The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติ ผอ.วชช.สงขลา นางสาวพรเพ็ญ ประกอบกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanicha, 2021-12-12 11:20:29

ประวัติ ผอ.วชช.สงขลา นางสาวพรเพ็ญ ประกอบกิจ

ประวัติ ผอ.วชช.สงขลา นางสาวพรเพ็ญ ประกอบกิจ

นางสาวพรเพ็ ญ
ป ร ะ ก อ บ กิ จ

ประวัติการศึกษา

2531 2549 2563

คุรุ ศาสตรบัณฑิต ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาภาษาอังกฤษ สาขาหลักสูตรและการนิเทศ สาขาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน
วิทยาลัยครู สงขลา มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประสบการณ์และความสำเร็จในการบริหารจัดการ

ประเภทองค์กรและระยะเวลาในการบริหาร

• ได้ร่วมเป็นคณะดำเนินงานก่อตั้งและเริ่มต้นการจัดการศึกษา
ของวิทยาลัยชุมชนสงขลาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550
• ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการวิทยาลัย
ชุมชนสงขลา คนที่ 1 มาอย่างต่อเนื่อง 3 วาระ หรือ 12 ปี
• ได้รับคัดเลือกให้เข้ารับการพั ฒนาตนเอง ในด้านการบริหาร
ณ สถาบันพระปกเกล้า เรื่อง การพั ฒนาศักยภาพผู้บริหาร
วิทยาลัยชุมชน

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ใ น ก า ร

บ ริ ห า ร ง า น ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า

• มีส่วนร่วมในการนำพาองค์กรเข้ารับการประเมินเพื่ อ
การประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับดีมาก ผลการ
ประเมิน 4.71 และผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์ กพร.
อยู่ในอันดับ 1 ของวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ โดยได้
คะแนนประเมิน คิดเป็นร้อยละ 96.62
• เป็นผู้ดำเนินการในฐานะสถาบันอุดมศึกษาพี่ เลี้ยงใน
การดูแลโรงเรียนเครือข่ายในการจัดการศึกษาเพื่ อการ
พึ่ งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยมีส่วนร่วมในการขับ
เคลื่อนการปฏิบัติงาน เพื่ อทำการเปิดโรงเรียนยุวชน
ชาวนา ณ โรงเรียนบ้านกระอาน โรงเรียนยุวชนชาว
ประมง ณ โรงเรียนบ้านเกาะแลหนัง จนประสบความ
สำเร็จ โรงเรียนมีหลักสูตรท้องถิ่นในเรื่องการทำนา
และการทำประมงซึ่งเป็นอาชีพของบรรพบุรุษให้ดำรง
อยู่คู่ชุมชนตลอดไป

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ ค ว า ม สำ เ ร็ จ ใ น ก า ร

ทำ ง า น ร่ ว ม กั บ เ ค รื อ ข่ า ย ห รื อ ชุ ม ช น

• มีส่วนร่วมในการบริหารงานร่วมกันกับเครือข่าย ทั้ง
เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเครือข่ายองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เครือข่ายสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน เครือข่าย
องค์กรธุรกิจเอกชนและเครือข่ายชุมชนต่างๆ
• สร้างความร่วมมือกับโรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือใน
การพั ฒนาครูปฐมวัย ให้มีความรู้ความสามารถในการจัด
กิจกรรมการสอน "ตามรอยพ่ ออยู่อย่างพอเพี ยงสืบสาน
ศาสตร์พระราชา" จนครูผู้สอนสามารถนำผลจาการพั ฒนา
ไปดำเนินการจัดกิจกรรมในโรงเรียนและได้รับรางวัลสื่อ
นวัตกรรมดีเด่นในระดับปฐมวัย
• เป็นผู้สร้างความตระหนักร่วมกันในการฟื้ นฟู ดูแลทะเล
หน้าบ้านให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ โดยร่วมกันทำ
กิจกรรมธนาคารปู สร้างวิถีชีวิตแบบใหม่ให้กับคนในชุมชน
ให้มีรายได้จากการท่องเที่ยวและจากการจำหน่ายสินค้า
ทางทะเลในรูปแบบต่างๆ
• ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา

ความสำเร็จในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล

• ปฎิบัติหน้าที่ในฐานะเลขานุการของสภาฯ มีหน้าที่ตรวจสอบและ
เสนอแนะหรือให้ข้อมูลต่อประธานหรือกรรมการ เพื่ อการตัดสินใจ
มีมติดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
• ปฎิบัติหน้าที่ในฐานะรองผู้อำนวยการต้องปฏิบัติหน้าที่ตามหลัก
ธรรมาภิบาลเป็นแบบอย่าง และช่วยผู้อำนวยการในการกำกับ
ตรวจสอบการปฏิบัติของทุกฝ่ายให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย
ถูกต้องโปร่งใส ยุติธรรมตามหลักธรรมาภิบาล

การยอมรับของสาธารณะหรือการได้รับรางวัลทาง
การบริหารจัดการ

• พ.ศ.2563 ได้รับโล่ห์เชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่นในการส่งเสริม
และพั ฒนาการศึกษาของชุมชนจากวิทยาลัยชุมชนสงขลา
• พ.ศ.2562 รับรางวัลผู้มีผลงานดีเด่นในจังหวัดชายแดนใต้โดย
ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
• พ.ศ.2562 ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติในฐานะผู้บริหารที่สนับ
สนุนการดำเนินงานของโครงการเสริมสร้างศักยภาพเด็กปฐมวัย
ไทยเพื่ อการปฏิบัติงานที่ดีงามตามรอยพระยุคลบาทสืบสาน
ศาสตร์พระราชา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
• พ.ศ. 2561 ได้รับมอบหมายจากกองอำนวยการรักษาความมั่น
คงภายในราชอาณาจักรให้เป็นกำพลปฏิบัติหน้าที่พิ เศษในส่วน
อำนวยการ

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการ
วิทยาลัยชุมชนในฐานะเป็นอุดมศึกษาเชิงพื้ นที่

การบริหารจัดการที่ตอบสนองนโยบาย
ของสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน

- นโยบายด้านการพั ฒนาผู้ด้อยโอกาสหรือคนจน เพื่ อสร้างโอกาสให้คนในชุมชน
ได้เข้าถึงบริการทางการศึกษาของรัฐระดับอุดมศึกษา ทั้งที่เป็นหลักสูตรฝึกอบรม
เช่น หลักสูตรอาหารขนมสำหรับหญิงหม้าย หลักสูตรอนุปริญญาที่ครอบคลุม
พื้ นที่ทั้ง 16 อำเภอใน 7 ศูนย์การเรียน และการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เช่น การ
สร้างอาชีพของกลุ่มทอผ้า กลุ่มช่างตัดเย็บเสื้อผ้า เป็นต้น
- นโยบายการพั ฒนาและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่ อจะส่งเสริมศักยภาพและขีดความ
สามารถในการจัดการศึกษา เช่น การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ให้กับนักศึกษา
ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรระยะสั้น และการจัดการฐานข้อมูลการจัดการอาชีพใน
รูปแบบออนไลน์

การจัดการศึกษาและการส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต

• การยกระดับฝีมือของชุมชนจนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่กลุ่มหรือชุมชนอื่นๆ เช่น กลุ่มตัดเย็บ กลุ่มชันโรง
• การจัดการเรียนรู้จากระบบ Online ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนในปัจจุบัน เช่น การใช้ระบบ Google
Classroom ที่นักศึกษาสามารถเรียนด้วยตนเองได้การใช้สื่อคลิปวิดีโอเพื่ อถ่ายทอดทักษะอาชีพต่างๆให้กับชุมชน
การใช้ระบบกลุ่มไลน์เพื่ อการติดตามผลการดำเนินงานของกลุ่มชุมชนหลังจากการจัดการเรียนรู้
• ปลูกฝังแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาตลอดชีวิตแก่นักศึกษา เพื่ อให้นักศึกษามีทัศนคติแรงจูงใจที่จะใฝ่รู้โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการเรียนรู้เพื่ อ Up - skill หรือ Re - skill เช่น การขายออนไลน์ การสร้างสื่อโฆษณาอย่างง่ายด้วย
ตนเอง
• จัดประสบการณ์การเรียนรู้รูปแบบการศึกษาดูงาน การฝึกงานฝึกประสบการณ์ต่าง ๆ และการเรียนรู้เพื่ อเสริม
สร้างและพั ฒนานวัตกรรมชุมชนส่งเสริมให้บริการด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาและแหล่งวิชาการ เพื่ อให้บริการที่
คนในชุมชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น มีศูนย์ฝึกอาชีพด้านการซ่อมคอมพิ วเตอร์ ด้านอาหารและการตัดเย็บ
เป็นต้น

การส่งเสริมการวิจัยในวิทยาลัยชุมชน

• กำหนดนโยบายส่งเสริมการวิจัย
• ส่งเสริมการดำเนินงานวิจัยของวิทยาลัยชุมชน
• ส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถด้านการวิจัย
• จัดสรรทุนวิจัย ให้มีความเหมาะสมรวมทั้งแสวงหาแหล่งทุนจากภายนอก
• จัดสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่าง ๆ
ให้กับนักวิจัย
• บริหารงบประมาณและทรัพยากรการวิจัย
ที่มีประสิทธิภาพ

ผลงานการวิจัยในขณะปฏิบัติหน้าที่
รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนสงขลา

1) การพั ฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนฐานภูมิปัญญาพื้ นที่ลุ่มน้ำคลอง
เทพา จังหวัดสงขลา
2) ท่องเที่ยววิถีวัฒนธรรมเมืองเทพา
3) การพั ฒนาผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4)การพั ฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่ อการจัดการท่องเที่ยวสีเขียวกรณีศึกษาอำเภอ
เทพา จังหวัดสงขลา

ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรประเภทวรรณกรรมจากหนังสือเรื่อง THEPHA HANDBOOK
เป็นผลงานชิ้นแรกของวิทยาลัยชุมชนสงขลาและของสถาบันวิทยาลัยชุมชน

งานวิจัยร่วมในเรื่องการพั ฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัยตามรอยเท้าพ่ ออยู่อย่างพอ
เพี ยง และเรื่องการพั ฒนาศักยภาพข่างตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีมุสลิม อำเภอเทพา

การบริหารงานบริการวิชาการ งานทำนุบำรุง
ศิลปะวัฒนธรรม และงานช่างศิลป์พื้นถิ่น

• วางแผน ควบคุม ติดตาม กำกับงานบริการวิชาการ การฝึกอบรม การวัดผล ติดดาม
ผลและประเมินผล รวมถึงสื่อและเทคโนโลยีการสอน ดูแลการดำเนินงานบริการวิชาการให้
เป็นไปตามหลักสูตร และระเบียบวิธีการของการเรียนการสอนที่สถาบันวิทยาลัยชุมชน
กำหนด
• การจัดกิจกรรมที่ฟื้ นฟู อนุรักษ์สืบสานพั ฒนาเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม การสร้างสรรค์
ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นรากฐานการพั ฒนาองค์ความรู้ที่ดีเพื่ อสร้างองค์ความรู้
หรือเกิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ตามนโยบายของสถาบันวิทยาลัยชุมชนและนโยบาย
รัฐบาล เช่น โครงการมหกรรมวิชาการกิจกรรม “มาเที่ยวเขาล้อน มาช้อนกุ้งเคย”
• อนุรักษ์และส่งเสริมช่างศิลป์พื้ นถิ่นให้มีการสืบทอดเผยแพร่และ ดำรงอยู่เพื่ อเป็นมรดก
ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่า เช่น งานช่างแกะสลักหนังชุมชนควนเนียง งานเครื่องปั้ นดิน
เผาชุมชนจะทิ้งหม้อ งานร้อยลูกปัดมโนราห์ชุมชนบ้านขาวและงานช่างแทงหยวกสาย
สกุลสงขลา เป็นต้น

การบริหารการเปลี่ยนแปลง
และการสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน

•สร้างแรงจูงใจสำหรับการเปลี่ยนแปลง ให้ทุกคนเห็นความสำคัญ
•สร้างทีมบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง เพื่ อการผลักดันให้ทั้งองค์กรของ
วิ ท ย า ลั ย ชุ ม ช น ส ง ข ล า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ด้
• ส ร้ า ง ทิ ศ ท า ง แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร เ รื่ อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
• ส ร้ า ง วิ ธี ที่ จ ะ ทำ ใ ห้ บุ ค ล า ก ร ย อ ม รั บ ร ะ บ บ ห รื อ ป รั บ ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ ห ม่
• เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ทำ ง า น ใ ห้ ผ ส ม ผ ส า น ไ ป กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม อ ง ค์ ก ร
•ประเมินผลเพื่ อค้นหา Best Practice หรือแนวปฏิบัติที่ดีขององค์กรต่อไป

วิสัยทัศน์สำหรับการบริหารงาน

“สร้างโอกาส สร้างปัญญา พั ฒนาชุมชนนวัตกรรม
เพื่ อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการพึ่ งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน”

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1

“สร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชุมชน”

ก ล ยุ ท ธ์

- เพิ่มโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษารูปแบบวิทยาลัยชุมชนโดยให้
ความสำคัญกับผู้ขาดโอกาสตามบริบทของกลุ่มเป้าหมาย
- สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและการสนับสนุนทรัพยากรใน

การเสริมสร้างโอกาสทางกาลรำศึดกั ษบาขั้ น

- มุ่งสร้างองค์กรสู่วิทยาลัยชุมชนคุณธรรม

ตั ว ชี้ วั ด

- ผู้ด้อยโอกาส(ผู้อยู่ในทะเบียนคนจน)ร้อยละ 100 เข้าถึงการศึกษารูปแบบ
วิทยาลัยชุมชน
- เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและสนับสนุนทรัพยากรสำคัญทางการ

ศึกษา มากกว่า 10 เครือข่ายลำ ดั บ ขั้ น

- บุคลากรทั้งหมดได้รับขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ร้อยละ
100 จากการส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ที่ดีขององค์กร (Good Governance)

โครงการ

- พัฒนาฐานข้อมูลทะเบียนคนจนเพื่อส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาอาชีพเพื่อ
ใช้เป็นฐานข้อมูลในการพัฒนากิจกรรมสนับสนุนภารกิจตามนโยบายรัฐบาล
และสถาบันวิทยาลัยชุมชน

- พัฒนาความร่วมมือกับสถาลบำันดักบารขั้ศนึกษาอื่นๆเพื่อการสนับสนุนทางวิชาการ

และทรัพยากรในการจัดการศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาในโครง
การส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสถาบันสันติศึกษามหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ในโครงการพัฒนาทักษะการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม
พหุวัