิบัติของเกษตรกร
ที่เปน็ เจ้าของทดี่ นิ จ�ำ นวนนอ้ ย แปลงเล็ก (ประมาณ ๑๕ ไร)่
(๒) หลักสำ�คญั : ใหเ้ กษตรกรมคี วามพอเพียง โดยเล้ยี ง
ตัวเองได้ (Self sufficiency) ในระดับชีวิตท่ีประหยัดก่อน ทั้งน้ี
ตอ้ งมีความสามัคคใี นทอ้ งถนิ่

22

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

(๓) มีการผลิตข้าวบริโภคอย่างพอเพียงประจำ�ปี โดย 23
ถือวา่ ครอบครวั หน่งึ ท�ำ นา ๕ ไร่ จะมขี า้ วพอกินตลอดปี ข้อนเ้ี ปน็
หลักสำ�คญั ของทฤษฎีใหมน่ ้ี ทฤษฎีใหม่

(๔) เพ่ือการนี้ จะต้องใช้หลักว่า ต้องมีนํ้า ๑,๐๐๐
ลูกบาศกเ์ มตรต่อไร่ = ๕ ไร่ ต้องมี ๕,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ฉะน้นั
แตล่ ะแปลง (๑๕ ไร่) ท�ำ นา ๕ ไร่ ท�ำ พชื ไร่ หรอื ไม้ผล ฯลฯ ๕ ไร่
= ๑๐ ไร่ จ�ำ ต้องมีน้าํ ๑๐,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตร

จึงตงั้ สูตรคร่าวๆ วา่ แตล่ ะแปลงประกอบด้วย
สระนา้ํ ๓ ไร่ ลกึ ๔ เมตร จะจปุ ระมาณ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศก-์
เมตร
ที่อย่อู าศัยและอื่นๆ ๒ ไร่
นา ๕ ไร่ และ พืชไรแ่ ละสวน ๕ ไร่ รวมทง้ั หมดเปน็ ๑๕ ไร่
(๕) อุปสรรคทีส่ �ำ คญั ทส่ี ุด คือ
อ่างเก็บน้ําหรือสระ ที่มีนํ้าเต็มและได้รับน้ําให้เต็มเพียง
ปลี ะหนง่ึ ครงั้ จะมกี ารระเหยวนั ละ ๑ เซนตเิ มตร โดยเฉลยี่ ในวนั ท่ี
ไมม่ ฝี นตกหมายความวา่ ในปหี นงึ่ ถา้ นบั วา่ แหง้ ๓๐๐วนั ระดบั ของ
สระจะลดลง ๓ เมตร (ในกรณนี ี้ ๓ / ๔ ของ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร
นํ้าที่ใช้ได้จะเหลือ ๔,๗๕๐ ลูกบาศก์เมตร) จึงต้องมีการเติมน้ํา
เพ่อื ใหเ้ พียงพอ

(๖) มคี วามจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะมแี หลง่ นา้ํ เพม่ิ เตมิ ส�ำ หรบั โครงการ
พัฒนาพ้ืนท่ีวัดมงคลชัยพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
ไดส้ ร้างอา่ งจุ ๘๐๐,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร สำ�หรบั เลีย้ ง ๓,๐๐๐ ไร่
(๗) ล�ำ พงั อา่ งเกบ็ นาํ้ ๘๐๐,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร จะเลย้ี งได้
๘๐๐ ไร่ (โครงการพฒั นาพนื้ ทวี่ ดั มงคลชยั พฒั นา มพี น้ื ท่ี ๓,๐๐๐ ไร่
แบ่งเป็น ๒๐๐ แปลง) อ่างนี้จึงเล้ียงได้ ๔ แปลง ลำ�พังสระใน
แปลงเลีย้ งได้ ๔.๗๕ ไร่ (๔.๗๕ + ๔ ไร่ = ๘.๗๕ ไร่) จงึ เหน็ ไดว้ ่า
หม่นิ เหมม่ าก แตค่ �ำ นงึ ว่า ๘.๗๕ ไร่ นั้น จะท�ำ เกษตรกรรมอยา่ ง
สมบรู ณไ์ ด้ อกี ๖.๒๕ ไร่ จะตอ้ งอาศยั เทวดาเลย้ี ง แตถ่ ้าค�ำ นึงว่า
ในระยะทไ่ี ม่มคี วามจำ�เปน็ ทจ่ี ะใช้นํา้ หรอื มฝี นตก น้ําฝนที่ตกมา
จะเก็บไว้ได้ในอ่างและสระสำ�รองไว้สำ�หรับเม่ือต้องการ อ่างและ
สระจะทำ�หน้าที่เฉลี่ยน้ําฝน (Regulator) จึงเข้าใจว่าในระบบน้ี
นา้ํ จะพอ
24 (๘) ปญั หาใหญอ่ กี ขอ้ หนงึ่ คอื ราคาการลงทนุ คอ่ นขา้ งสงู

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เกษตรกรจะตอ้ งไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากภายนอก (ทางราชการ
ทางมูลนิธิ และเอกชน) แต่ค่าดำ�เนินงานไม่ส้ินเปลืองสำ�หรับ
การเกษตรกร

มูลนธิ ชิ ัยพัฒนา
วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๓๗

แปลงตวั อย่างการท�ำ เกษตรทฤษฎีใหม่
ศนู ย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชด�ำ ริ :

อา่ งเกบ็ นา้ํ ห้วยปุ๊

พื้ น ท่ี ข อ ง ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
ตามแนวพระราชด�ำ ริ อา่ งเกบ็ นาํ้ หว้ ยปุ๊ อยบู่ รเิ วณทา้ ยอา่ งเกบ็ นา้ํ หว้ ยปุ๊
ตามแนวพระราชดำ�ริ บ้านเหล่านกยูง หมู่ท่ี ๖ ตำ�บลดงมะไฟ
อำ�เภอเมือง จังหวัดสกลนคร มีพ้ืนท่ีดำ�เนินการ ๒๐ ไร่
มนี ายขวญั ใจแกว้ หาวงศ์อายุ๖๐ปีจบการศกึ ษาชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี๔

25

ทฤษฎีใหม่

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา เป็นหัวหน้าศูนย์เรียนรู้ โดยมีแรงงานในครัวเรือน รวม ๔ คน
เดมิ ใชพ้ นื้ ทใี่ นการเพาะปลกู ขา้ วและใชน้ า้ํ จากบอ่ ขนาดเลก็ ในไรน่ า
26 เพาะปลูกพืชอายุส้ันในฤดูแล้งในนา หลังจากเก็บเก่ียวข้าวแล้ว
ต่อมาในปี ๒๕๕๐ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก
พระราชดำ�ริ จังหวัดสกลนคร ได้สนับสนุนขุดสระทฤษฎีใหม่
ในไรน่ าให้ ๑ แห่ง จึงทำ�การเพาะปลกู พืช เลย้ี งสัตว์ และประมง
ตามแนวทฤษฎใี หม่

กจิ กรรมทดี่ ำ�เนินการ
• ปลูกขา้ วนาปี ๑๖ ไร่
• ปลูกไม้ผลชนดิ ต่างๆ ๑ ไร่ ๒ งาน
• ปลกู พืชไร่ ๑ ไร่

• ปลกู พชื ผัก ๒ งาน 27
• เพาะเหด็ ในโรงเรอื น ๑ โรง
• เลีย้ งโค ๖ ตัว ทฤษฎีใหม่
• เล้ียงปลา ๑ บอ่ ต่อ ๑ ไร่ ต่อ ๖,๐๐๐ ตัว
วธิ กี ารด�ำ เนินการ
จดั แบง่ พน้ื ทด่ี �ำ เนนิ การเปน็ ๔ สว่ น ตามองคป์ ระกอบของ
ทฤษฎใี หมต่ ามแนวพระราชด�ำ ริ แตป่ รบั เปลี่ยนสัดส่วนของพน้ื ท่ี
ตา่ งๆ ตามความเหมาะสมของพ้ืนทีแ่ ละแรงงาน ดงั น้ี
ส่วนแรก พื้นที่ ๑ ไร่ (๕ เปอรเ์ ซ็นต)์ เป็นแหล่งน้ําและ
เลย้ี งปลา ใชพ้ นื้ ทบี่ อ่ นาํ้ ขนาดเลก็ บอ่ เดมิ ซง่ึ อยใู่ กลป้ ระตรู ะบายนา้ํ
จากคลองส่งนํ้าของอ่างเก็บนํ้าห้วยปุ๊ ขุดเป็นบ่อทฤษฎีใหม่
ขนาดกวา้ ง ๔๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร ลึก ๓.๕ เมตร มคี วามจนุ ํ้า
ประมาณ ๕,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ใชเ้ ก็บกักน้ําไวส้ ำ�หรบั การเพาะ
ปลกู พืชและทำ�การประมง สามารถรับการเตมิ น้ําจากอา่ งเกบ็ นา้ํ
แล้วระบายลงสู่แปลงเกษตรในพื้นที่ลุ่มได้ด้วย บริเวณคันคูรอบ
สระนํ้าใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน ได้แก่ มะพร้าว ลำ�ไย
ลิน้ จ่ี สม้ โอ มะมว่ ง มะละกอ กลว้ ย ฯลฯ และพชื ผกั ตา่ งๆ แซม
ระหวา่ งแถวของไมผ้ ล ส่วนขอบสระมีการปลูกหญา้ แฝก ข่า และ
ตะไคร้ ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ มกี ารเกบ็ เกย่ี วผลผลติ
ข่า ตะไคร้ ไปจ�ำ หนา่ ยและตดั ใบไปคลมุ โคนไม้ผล ส�ำ หรับน้าํ ที่อยู่
ในสระ มีการปล่อยปลาเล้ียงเพ่ือการบริโภคและจำ�หน่ายจำ�พวก

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ปลากนิ พชื ไดแ้ ก่ ปลานลิ ปลาไน ปลาตะเพยี น ฯลฯ ปลี ะประมาณ
๖,๐๐๐ ตัว มีรายไดจ้ ากการจำ�หนา่ ยปลา ปีละ ๓,๐๐๐ บาท และ
ยังมีการทำ�กระชังเลี้ยงปลาดุกและกบอีก รวม ๗ กระชัง พื้นที่
มุมสระนํ้าด้านหน่ึงได้จัดทำ�คอกสัตว์ปีกสำ�หรับเลี้ยงเป็ดบาบารี่
๓๐ ตัว และไกภ่ ูพาน ๔๐ ตัว มรี ายไดจ้ ากการเล้ียงสัตว์ปีกปีละ
๒,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ บาท นอกจากน้ี บนขอบสระมีคอกเลย้ี งสุกรด�ำ
พนั ธุภ์ ูพาน จำ�นวน ๓ ตวั

สว่ นท่ี ๒ พนื้ ที่ ๑๖ ไร่ (๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต)์ เปน็ พนื้ ทปี่ ลกู ขา้ ว
ใชป้ ลกู ขา้ วนาปโี ดยอาศยั นาํ้ ฝน ถา้ ประสบภาวะฝนแลง้ หรอื ฝนทง้ิ ชว่ ง
สามารถทดนํ้าจากในสระทฤษฎีใหม่ลงสู่แปลงนาได้ พันธุ์ข้าว
ทป่ี ลกู ใชข้ า้ วพนั ธ์ุสง่ เสรมิ ได้แก่ พนั ธ์ุ กข ๖ และหอมมะลิ ๑๐๕
มีการเพาะปลูกข้าวตามหลักวิชาการที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก
28 เจา้ หนา้ ทขี่ องศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านฯ ในการปลกู ขา้ วโดยใช้
ปยุ๋ พชื สดรว่ มกับปุ๋ยอินทรียแ์ ละปุ๋ยเคมี ในปีหน่ึงๆ จะได้ผลผลิต
ข้าวประมาณ ๕.๖ ตนั เฉล่ียผลผลติ ๓๕๐ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ จึงมีคา่
ตอบแทนจากการทำ�นาคดิ เปน็ เงนิ ๕๖,๐๐๐ บาทตอ่ ปี ในระหวา่ ง
การเพาะปลกู ขา้ วในนา ไดใ้ ชพ้ น้ื ทจ่ี �ำ นวน ๒ ไร่ ปลอ่ ยปลาเลย้ี งใน
นาข้าวเพ่ือเป็นอาหารและจำ�หน่ายเป็นการลดต้นทุนในการผลิต
และเพม่ิ รายได้ อกี ทงั้ ปลายงั ชว่ ยเพม่ิ ธาตอุ าหารใหต้ น้ ขา้ วโดยการ
ถา่ ยมลู และแหวกวา่ ยถา่ ยเทอากาศ ก�ำ จดั วชั พชื และศตั รพู ชื ในนาขา้ ว
ไดอ้ กี ดว้ ย หลงั จากการเกบ็ เกยี่ วขา้ วในฤดนู าปแี ลว้ จะไถกลบตอซงั

และเตรียมดินเพาะปลูกพืชอายุส้ันในนาข้าว ทำ�ให้มีรายได้ 29
ตอ่ เนื่อง เมือ่ จะปลูกขา้ วในฤดนู าปีครั้งต่อไป ก็จะหวา่ นเมลด็ พชื
ตระกูลถ่ัวทำ�ปุ๋ยพืชสดเพ่ือปรับสภาพของดินและเพิ่มธาตุอาหาร ทฤษฎีใหม่
ให้แก่ต้นขา้ ว

สว่ นที่ ๓ พนื้ ที่ ๒ ไร่ (๑๐ เปอรเ์ ซน็ ต)์ เปน็ พ้นื ทีป่ ลกู พืช
ผสมผสาน

ไมผ้ ล - ไมย้ นื ตน้ พนื้ ที่ ๑.๕ ไร่
เน่ืองจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ลุ่มใช้ปลูกพืชยืนต้น
ได้น้อย จึงได้ปรับสัดส่วนการปลูกไม้ผล - ไม้ยืนต้น ลดลงตาม

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา30 ศักยภาพของพ้ืนที่ ดังน้ัน จึงมีการปลูกไม้ผล - ไม้ยืนต้น
บนคนั ครู อบสระนา้ํ และปลกู บนคนั นา โดยท�ำ คนั นาใหข้ ยายใหญ่
กว่าปกติ ไม้ผล - ไม้ยืนต้นที่เพาะปลูกมีหลายชนิด มีท้ังที่ให้
ผลผลิตแล้วและยังไม่ให้ผลผลิต ท่ีให้ผลผลิตแล้วส่วนใหญ่เป็น
กล้วยนํ้าว้า ซ่ึงจะมีรายได้จากการขายผลผลิตไม้ผล - ไม้ยืนต้น
ปีละประมาณ ๒,๐๐๐ บาท
พืชไร่ - พชื ผัก และพชื อายสุ ั้นต่างๆ พืน้ ที่ ๐.๕ ไร่
ดำ�เนินการเพาะปลูกพืชผักต่างๆ เนื่องจากพ้ืนที่ดอน
มจี �ำ กดั จงึ ไดก้ นั พนื้ ทน่ี าดอนไวป้ ระมาณ ๐.๕ ไร่ เพอ่ื ปลกู แตงกวา

ในปลายฤดฝู นเพราะผลผลติ มรี าคาดี และเมอื่ มกี ารเกบ็ เกย่ี วขา้ วท่ี 31
เพาะปลกู ในนาทงั้ หมดแลว้ จะใชพ้ นื้ ทน่ี าจ�ำ นวน ๒ ไร่ เพาะปลกู พชื
ตา่ งๆ สลบั หมนุ เวยี นในแตล่ ะปี ขนึ้ อยกู่ บั สภาวะตลาดในขณะนนั้ ทฤษฎีใหม่
และการปลูกพืชหมุนเวียนยังเป็นการหลีกเล่ียงการระบาดของ
ศตั รพู ชื และท�ำ ใหพ้ ชื ใชธ้ าตอุ าหารในดนิ ไดค้ มุ้ คา่ ในระดบั ความตนื้
ลึกของพื้นดินท่ีแตกต่างกันตามความยาวของรากพืชแต่ละชนิด
รายได้จากการปลูกพืชไร่ - พืชผัก และพืชอายุส้ันต่างๆ ปีละ
๗,๕๐๐ บาท ในการปลูกพืชอายุสั้นในนาข้าวจะใช้วิธีขุดร่อง
ระบายน้ําเล็กๆ แล้วสูบน้ําจากสระทฤษฎีใหม่ลงสู่แปลงนาเพื่อ
ให้นาํ้ แก่พืช

สว่ นที่ ๔ พ้ืนท่ี (๕ เปอร์เซ็นต์) ท่ีอยู่อาศยั และอื่นๆ
เป็นพื้นท่ีสร้างบ้านและส่ิงปลูกสร้างอื่นๆ ได้แก่ คอก
เลย้ี งสตั ว์ โรงปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ทเ่ี กบ็ เครอ่ื งมอื การเกษตร ทเ่ี กบ็ อาหารสตั ว์
โรงเพาะเหด็ รวมทงั้ ศาลาเรยี นรทู้ สี่ รา้ งไวส้ �ำ หรบั เปน็ ทจี่ ดั ประชมุ
และไว้ต้อนรับผู้ท่ีมาศึกษาดูงาน นอกจากน้ี บริเวณรอบๆ ที่อยู่
อาศัยยังมีการปลูกพืชผักต่างๆ และพืชสมุนไพรไว้ศึกษาและ
นำ�มาใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำ�วนั
สรปุ การท�ำ เกษตรทฤษฎใี หม่“นายขวญั ใจแกว้ หาวงศ”์
๑. ก�ำ หนดการลงทนุ และดำ�เนนิ การผลติ ในแปลงเกษตร
ทฤษฎใี หม่ ไมม่ ากจนเกนิ ก�ำ ลงั อาศยั แรงงานของคนในครอบครวั
เป็นหลกั

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา32

๒. บริหารการใช้จ่ายในครอบครัวไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย
ท�ำ การเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลกู พชื เลยี้ งสตั วห์ ลายชนดิ ได้
ผลผลติ ทกุ ฤดกู าล มอี าหารเพยี งพอตอ่ การบรโิ ภค เลอื กซอื้ เฉพาะ
สนิ คา้ ท่จี ำ�เป็นทผี่ ลิตเองไม่ได้

๓. จดั แบง่ พน้ื ทที่ �ำ การเกษตรอยา่ งมเี หตผุ ล ปรบั ยดื หยนุ่ 33
สัดส่วนพ้ืนท่ีแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ให้สามารถใช้ประโยชน์เต็ม
ประสิทธภิ าพทุกพืน้ ที่ ทำ�ใหม้ รี ายไดต้ ่อเนื่อง ทฤษฎีใหม่

๔. มีการวางแผนการผลิต โดยคำ�นึงถึงศักยภาพของ
พน้ื ท่ี การใชท้ รพั ยากรทมี่ อี ยู่ และชว่ งเวลาการเพาะปลกู ทจ่ี ะท�ำ ให้
จำ�หนา่ ยผลผลติ ได้ในราคาดี

๕. รู้จักนำ�ภมู ปิ ญั ญามาประยุกต์ใชก้ บั ความรู้ใหมๆ่ ท่ีได้
จากหน่วยงานตา่ งๆ เชน่ การปรบั ปรงุ บำ�รงุ ดนิ โดยทำ�ปยุ๋ ชีวภาพ
ใชเ้ อง และการใชฮ้ อรโ์ มนจากพชื ท�ำ สารขบั ไลแ่ มลงศตั รพู ชื ท�ำ ให้
ลดต้นทุนในการผลิต เปน็ ต้น

๖. เป็นแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ท่ีได้รับการคัดเลือก
จากศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
จังหวัดสกลนคร จัดต้ังให้เป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ตามแนวพระราชดำ�ริ ประจำ�อ่างเก็บนํ้าห้วยปุ๊ บ้านเหล่านกยูง
หมูท่ ่ี ๖ ต�ำ บลดงมะไฟ อำ�เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร

๗. ไดร้ บั รางวลั ถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราช-
สดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการประกวดเกษตรกรดเี ดน่ หมบู่ า้ น
รอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เนื่องใน
โอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 34

ศูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามแนวพระราชด�ำ ริ 35
แปลงเกษตรน้ําฝน ๔๗ ไร่ หมูท่ ่ี ๔ ตำ�บลหว้ ยยาง
ทฤษฎีใหม่
อำ�เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร

๑. ข้อมลู ทวั่ ไป ของหวั หน้าศูนย์เรยี นรู้เศรษฐกิจ
พอเพียง ตามแนวพระราชดำ�ริ

นายละมยั พงั แสงสุ อายุ ๕๓ ปี จบการศกึ ษาช้ันประถม
ศึกษาปีท่ี ๔ ทำ�การเกษตรในพื้นที่แปลงเกษตรน้ําฝน ๔๗ ไร่
หมูท่ ่ี ๔ บา้ นนาคำ� ตำ�บลห้วยยาง อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร
จำ�นวนสมาชิกในครัวเรือน ๒ คน จ�ำ นวนแรงงานประกอบอาชีพ
๒ คน

เม่ือปี ๒๕๒๕ นายละมัย พังแสงสุ ได้เข้ามาทำ�งานท่ี
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ พร้อม
เพ่ือนๆ รวม ๑๐ คน โดยมาทำ�งานเป็นลูกจ้างที่ศูนย์ศึกษา
การพฒั นาภูพานฯ และไดท้ ำ�การเกษตรควบคูไ่ ปด้วย โดยมกี าร
นำ�เอาความรู้จากศูนย์ฯ ไปปฏิบัติที่แปลงของตนเอง จนกระทั่ง
ปี ๒๕๔๙ ได้รับคัดเลือกเป็นเกษตรกรตัวอย่างของศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชด�ำ ริ โดยเฉพาะการท�ำ เกษตร
ทฤษฎีใหมแ่ ละการใชช้ ีวติ อยา่ ง “พอเพยี ง” ซ่ึงไดน้ ้อมน�ำ เอาแนว
พระราชดำ�ริมาใช้ในการดำ�เนินชีวิตในเรื่องของทฤษฎีใหม่และ
การเกษตรแบบผสมผสาน มีการนำ�มาประยุกต์ใช้ในการดำ�เนิน

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา ชีวิตประจำ�วันและได้นำ�ประสบการณ์จากการทำ�งานมาพัฒนา
ท่ีทำ�กินที่ทางราชการจัดสรรให้ ซึ่งได้รับการจัดสรรที่ทำ�กินจาก
ทางศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ เป็นพ้ืนที่การเกษตรอาศัย
นา้ํ ฝน จ�ำ นวน ๔๗ ไร่ และดว้ ยความขยนั ประกอบกบั ความอดทน
จึงทำ�ให้ประสบผลสำ�เร็จในปัจจุบัน จนได้รับการยกย่องให้เป็น
เกษตรกรตัวอยา่ ง มีการประกอบอาชพี เก่ียวกับการเกษตรอยา่ ง
36 ต่อเน่ือง และมีการทำ�การเกษตรแบบหมุนเวียนตลอดปี มีการ
ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ การใช้ปุ๋ยพืชสด การทำ�น้ําหมักชีวภาพ
การใชส้ ารป้องกันและไลแ่ มลงเพ่ือลดต้นทนุ การผลติ และการท�ำ
บัญชคี รวั เรอื นอย่างง่ายๆ ของเกษตรกร

ก่อนเข้าร่วมโครงการมีรายได้เฉลี่ยในครัวเรือน จำ�นวน
๗๗,๐๐๐ บาทต่อปี

หลงั เขา้ รว่ มโครงการมรี ายไดเ้ ฉลยี่ ในครวั เรอื น (ปี ๒๕๕๒)
จ�ำ นวน ๑๑๙,๑๑๖ บาทตอ่ ปี

๒. พ้ืนทด่ี ำ�เนนิ การศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง 37
ตามแนวพระราชดำ�ริ
ทฤษฎีใหม่
พื้นที่ดำ�เนินการจัดทำ�แปลงเกษตรผสมผสานเศรษฐกิจ
พอเพยี งตามแนวพระราชด�ำ ริ จำ�นวน ๘ ไร่ ประกอบด้วยพ้ืนท่ี
ทำ�นา ๖ ไร่ สระน้าํ ๑ ไร่ ทอ่ี ยู่อาศัย ๒ งาน ท่สี วน ๒ งาน

๓. การได้รบั การส่งเสริมและพฒั นาอาชีพของ
ศูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดำ�ริ

๓.๑ การสนับสนนุ ดา้ นวิชาการและถ่ายทอดความรู้
- เข้ารับการฝึกอบรมโครงการทำ�ข้าวกล้องงอก

ของศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาภพู านฯ จ�ำ นวน ๑ ครงั้
ต่อ ๒ วัน
- เขา้ รบั การฝกึ อบรมโครงการจดั ท�ำ บญั ชฟี ารม์ ของ
สำ�นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดสกลนคร
จำ�นวน ๑ ครั้งตอ่ ๒ วนั
- เข้ารับการฝึกอบรมโครงการประมงน้ําจืดของ
กิจกรรมประมง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ
จ�ำ นวน ๒ ครั้ง ครั้งละ ๑ วัน

จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา - ได้รบั คำ�แนะนำ� และไดร้ ับเอกสารขอ้ มูลข่าวสาร
จากเจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ

- เข้ารับการฝกึ อบรมกับกจิ กรรมประมง เร่ืองการ
เล้ียงปลาในนาข้าว การเล้ียงปลาตะเพียนและ
ปลายส่ี ก เพอ่ื การแปรรปู ท�ำ ปลาสม้ จ�ำ นวน ๒ ครง้ั

- เข้ารับการอบรมกับกิจกรรมปรับปรุงบำ�รุงดิน
ในการท�ำ ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพอัดเม็ด จำ�นวน ๕ ครัง้

๓.๒ สนบั สนนุ ด้านทนุ และปจั จัยการผลิต
- ได้รับการสนับสนุนถังนํ้าหมักปุ๋ยชีวภาพ จาก

กรมส่งเสริมการเกษตร ขนาด ๑,๐๐๐ ลติ ร ๒ ถัง
- ได้รับการสนับสนุนพันธ์ุกล้าไม้ จากกิจกรรม

ปา่ ไม้ ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาภพู านฯ
38 - ได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี จาก

กิจกรรมข้าว ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ
จ�ำ นวน ๑ แปลง
- ไดร้ ับการสนับสนุนการขดุ บ่อบาดาล ๑ บอ่ จาก
ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาภพู านฯ

39 ทฤษฎีใหม่

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 40

๔. ผลการดำ�เนินงานของศนู ย์เรียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตามแนวพระราชด�ำ ริ ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓

กจิ กรรมเด่น สมุนไพร
กิจกรรมรอง ไมผ้ ล

ที่ กิจกรรมที่ด�ำ เนินการ ปริมาณ ผลผลติ รวม คดิ เป็นมลู คา่
(บาท)
๑ ทำ�นา ๖ ไร่ 41
๒ เลย้ี งไก่ดำ� ๓๐ ตัว ๓,๒๗๕ กก. ๔๙,๙๐๐
๓ เลีย้ งไก่พน้ื เมอื ง ๔๐ ตวั ๓๐ ตวั ๔,๘๐๐ ทฤษฎีใหม่
๔ เลย้ี งกบในกระชัง ๑ บ่อ ๔๐ ตัว ๔,๐๐๐
๒๐๐ ตัว ๒,๐๐๐
ทอ่ ซเี มนต์ ๑ บอ่
๕ เล้ยี งปลา ๑ ตวั ๒,๐๐๐ ตัว ๗,๐๐๐
๖ โค ๑ หลัง ๑ ตวั ๘,๐๐๐
๗ โรงปยุ๋ หมกั ชีวภาพ ๑ งาน
๘ ปลกู ลน้ิ จ่ี ๑ งาน ๕,๐๐๐ กก. ใช้เองในแปลง
๙ ปลกู กลว้ ย ๔๕๐ กก. ๙,๐๐๐
๑๐๐ กก. บริโภค
๑๐ ปลูกพชื สมนุ ไพรเพือ่ ๑ งาน
ทำ�ยา ในครวั เรอื น
- ๑๕,๐๐๐

ภาพกิจกรรม

แปลงนาข้าว เลย้ี งปลาในกระชัง
แปลงตน้ ลิน้ จ่ี
42
เลี้ยงวัว
จอมปราช ์ญแห่งการพัฒนา

เลยี้ งไก่ด�ำ ภพู าน ปลกู พชื สมุนไพรไวจ้ �ำ หนา่ ย

ปลูกข้าวโพดหลังการท�ำ นา บอ่ น้าํ ใช้ในการเกษตร และใชเ้ ล้ยี งปลา

แผนผังศูนย์เรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง นายละมยั พังแสงสุ

43

ทฤษฎีใหม่

________________________

จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา 44

หนงั สอื ชดุ จอมปราชญแ์ ห่งการพฒั นา เปน็ หนงั สือชุดจำ�นวน ๑๔ เลม่ ประกอบดว้ ย
๑. หลักการทรงงาน
๘. ชะลอนํ้า : เพ่มิ ความชุ่มชื้น
๒. รากฐานความมัน่ คงของมนุษย ์ ๙. กำ�แพงธรรมชาติท่ีมชี ีวติ
๓. นา้ํ คอื ชีวิต ๑๐. พลังงานสเี ขยี ว
๔. ปราชญแ์ หง่ ดิน ๑๑. จากนํา้ เสยี สนู่ ้าํ ใส
๕. รักษป์ า่ : รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๒. พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมชาติทมี่ ีชวี ติ
๖. วถิ ีแหง่ ดุลยภาพ ๑๓. ผลสำ�เรจ็ ส่ปู ระชาชน
๗. ทฤษฎีใหม่ ๑๔. พระเกยี รติเกรกิ ไกร

จัดท�ำ โดย
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.)
เลขที่ ๒๐๑๒ อาคารสำ�นักงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ ซอยอรุณอมรินทร์ ๓๖
ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงบางยขี่ นั เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒ www.rdpb.go.th

คณะผูจ้ ดั ท�ำ เลขาธิการ กปร.
ทป่ี รึกษา รองเลขาธกิ าร
๑. นายเฉลิมเกยี รติ แสนวเิ ศษ รองเลขาธิการ
๒. นายโกวิทย์ เพง่ วาณชิ ย์
๓. หมอ่ มหลวงจริ พนั ธุ์ ทวีวงศ์

คณะทำ�งาน รองเลขาธกิ าร ประธานคณะทำ�งาน
๑. นายสุวัฒน์ เทพอารักษ ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักประสานงานโครงการพื้นทภ่ี าคเหนือ
๒. นายปวัตร์ นวะมะรัตน ผูอ้ ำ�นวยการกลุ่มแผนงาน
๓. นางสุพร ตรนี รนิ ทร์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ
๔. นางศศิพร ปาณิกบุตร นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ
๕. นายศุภรชั ต์ อนิ ทราวธุ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำ�นาญการ
๖. นางกญุ ชัชญา ทองคำ� นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการ
๗. นายอิทธิพล วรนชุ เจ้าหนา้ ที่วเิ คราะห์นโยบายและแผน
๘. นางสาวณัฐฤดี แสนทวีสุข เจ้าหน้าทว่ี ิเคราะหน์ โยบายและแผน
๙. นางสาวปุญชรัสม์ิ ราศร ี

ภาพประกอบ
ฝ า่ ยโสตทศั นศึกษา สำ�นกั ประชาสัมพนั ธ์ สำ�นักงาน กปร.

พมิ พท์ ี่
บรษิ ทั อมรนิ ทร์พร้นิ ติ้งแอนดพ์ บั ลชิ ช่งิ จำ�กดั (มหาชน)

ปที ีพ่ ิมพ์ ISBN 978-974-7569-09-4
ก มุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕

จดั พิมพโ์ ดย

ส�ำ นักงานคณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ (ส�ำ นกั งาน กปร.)
Office of the Royal Development Projects Board (Rdpb)
เลขท่ี ๒๐๑๒ อาคารสำ�นกั งานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ
ซอยอรณุ อมรินทร์ ๓๖ ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงบางยีข่ นั เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
โทรศพั ท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒
www.rdpb.go.th
ISBN 978-974-7569-09-4


Click to View FlipBook Version