The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปฐมวัยรวมเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปฐมวัยรวมเล่ม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปฐมวัยรวมเล่ม

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย
แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนบ้านหนองจระเข้หนิ เร่ือง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย

และระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
ฉบับลงวนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย พ.ศ. 2564 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เปน็ สาคญั

แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ดดงั น้ี

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
1.1 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ดี ขี องสังคม
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.๑ มีหลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทัง้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถน่ิ
2.2 จัดครใู ห้เพยี งพอกับช้ันเรยี น
2.3 สง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพื่อการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพียง
2.5 ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรียนรู้เพอ่ื สนับสนนุ การจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ
3.1 จดั ประสบการณ์ที่ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมีความสขุ
3.3 จัดบรรยากาศท่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั วัย
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัด
ประสบการณแ์ ละพฒั นาการเดก็

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวัย 43

ค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ นิ
ระดับปฐมวยั

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย
มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดบั ดีเลศิ
1.1 มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนิสัยทดี่ ี และดูแลความความปลอดภัย ระดบั ดีเลิศ
รอ้ ยละ 80
ของตนเองได้ รอ้ ยละ 80
1. เดก็ มีน้าหนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน รอ้ ยละ 80
2. เดก็ สามารถเคลื่อนไหวรา่ งกายคล่องแคลว่ ทรงตวั ได้ดี ร้อยละ 80
3. เด็กสามารถใชม้ ือและตาประสานสมั พนั ธ์ได้ดี ร้อยละ 80
4. เดก็ สามารถดูแลสุขภาพอนามยั ส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสยั
5. เดก็ สามารถปฏิบัติตนตามขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั ความปลอดภยั หลกี เลีย่ ง ระดับดีเลิศ
รอ้ ยละ 80
สภาวะที่เสยี่ งตอ่ โรค สิง่ เสพตดิ และระวังภยั ตอ่ บุคคล สภาพแวดล้อม รอ้ ยละ 80
และสถานการณท์ เ่ี ส่ียงอันตราย
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณจ์ ิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ 80
1. เดก็ ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณค์ วามรู้สกึ ไดเ้ หมาะสม
2. เด็กรู้จักยบั ยงั้ ชงั่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจในความสามารถ ร้อยละ 80
และผลงานของตนเองและผอู้ นื่ ระดับดีเลิศ
3. เดก็ มจี ติ สานกึ และคา่ นยิ มท่ีดี มคี วามมนั่ ใจ กล้าพดู กล้าแสดงออก ร้อยละ 80
ชว่ ยเหลือแบ่งปนั เคารพสิทธิ ร้หู น้าท่ีรบั ผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซ่ือสัตย์ ร้อยละ 80
สุจรติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด รอ้ ยละ 80
4. รอ้ ยละของเด็กชื่นชมและมีความสขุ กับศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว รอ้ ยละ 80
1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม
ร้อยละ 80
1. เดก็ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั กิ ิจวตั รประจาวนั
2. เด็กมวี ินัยในตนเอง ประหยดั และพอเพยี ง ร้อยละ 80
3. เด็กมสี ่วนร่วมดูแลรกั ษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน
4. เดก็ มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้มิ ทักทาย และมี

สมั มาคารวะกับผ้ใู หญ่
5. เดก็ ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เช่น ความคิด พฤตกิ รรม

พ้ืนฐานครอบครัว เชือ่ ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม
6. เดก็ เล่นและทางานรว่ มกับผูอ้ ่นื ได้ แกไ้ ขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้

ความรนุ แรง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับปฐมวยั 44

คา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบา้ นหนองจระเข้หิน
ระดบั ปฐมวยั

