The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1F007648-441F-45D1-98DB-EA16221BAFB6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Papawee Tankamhaeng, 2023-01-22 08:50:22

Nervous system

1F007648-441F-45D1-98DB-EA16221BAFB6

Keywords: โรคในระบบประสาท

nervous system จัดทำ โดย นางสาวปภาวี ตันกำ แหง เลขที่48 ปวส. เวชระเบียน เสนอ อาจารย์อานนท์ ละอองนวล


คำ นำ รายงานเล่มนี้ จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา พยาธิ วิทยา เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องของ โรคในระบบ ประสาท และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กั น์ กั บการ เรียน ผู้จัดทำ หวังว่ารายงานเล่ทนี้จะเป็นประโยชน์กั น์ กั บผู้อ่าน ที่กำ ลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่


ส า ร บั ญ เ รื่ อ ง ห น้ า น้ โ ร ค อั ล ไ ซ เ ม อ ร์ โ ร ค ล ม ชั ก โ ร ค พ า ร์ กิ น สั น ป ล า ย ป ร ะ ส า ท อั ก เ ส บ ป ล อ ก ป ร ะ ส า ท อั ก เ ส บ โ ร ค ไ ม เ ก ร น อ อ ทิ ส ติ ก โ ร ค งู ส วั ด โ ร ค ค น แ ข็ ง โ ร ค ป ร ะ ส า ท 12345678910


โรคอัลไซเมอร์ Alzheimer สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์ โรคอัลไซเมอร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในสมองจนบางส่วนของ สมองทำ หน้าน้ที่ลดลง เกิดการฝ่อฝ่ทำ ให้กระทบกับการทำ งานของสมองส่วนนั้น และแสดง อาการต่างๆออกมา เช่น หลงลืมถามซ้ำ ๆ อาการของโรคอัลไซเมอร์เป็นอย่างไร เมื่อโรคดำ เนินไปจะทำ ให้เกิดความบกพร่องของการรู้คิดด้านอื่นร่วมด้วย เช่น หลงทาง คิดเลขไม่ได้ ไม่สามารถจัดการกิจวัตรประจำ วันขั้นพื้นฐานได้เอง มี ปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม และความผิดปกติทางจิตตามม การดูแลรักษา • การดูแลเรื่องกิจวัตรประจำ วันและการฝึกทักษะการเข้าสังคม • การดูแลปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม • การให้ความรู้กับผู้ดูแลผู้ป่วป่ย • การฟื้นฟูผู้ป่วป่ยสมองเสื่อมด้านกายภาพ • การดูแลด้านพฤติกรรมและจิตบำ บัด รหัสโรค G30.0


โรคลมชัก epilepsy อาการชัก เกร็งกระตุกทั้งตัว (ลมบ้าหมู) อาการระยะเกร็ง หมดสติอย่างรวดเร็ว ล้มลงอาจส่งเสียงไม่ ตั้งใจ มีอาการเกร็งทั้งตัวตาเหลือก กัดฟัน หยุดหายใจชั่วคราว อาการระยะกระตุก มีอาการ กระตุกแขน ขาติดต่อกันเป็นจังหวะอาจมีการกัดลิ้นหรือกระพุ้งแก้ม มีน้ำ ลายไหลเป็นฟอง หยุดหายใจ 2-3 นาที สาเหตุ สามารถเกิดขึ้นได้ในทั้งขณะหลับและขณะตื่น โดยมีความถี่ใน การเกิดแตกต่างกันไป พบมากในช่วงที่มีปัจจัยกระตุ้นเช่น อด นอน ไข้ ดื่มแอลกอฮอล์ ความเครียด ออกกำ ลังกายอย่างหนัก มี แสงกะพริบ เสียงดัง มีรอบเดือน เป็นต้น วิธีการรักษา รักษาตามสาเหตุที่พบร่วมกับการควบคุมอาการชัก หรือหากไม่พบสาเหตุต้อง หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ทำ ให้เกิดอาการชัก โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสมองและ ระบบประสาทจะพิจารณาการรักษา การรับประทานยากันชัก หรือการผ่าตัดซึ่ง ขึ้นอยู่กับผู้ป่วป่ยแต่ละราย รหัสโรค G40