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมาย
มาตรฐาน
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ส่ือสารได้ มที กั ษะการคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหา ระดบั ดี
ความร้ไู ด้ รอ้ ยละ 75
1. เด็กสนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ ร้อยละ 75
2. เดก็ ต้ังคาถามในสิ่งท่ตี นเองสนใจหรือสงสยั และพยายามคน้ หาคาตอบ ร้อยละ 75
3. เด็กอ่านนิทานและเล่าเร่ืองทตี่ นเองอ่านได้เหมาะสมกบั วัย รอ้ ยละ 75
4. เด็กมีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณติ ศาสตร์ ร้อยละ 75
และวทิ ยาศาสตร์ การคิดแกป้ ัญหาและสามารถตัดสินใจในเรอื่ งง่ายๆ ได้ ร้อยละ 75
5. เดก็ สร้างสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจินตนาการ เชน่ งานศิลปะ ระดับดเี ลศิ
การเคล่อื นไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ ระดบั ดีเลิศ
6. เด็กใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก กล้องดิจิตอล เปน็ เคร่ืองมือ รอ้ ยละ 80
ในการเรียนรแู้ ละแสวงหาความร้ไู ด้ ร้อยละ 80

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั ดเี ลศิ
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกับบริบทของ รอ้ ยละ 80

ท้องถิ่น ระดับดเี ลศิ
1. สถานศกึ ษามีหลกั สูตรสถานศึกษาท่ยี ืดหยุน่ และสอดคล้องกับหลักสตู ร ร้อยละ 80

การศกึ ษาปฐมวยั รอ้ ยละ 80
2. สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณท์ ่ีเตรยี มความพรอ้ มและไม่เร่งรดั รอ้ ยละ 80

วชิ าการ เนน้ การเรียนรู้ผา่ นการเลน่ และการปฏิบตั ิ ตอบสนองความ
ต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะและ
สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี ีวติ ของครอบครัว ชมุ ชนและท้องถิ่น
2.2 จัดครใู หเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น
สถานศกึ ษาจัดครูให้เหมาะสมกับภาระการเรียนการสอนหรอื จัดครูทีจ่ บ
การศกึ ษาปฐมวัยหรอื ผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัยอยา่ งพอเพยี งกบั
ช้นั เรียน
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการณ์
1. สถานศกึ ษาพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความรูค้ วามสามารถในการ
วเิ คราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษามีทกั ษะในการจดั
ประสบการณ์และประเมินพฒั นาการณเ์ ดก็ ใชป้ ระสบการณ์สาคัญในการ
ออกแบบการจดั กจิ กรรม
2. สถานศึกษาส่งเสรมิ ให้ครูมกี ารสงั เกตและประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ ราย
บคุ คล
3. สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ ใหค้ รูมีปฏสิ ัมพนั ธท์ ่ีดีกับเด็กและครอบครวั

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดับปฐมวัย 45

คา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หิน
ระดับปฐมวยั

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา คา่ เปา้ หมาย
มาตรฐาน
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพื่อการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง ระดบั ดีเลิศ
1. สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึง ร้อยละ 80
ความปลอดภัย ร้อยละ 80
2. สถานศกึ ษาสง่ เสริมใหเ้ กดิ การเรยี นรู้เป็นรายบคุ คลและกลุ่ม เล่นแบบ ร้อยละ 80
รว่ มมอื รว่ มใจ
3. สถานศึกษาจัดให้มมี ุมประสบการณ์หลากหลาย มสี ่ือการเรียนรู้ เชน่ ระดบั ดเี ลิศ
ของเลน่ หนังสอื นทิ าน ส่ือจากธรรมชาติ สอ่ื สาหรับเด็กมดุ ลอด ปีนป่าย ร้อยละ 80
สื่อเทคโนโลยี สื่อเพ่ือการสืบเสาะหาความรู้ ระดบั ดเี ลิศ
รอ้ ยละ 80
2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ การเรียนร้เู พอ่ื สนับสนุนการจดั
ประสบการณ์ ร้อยละ 80
สถานศึกษาอานวยความสะดวก และให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ
วสั ดุ และอุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์และพฒั นาครู ระดบั ดเี ลศิ
ระดบั ดีเลิศ
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม รอ้ ยละ 80
1. สถานศกึ ษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับ ร้อยละ 80
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอตั ลกั ษณ์ที่สถานศึกษากาหนด จดั ทา
แผนพฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีสอดรบั กับมาตรฐานทีส่ ถานศกึ ษา
กาหนดและดาเนินการตามแผน
2. สถานศกึ ษามีการประเมนิ ผลและการตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาติดตามผลการดาเนนิ งานและจัดทารายงานผลการประเมิน
ตนเองประจาปีนาผลการประเมินไปปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาโดยผ้ปู กครองและผ้เู กีย่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและจัดสง่
รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หน่วยงานตน้ สงั กัด

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมให้เดก็ มพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็ม

ศกั ยภาพ
1. ครวู ิเคราะหข์ ้อมูลเด็กเปน็ รายบคุ คล

2. ครจู ดั ทาแผนการจดั ประสบการณจ์ ากการวเิ คราะหม์ าตรฐานคุณลักษณะ
ทพี่ งึ ประสงคใ์ นหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยมกี จิ กรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการ
ของเดก็ ครบทกุ ด้านทัง้ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คม และ
ดา้ นสตปิ ญั ญา ไม่เน้นการพฒั นาด้านใดด้านหนงึ่ เพียงดา้ นเดียว

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 46

คา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นบ้านหนองจระเข้หิน
ระดบั ปฐมวัย

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย
มาตรฐาน
3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสุข ระดบั ดเี ลิศ
1. ครูจัดประสบการณ์ทเี่ ชือ่ มโยงกับประสบการณ์เดิม รอ้ ยละ 80
2. ครใู หเ้ ดก็ มีโอกาสเลือกทากิจกรรมอยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการ ความ ร้อยละ 80
สนใจความสามารถ ตอบสนองตอ่ วธิ ีการเรยี นรู้ของเดก็ เปน็ รายบุคคล
หลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย เด็กได้เลือกเลน่ ระดบั ดเี ลิศ
เรียนรู้ ลงมือกระทาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง รอ้ ยละ 80

3.3 จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั ร้อยละ 80
1. ครูจดั ห้องเรยี นสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้นื ท่ีแสดงผลงานเดก็
พ้ืนที่สาหรบั มุมประสบการณแ์ ละการจดั กิจกรรม เดก็ มีสว่ นรว่ มในการจดั ระดบั ดีเลศิ
สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดแู ลตน้ ไม้ เป็นตน้ ร้อยละ 80
2. ครใู ชส้ อื่ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับกบั ชว่ งอายุ ระยะความสนใจ และวถิ ี
การเรยี นร้ขู องเด็ก เช่น กล้องดจิ ิตอล คอมพิวเตอรส์ าหรบั การเรียนรู้ รอ้ ยละ 80
กลุม่ ยอ่ ย สื่อกระต้นุ ทใี่ ห้คดิ และหาคาตอบ

3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเดก็
ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาการเดก็
1. ครปู ระเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกจิ วตั รประจาวันดว้ ยเครอ่ื งมือ
และวิธีการทีห่ ลากหลาย ไมใ่ ชแ้ บบทดสอบ วเิ คราะหผ์ ล การประเมนิ
พัฒนาการเดก็ โดยผ้ปู กครองและผเู้ ก่ียวข้องมสี ว่ นร่วม
2. ครูนาผลการประเมินที่ได้ไปพฒั นาคุณภาพเด็กและแลกเปล่ียนเรยี นรู้
การจดั ประสบการณท์ ี่มีประสิทธภิ าพ

การกาหนดคา่ เป้าหมาย

1. ศกึ ษาขอ้ มูลเดิม ผลการประเมนิ ต่างๆ ท่ีผ่านมา เพื่อเป็นขอ้ มลู ฐานในการกาหนดค่าเป้าหมาย

2. การกาหนดคา่ เป้าหมาย แตล่ ะมาตรฐาน กาหนดเปน็ ระดับคุณภาพ 5 ระดบั เพอ่ื ให้

สอดคลอ้ งกับการประเมิน ดังน้ี

ระดับ ยอดเย่ียม รอ้ ยละ 90-100

ระดับ ดเี ลศิ ร้อยละ 80-89

ระดบั ดี รอ้ ยละ 70-79

ระดับ ปานกลาง รอ้ ยละ 60-69

ระดับ กาลงั พัฒนา ร้อยละ 50-59

3. การกาหนดคา่ เปา้ หมายในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกาหนดเป็นระดับคุณภาพ หรอื เปน็

ร้อยละ ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 47

ผลการนเิ ทศ ติดตาม และตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
ตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
โรงเรียนบ้านหนองจระเขห้ นิ อาเภอจกั ราช
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2

องคป์ ระกอบ/ประเดน็ การนิเทศ ติดตามและตรวจสอบ คะแนน ระดบั แปล
เฉล่ีย คุณภาพ ความหมาย
องคป์ ระกอบท่ี 1 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ 5.00
สถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดับ 5 ยอดเยย่ี ม
5.00
องคป์ ระกอบท่ี 2 การจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 5 ยอดเยีย่ ม
ของสถานศกึ ษาท่ีม่งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ 4.00
สถานศกึ ษา 3.00 4 ดเี ลศิ
3.00 3 ดี
องค์ประกอบที่ 3 การดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจัด 3 ดี
การศึกษาของสถานศกึ ษา 3.00
3 ดี
องค์ประกอบที่ 4 การจัดใหม้ ีการประเมนิ ผลและ 4.33
ตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 4 ดเี ลิศ

องคป์ ระกอบที่ 5 การตดิ ตามผลการดาเนนิ การเพ่ือพฒั นา
สถานศกึ ษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

องค์ประกอบท่ี 6 จดั ส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหแ้ ก่หนว่ ยงานตน้ สงั กัดหรอื หนว่ ยงานกากบั ดูแล
สถานศกึ ษาเป็นประจาทกุ ปี

สรุปผลการนิเทศ ติดตาม และตรวจสอบ
ตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 48

ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ.
ผลการประเมินรอบสาม (ระหวา่ งวนั ท่ี 18 – 20 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2556)
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของสถานศึกษา ดังแสดงในตารางตอ่ ไปน้ี

ตวั บง่ ชี้ระดับการศึกษาปฐมวยั ตอ้ งปรับปรุง ระดับคุณภาพ ดี ดีมาก
เพื่อการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม อยา่ งเร่งด่วน
ต้อง พอใช้  
กลุ่มตวั บ่งชี้พื้นฐาน ปรับปรงุ  
 
1. เด็กมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายสมวยั  
2. เดก็ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวัย  
3. เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสังคมสมวยั 
4. เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาสมวัย
5. เดก็ มคี วามพร้อมศึกษาต่อในขน้ั ต่อไป 
6. ประสทิ ธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนร้ทู เี่ นน้ เดก็ เป็นสาคัญ
7. ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา
8. ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกันคณุ ภาพภายใน

กลุม่ ตัวบ่งชีอ้ ตั ลักษณ์

9. ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน พนั ธกจิ
และวัตถุประสงคข์ องการจดั ตง้ั สถานศกึ ษา

10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ทสี่ ง่ ผลสะทอ้ นเปน็ เอกลักษณ์
ของสถานศกึ ษา

กลุ่มตวั บง่ ชมี้ าตรการส่งเสริม

11. ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพอ่ื สง่ เสริมบทบาทของ
สถานศึกษา

12. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษา
มาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลิศทส่ี อดคลอ้ งกับแนวทางการ
ปฏริ ปู การศกึ ษา

อัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา...คอื สวมชดุ ขาวทกุ วนั ศกุ ร์

เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา คอื รา่ เริงแจม่ ใส
โครงการตามมาตรการเสริม คอื -

สรุป โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ ภายนอกรอบสามอยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี โดยมคี ่าเฉล่ีย 80.44
ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ  รบั รอง  ไมร่ ับรอง
กรณที ีไ่ มไ่ ด้รบั การรบั รอง เนือ่ งจาก .......................................................................

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวัย 49

ข้อเสนอแนะจากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษารอบสามของ สมศ. ระดบั ปฐมวยั
จุดเด่น
1. ด้านผลการจดั การศกึ ษา
1) เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจสมวัย เช่น มีความตระหนักในตนเอง

บอกความต้องการหรือความพอใจของตนเองได้ มีความมุ่งม่ันตั้งใจ เลน่ และปฏบิ ัติกจิ กรรมร่วมกบั ผู้อืน่ ได้
มคี วามช่นื ชอบและตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว ชืน่ ชอบและสนใจใครร่ ูธ้ รรมชาติ
รอบตัวและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

2) เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มสี มรรถภาพร่างกาย และสมรรถภาพทางกลไก
สมวยั เช่น มีรปู รา่ งสมสว่ น สามารถว่งิ เลน่ ไดโ้ ดยไม่เหนื่อยง่าย

3) เด็กมีพฒั นาการด้านสงั คมสมวัย เชน่ มคี วามซือ่ สตั ย์ รจู้ ักประหยดั รู้คุณผู้อนื่
มเี มตตากรณุ า มีน้าใจ ปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทยและหลกั ศาสนาทน่ี บั ถอื

2. ด้านการบรหิ ารการจัดการศกึ ษา ไม่มี
3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ไมม่ ี
4. ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน

สถานศกึ ษามปี ระสทิ ธผิ ลของระบบประกันคุณภาพภายใน เช่น มีระบบการประกัน
คณุ ภาพภายในตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบัติเกย่ี วกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศกึ ษาขั้น
พื้นฐาน 8 ขอ้ มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 11 มาตรฐาน ทสี่ อดคล้องกับ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มกี ารประเมนิ ตนเองทุกปีและรายงานต้นสังกัดและสาธารณชน

จดุ ท่ีควรพัฒนา
1. ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา
1) เดก็ บางสว่ นไดร้ บั การพฒั นาด้านรา่ งกายที่ยังไม่เพยี งพอ ส่งผลให้มนี า้ หนกั และ

สว่ นสูงไม่เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามมัย กระทรวงสาธารณสขุ
2) เดก็ บางส่วนไดร้ ับการพฒั นาด้านสติปัญญาสมวยั ท่ยี งั ไมเ่ พยี งพอในทกุ ดา้ น เชน่

ในด้านความใฝร่ ้สู มวัย การพัฒนาในด้านการมีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
3) สถานศึกษายงั ไม่โดดเดน่ ในหลายๆ ด้าน เช่น ผลการพัฒนาที่บรรลตุ ามปรชั ญา

ปณธิ าน วิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจ ผลการพฒั นาตามจุดเนน้ จดุ เด่น และผลการดาเนนิ งานตามโครงการ
พิเศษ

2. ด้านการบริหารจัดการศึกษา
1) สถานศกึ ษาไม่โดดเด่นในการพัฒนาในด้านประสิทธิภาพในการจัดสภาพแวดลอ้ ม

ภายนอกอาคารใหเ้ อ้ือต่อการเรียนรู้ ปลอดภยั และถกู สุขลักษณะ เชน่ การจัดพนื้ ท่สี นามเดก็ เลน่ การจดั
แหลง่ เรียนรู้ การจดั สถานท่ีเกบ็ นา้ สะอาด เป็นตน้

2) สถานศกึ ษาไม่โดดเดน่ ในการพัฒนาในดา้ นประสิทธิภาพในการจดั สภาพแวดลอ้ ม
ภายในอาคารใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้ ปลอดภยั และถูกสุขลกั ษณะ เชน่ การจัดโต๊ะ เก้าอ้ี ของเลน่ ของใช้
การจดั พื้นทแ่ี ปรงฟนั ลา้ งมือ เปน็ ต้น

3) สถานศึกษาไมโ่ ดดเด่นในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพในการจดั ให้มมี าตรการดา้ น
ความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจบ็ ในเด็ก เช่น การจดั ระบบเฝา้ ระวงั และวเิ คราะห์ความเส่ียง
และการจัดกจิ กรรมแก้ปัญหาตา่ ง ๆ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดับปฐมวัย 50

3. ด้านการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั
1) ครยู ังไมเ่ ดน่ ชดั ในการสง่ เสรมิ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการดา้ นร่างกายบางด้าน เช่น

การจดั ใหเ้ ดก็ เลน่ เกมออกกาลังกาย การใหเ้ ด็กเลือกกจิ กรรมตามความถนดั
1) ครูยงั ไม่เด่นชัดในการสง่ เสริมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาการดา้ นรสตปิ ัญญา เช่น การให้

เด็กแสดงความคิดสร้างสรรค์
2) ครยู ังไม่เดน่ ชดั ในการสง่ เสริมการเรียนรเู้ พ่ือทต่ี อบสนองตอ่ ธรรมชาตแิ ละพัฒนาการ

ของเด็ก เช่น การจดั สภาพแวดล้อม การจดั ระบบประเมินพฒั นาการ การบันทกึ ผลประเมนิ พฒั นาการ
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
ประสทิ ธภิ าพของระบบประกันคุณภาพภายในยังไมโ่ ดดเดน่ ในบางดา้ น เชน่ การนิเทศ

ตดิ ตามประเมนิ ผล การดาเนินงานของคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในสม่าเสมอและตอ่ เน่ือง

ขอ้ แสนอแนะ
1. ด้านผลการจดั การศึกษา
1) เด็กควรได้รบั การพัฒนาด้านร่างกายให้มนี า้ หนกั และส่วนสูงเปน็ ไปตามเกณฑ์

มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ และพฒั นาในดา้ นการมีสขุ นสิ ยั สมวัย เช่น มีการล้างมอื
กอ่ นเข้าชั้นเรียน หลังเข้าหอ้ งน้า โดยสถานศึกษารว่ มมอื กบั คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง ใน
การจดั สรา้ งที่ล้างมอื ลา้ งหน้า แปรงฟันใหเ้ ด็กอยา่ งถาวร เพื่ออานวยความสะดวกใหก้ ับเด็ก

2) เด็กควรได้รับการพัฒนาด้านสติปัญญาสมวยั เชน่ จัดกจิ กรรมฝึกฝนด้านความ ใฝร่ ู้
สมวัย โดยสง่ เสริมใหเ้ ดก็ รักการอา่ น โดยครคู วรมกี ารปรบั เปล่ียนมุมหนงั สือให้มหี นังสอื ท่ีเพยี งพอและ
เหมาะสมสาหรับเด็ก ส่งเสริมการใฝ่รู้ในเร่ืองรอบตวั โดยการจดั กจิ กรรมและจัดให้มสี ือ่ ท่หี ลากหลาย
กระต้นุ ใหเ้ ด็กรูจ้ ักการต้งั คาถาม สารวจ เพิ่มขน้ึ สง่ เสริมให้เด็กได้รบั การพัฒนาในดา้ นการมจี ินตนาการ
และความคดิ สร้างสรรค์ โดยครไู ม่ควรวางกรอบในการทากิจกรรมให้เด็ก เช่น การระบายสรี ูปภาพ ควร
เปิดโอกาสใหเ้ ด็กไดว้ าดภาพ ปนั้ ดนิ นา้ มนั เลน่ บทบาทสมมตุ ิตามจนิ ตนาการให้มากข้นึ

3) สถานศึกษาควรเรง่ รดั พัฒนาการจดั กิจกรรมและประสบการณ์ตา่ ง ๆ ที่ส่งผลให้เด็กมี
พฒั นาการท่บี รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสัยทัศน์และพนั ธกิจ ตามจดุ เน้นและจุดเด่น และรวมท้ังควร
ดาเนินงามตามโครงการพเิ ศษใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายและเป็นแบบอยา่ งท่ีดีด้วย

2. ด้านการบริหารจดั การศกึ ษา
1) สถานศกึ ษาควรมีการพัฒนาในดา้ นประสทิ ธภิ าพในการจัดสภาพแวดล้อมภายนอก

อาคารให้เอื้อตอ่ การเรียนรู้ ปลอดภยั และถูกสขุ ลกั ษณะ โดยจัดให้มเี ครื่องเล่นทีเ่ หมาะสม มกี ารปรับปรุง
พนื้ ท่ีบริเวณสนามเดก็ เล่น ให้ปลอดภยั สวยงาม จดั สรรพนื้ ท่ใี ห้เป็นแหล่งเรยี นรู้ภายนอกห้องเรียนให้กับ
เดก็ เพ่ิมขึ้น จดั สถานท่สี าหรับเก็บน้าดืม่ ท่สี ะอาดเพ่อื เตรียมใหเ้ ดก็ เชน่ น้าดื่มของเด็กควรผา่ นการกรอง
แล้ว เป็นตน้

2) สถานศกึ ษาควรมีการพฒั นาในดา้ นประสิทธภิ าพในการจัดสภาพแวดล้อมภายใน
อาคารใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้ ปลอดภยั และถูกสขุ ลกั ษณะ เชน่ จัดหาและซ่อมแซมโตะ๊ เกา้ อี้ ของเล่น
และของใช้เด็กควรใหม้ ขี นาดเหมาะสม และมจี านวนเพยี งพอสาหรบั การเลน่ และการทากิจกรรมของเด็ก
รวมทง้ั จัดใหม้ ีพน้ื ท่ีสาหรับให้เด็กได้แปรงฟนั ล้างมือ และทาความสะอาดรา่ งกายอยา่ งเป็นสดั สว่ น

3) สถานศึกษาควรมีการพัฒนาประสิทธภิ าพในการจดั ให้มมี าตรการดา้ นความปลอดภัย
และการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก เชน่ การกาหนดนโยบายเรอื่ งความปลอดภยั ในการดูแลเดก็ เพื่อให้ครู

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 51

และผูป้ กครองปฏิบตั ิ จดั ให้มีระบบเฝ้าระวังและวเิ คราะหค์ วามเสีย่ ง และมกี ิจกรรมเพ่อื การแก้ปัญหาและ
ปอ้ งกนั ความปลอดภยั ทค่ี รอบคลุมทงั้ 6 ด้าน ซึ่งได้แก่ 1. ความปลอดภัยของอาคาร 2. ความปลอดภัย
ของผลิตภณั ฑ์ 3. การเดินทาง 4. ระบบปอ้ งกันภัยของบุคคล 5. ระบบฉกุ เฉนิ 6. ความปลอดภยั ในการ
จดั กิจกรรมการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง

3. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
1) ครูควรมีการส่งเสริมการเรียนรูเ้ พ่อื พัฒนาการด้านร่างกาย เช่น จัดโอกาสใหเ้ ดก็ ได้

เลน่ เกมออกกาลงั กายท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความสนใจของเด็ก ส่งเสริมใหเ้ ด็กสรา้ งสุข
นิสัยทด่ี ีในการรักษาความสะอาดโดยการลา้ งมอื ก่อนเข้าห้องเรยี น ก่อนทีจ่ ะหยบิ จบั อุปกรณข์ องเล่น ล้าง
มอื หลงั เข้าห้องน้า การเน้นย้าให้เดก็ สวมรองเท้าทุกคร้งั ท่ีเดนิ ออกนอกห้องเรียนเพ่ือป้องกันเชอื้ โรคและ
ความปลอดภัยแกร่ ่างกาย