สาเหตุโรคพาร์กินสัน โรคพาร์กินสันความจริงแล้วเริ่มที่ไหน ยังไม่มีใครทราบอย่างแท้จริง แต่ข้อมูลของการศึกษาในปัจจุบันได้บอก ถึงการเสื่อมของระบบประสาทในโรคพาร์กินสันว่าอาจเริ่มจากระบบประสาทอัตโนมัติส่วนปลายที่ควบคุมการ เคลื่อนไหวของลำ ไส้ ซึ่งสามารถอธิบายอาการท้องผูกซึ่งเป็นหนึ่งในอาการเตือนได้ และการเสื่อมของระบบ ประสาทจะค่อย ๆเพิ่มขึ้นมายังบริเวณก้านสมองส่วนล่างซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดอาการนอนละเมอ โรคพาร์กินสัน Parkinson disease อาการโรคพาร์กินสัน โรคพาร์กินสันมีอาการแสดงหลักที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Motor Symptoms) ประกอบด้วย • อาการเคลื่อนไหวช้า • อาการสั่นขณะอยู่เฉย • อาการแข็งเกร็ง • อาการทรงตัวลำ บาก การรักษาโรคพาร์กินสัน ปัจจุบันโรคพาร์กินสันยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถ รักษาให้อาการไม่แย่ลงได้ โดยการรักษา มีทั้งการรับประทานยา การทำ กายภาพบำ บัด รวมถึงการผ่าตัดในผู้ป่วป่ยที่ไม่ตอบสนองต่อยา รหัสโรค G20


สาเหตุของปลายประสาทอักเสบ เกิดบาดแผลหรือการกดทับที่เส้นประสาทบาดแผลที่อาจทำ ให้เส้นประสาทเกิดความเสียหาย เช่น อุบัติเหตุจาก การขับขี่ยานพาหนะ หกล้ม หรือบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา และการกดทับที่อาจทำ ให้เส้นประสาทเกิดความเสียหาย เช่นใส่เฝือก ใช้ไม้ค้ำ หรือการทำ ท่าทางซ้ำ ๆ เช่น พิมพ์งานมากๆ ปลายประสาทอักเสบ Peripheral Neuropathy อาการปลายประสาทอักเสบ • มีอาการเหน็บ น็ และชาตามมือและเท้า •มีอาการแสบ หรือเจ็บแปลบบริเวณที่ได้ผลกระทบ • กล้ามเนื้ออ่อนแรงโดยเฉพาะที่เท้า •เสียการทรงตัวและการประสานงานของอวัยวะในร่างกาย การรักษาปลายประสาทอักเสบ ยาบรรเทาอาการปวด ยาที่ซื้อใช้เอง เช่น ยาลดการอักเสบ (NSAIDs) ใช้บรรเทาอาการที่ไม่รุนแรง แต่หากมี อาการรุนแรง แพทย์อาจแนะนำ ให้ใช้ยาแก้ปวด นอกจากนั้น ยารักษาโรคที่มีส่วนประกอบของโอปิออยด์ (Opioid) เช่น ยาทรามาดอล (Tramadol) ยาออกซิโคโดน (Oxycodone) อาจทำ ให้ผู้ป่วป่ยติดใช้ยาได้ โดยยา ประเภทนี้จะสั่งโดยแพทย์เท่านั้นและจะใช้เมื่อการรักษาชนิดอื่นไม่ได้ผล รหัสโรค M792


ปลอกประสาทอักเสบ demyelinating disease อาการ เส้นประสาทตาอักเสบทำ ให้มีอาการตามัวลงอย่างเฉียบพลันในเวลาเป็นวันถึงหลายสัปดาห์ความ รุนแรงเป็นได้ตั้งแต่อาการตามัวเพียงเล็กน้อน้ยจนถึงตาบอดมืดสนิท อาการตามัวมักเป็นตาข้าง เดียวและภาพที่มองไม่ชัดมักเริ่มจากบริเวณตรงกลางของลานสายตา การรักษา การรักษาจำ เพาะ แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ 1.ระยะอาการกำ เริบเฉียบพลัน การรักษาหลักในปัจจุบัน คือ การฉีดยาสเตียรอยด์ทางหลอดเลือด 3-7 วัน ขึ้นกับอาการของผู้ ป่วป่ยและรับประทานยาสเตียรอยด์ต่อหลังจากยาฉีด เป็นระยะเวลาไม่เกิน 1-2 สัปดาห์ 2.การรักษาระยะยาว เนื่องจากธรรมชาติของโรคมีการกำ เริบเป็นระยะได้ จึงจำ เป็นต้องมียาเพื่อป้อป้งกันการกลับเป็นซ้ำ ซึ่งมีหลาย ชนิด มีทั้งชนิดยาฉีดใต้ผิวหนัง ยากินและยาฉีดทางหลอดเลือด กรณีที่การตอบสนองต่อยาไม่ค่อยดีหรือโรคเป็นรุนแรง สามารถ เลือกใช้ยาชนิดอื่นที่มีผลป้อป้งกันการกำ เริบได้ แต่มีผลข้างเคียงมากกว่ายาข้า สาเหตุ ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดโรคที่ชัดเจนแต่ปัจจัยที่อาจมีส่วนทำ ให้เกิดโรค ได้แก่ กรรมพันธุ์ ชนชาติ (คนไทยพบน้อน้ย) เชื้อไวรัสบางชนิด(เชื้ออีบีวี) ระดับวิตามินดีในเลือดต่ำ การสูบบุหรี่ เป็นต้น โรคนี้มักเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย พบบ่อยในวัยเจริญพันธุ์ อายุเฉลี่ย 20-40 ปี รหัสโรค G09


ไมเกรน Migraine อาการ ลักษณะการปวดศีรษะส่วนมากจะปวดตุ๊บๆ นานๆครั้งหรึอเกิน20นาที (ยกเว้นจะได้รับประทานยา) แต่บางครั้งถ้า เป็นรุนแรง อาจปวดนานเป็นวันๆหรือสัปดาห์ก็ได้ผู้ป่วป่ยบางรายอาจมีปวดตื้อๆสลับกับปวดตุ๊บๆในสมองก็ได้ สาเหตุ เป็นที่ทราบกันดีว่าตัวกระตุนหรือทำ ให้เกิดอาการของโรคไมเกรน(MIGRAINE) มากขึ้นได้แก่ 1.ภาวะเครียด 2. การอดนอน 3. การขาดการพักผ่อน หรือทำ งานมากเกินไป 4.เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 6.อาหารบางชนิด เช่น กล้วยหอม เนยแข็ง ช็อกโกแลต การรักษา มักรักษาไม่หายด้วยยาแก้ปวดพาราเซตามอลธรรมดา ยาที่ได้ผลดีคือ ยาแก้ ปวดแอสไพริน ขนาด 2 เม็ด ในขณะปวดแต่ข้อระวัง ห้ามรับประทาน แอสไพรินในขณะท้องว่าง และผู้ป่วป่ยโรคแผลในกระเพาะอาหารห้ามรับ ประทานแอสไพรินเด็ดขาด เพราะอาจเกิดเลือดออกในกระเพาะได้มากๆ และ อาจทำ ให้ถึงแก่กรรมได้ รหัสโรค G43


ออทิสติก Autistic อาการ ทักษะด้านการเข้าสังคม ไม่สังสรรค์หรือแสดงความคิดเห็นใดๆ เพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยกับผู้อื่น ทักษะด้านการสื่อสาร เด็กออทิสติกจะไม่สามารถสื่อสารผ่านการพูด อ่าน เขียน หรือเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นสื่อสารได้ บางครั้งเด็ก อาจลืมถ้อยคำ หรือทักษะอื่นๆ สาเหตุ ปัจจุบันยังไม่มีการระบุสาเหตุหรือปัจจัยที่ก่อให้เกิดออทิสติกอย่างเป็นทางการเบื้องต้น สันนิษฐานว่าโรคนี้เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของยีน บางรายอาจเสี่ยงเป็นออทิสติกได้สูง หากบุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วป่ยเป็นออทิสติกอย่างไรก็ตามยังปรากฏเด็กออทิสติกอีก หลายรายที่บุคคลในครอบครัวไม่ได้มีปัญหาดังกล่าว การรักษา แม้อาการออทิสติกจะไม่มียาหรือวิธีทางการแพทย์ที่รักษาให้หายขาด แต่เด็ก ออทิสติกสามารถได้รับการดูแลอย่างถูกวิธีจากพ่อแม่และทีมดูแลเด็กออทิสติ ก อันประกอบไปด้วยแพทย์ นักจิตวิทยา นักแก้ไขการพูด นักกิจกรรมบำ บัด และคุณครูสอนเด็กพิเศษ ซึ่งจะช่วยให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะการเข้าสังคม และการสื่อสารให้ดีขึ้นและใช้ชีวิตปกติได้ รหัสโรค U615


โรคงูสวัด Herpes Zoster อาการ •ปวดแสบร้อนบริเวณ •ผื่นแดงขึ้นตรงบริเวณที่ปวดแล้วกลายเป็นตุ้มน้ำ ใส มักเรียงกันเป็นกลุ่มหรือ เป็นแถวยาว ตามแนวเส้นประสาทและจะแตกออกเป็นแผลต่อมาจะตกสะเก็ด สาเหตุ เป็นเชื้อตัวเดียวกับที่ทำ ให้เกิดอีสุกอีใสเมื่อหายจากโรคอีสุกอีใสแล้วเชื้อจะไปหลบซ่อนอยู่ใน ปมประสาทของร่างกายเมื่อเวลาที่ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำ กว่าปกติเชื้อที่แฝงตัวอยู่ก็จะแบ่งตัว เพิ่มจำ นวนทำ ให้ประสาทอักเสบ การรักษา รับประทานยาต้านไวรัสภายใน48-72ชั่วโมงหลังเกิดอาการจะช่วยให้รอยโรค ทางผิวหนังหายได้เร็วขึ้นและลดความรุนแรงของโรครวมถึงลดภาวะแทรกซ้อน ต่างๆได้ รหัสโรค B02


โรคคนแข็ง SMA อาการ • กล้ามเนื้อกระตุก มักจะเกิดในช่วงลำ คอ แขน และขา • ไวต่อสิ่งเร้า เช่น เสียงรบกวน การสัมผัส • ไม่อยากจะเดิน หรือออกไปไหน • กลัวเสียงรบกวน เช่น สุนัขเห่า แตรรถยนต์ สาเหตุ ปัจจุบันทั้งวิทยาศาสตร์ และการแพทย์ยังไม่มีข้อมูลแน่ชัดว่าเกิดจากอะไร แต่มีการประเมิน สันนิษฐานจาก ความจริงที่ว่าในระบบประสาทของมนุษนุย์จะมีเอนไซม์ที่ทำ หน้าน้ที่ในการเปลี่ยนสารสื่อประสาทกลูตาเมต (Glutamate) ให้เป็นกาบา (GABA) ซึ่งจะควบคุมเซลล์ประสาทสั่งการในการทำ กิจกรรมต่างๆ ของร่างกาย ยับยั้งการทำ งานของเซลล์ที่มากเกินไป การรักษา เนื่องจากยังไม่พบสาเหตุของการเกิดโรค จึงไม่มีวิธีรักษาโดยตรง แต่แพทย์จะรักษาตามอาการของผู้ป่วป่ย ได้แก่ • เบนโซไดอะซีปีน (Benzodiazepines) • บาโคลเฟน (Baclofen) • ยาสลายกล้ามเนื้อ • สเตียรอยด์ • สารละลายทางหลอดเลือดดำ


โรคประสาท Neurosis อาการ มีอารมณ์เณ์ครียด วิตกกังวลหรือกลัวเกินกว่าปกติ มักมีความคิดซ้ำ ซาก ย้ำ คิดย้ำ ทำ วนไปวนมา ในสิ่งที่ตนเองกังวล และมักคิดในแง่ร้ายร่วมด้วย อาการกลัวในสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น เหม่อลอยซึมเศร้า สาเหตุ สาเหตุทางสังคม และการใช้ชีวิตที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วทำ ให้การปรับตัวเข้า กับสังคมไม่ทันการถูกตอกย้ำ ทางสังคมในจุดด้อยที่ตนเองมี รวมไปถึงปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ เช่น ความยากจน การหย่าร้างเป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำ ให้เกิดความเครียดความวิตกกังวล และ ภาวะทางประสาทตามมา การรักษา 1.การใช้ยา 2.การรักษาทางจิตใจ 3.พฤติกรรมบำ บัด รหัสโรค F40


อ้างอิง https://www.chulabhornhospital.com/page.php?name=589 https://www.ram-hosp.co.th/news_detail/612 https://www.medparkhospital.com/content/parkinsons-disease https://www.pobpad.com/ปลายประสาทอักเสบ https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=1232 https://www.thonburihospital.com/Migraine.html https://www.pobpad.com/ออทิสติก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/shingles https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Stiff-Person-Syndrome https://www.winnews.tv/news/14859


Click to View FlipBook Version