2) ครคู วรมีการสง่ เสริมการเรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาการดา้ นสิตปัญญา เช่น จดั กจิ กรรมให้เด็ก
ไดส้ ารวจสบื คน้ และรจู้ กั การต้งั คาถามเพื่อสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกับสงิ่ ต่างๆ รอบตัว เช่น การสารวจสตั ว์
สารวจพืช สารวจใบไม้ในโรงเรยี น เป็นตน้ นอกจากนี้ควรสง่ เสริมให้เด็กไดแ้ สดงความคิดสรา้ งสรรค์อย่าง
อสิ ระ โดยครูไม่ควรวางกรอบการทางานให้กับเด็ก ควรใหเ้ ดก็ ได้ทากิจกรรมตามความคดิ ของเด็ก เช่น
การวาดภาพตามจินตนาการ การปน้ั ตามจินตนาการ การเลน่ บทบาทสมมุติ หรือการเล่าเรือ่ งตาม
จินตนาการ เป็นตน้

3) ครคู วรมกี ารสง่ เสรมิ การเรียนร้เู พอ่ื ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและพฒั นาการของเดก็
เช่น จดั สภาพแวดล้อมให้มีมุมประสบการณใ์ นห้องเรยี นให้เปน็ สัดสว่ นแยกออกจากกันอยา่ งชัดเจน เพ่มิ
อุปกรณ์ของเลน่ ให้หลากหลาย ให้มีความนา่ สนใจทเ่ี ด็กจะเข้าไปเล่น ระหวา่ งห้องเรียนอนุบาล 1 และ
อนบุ าล 2 ควรก้ันให้แยกออกจากกนั อยา่ งชัดเจนเพ่ือไม่ให้เป็นอปุ สรรคสาหรบั การจัดกจิ กรรมของครู
นอกจากนนั้ ครูควรมีการวางแผนจดั ระบบการประเมินพัฒนาการเด็กท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน และ
คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ มีการตดิ ตามบนั ทึกและประเมนิ พัฒนาการของเด็กอย่างสม่าเสมอด้วยวธิ ีการท่ี
หลากหลาย เช่น การประเมินแบบเป็นทางการโดยการใช้แบบสังเกตพฤติกรรม หรอื การประเมินแบบไม่
เปน็ ทางการ เช่น การบันทึกพฤติกรรม บนั ทึกคาพูดของเด็ก เปน็ ต้น และควรมีการนาผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กทุกดา้ นไปใช้เพ่ือการพฒั นาเด็กและพัฒนาแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนร้ใู ห้กบั เดก็
นอกจากนใ้ี นการประเมินพฒั นาการควรให้ผปู้ กครองได้เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมนิ เพ่ือเปน็ การพัฒนา
เดก็ ร่วมกนั

4. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน
ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาควรประสานกับหน่วยงานต้นสังกัด จัดกจิ กรรมการนิเทศ ติดตาม

ประเมินผลการดาเนินงานของคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในอย่างส่าเสมอและต่อเน่ือง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวัย 52

คณะทางาน

คณะทีป่ รกึ ษา

1. นายนพิ ล อาทติ ย์ตั้ง

2. นางสาวประภาภรณ์ จาเริญลาภ

3. นายเกริกฤทธ์ิ เจียนรมั ย์

4. นางวงเดอื น บลุ านาผาย

5. นายสุมติ ร ปดั ใจ

6. นายทวี วันสีวงศ์

7. นายแวน่ จาเริญลาภ

คณะดาเนินงาน

1. นางอรณุ ฉลอง ศริ พิ ร ณ ราชสมี า

2. นางสาวนงลักษณ์ คชสาร

3. นางสาวรัญชยา กาสาโรง

4. นางสาววนัสนันท์ พรานสุ ร

5. นางสาวจริยา ตอ้ ยหมื่นไวย

6. นายกฤษฎา ศรสี ันต์

7. นางสาวพัชราวรรณ แพงไธสง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 ระดับปฐมวยั 53

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 54

โรงเรยี นบ้านหนองจระเขห้ ิน
ตาบลหนิ โคน อาเภอจักราช จังหวดั นครราชสมี า
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ปฐมวยั 55


Click to View FlipBook Version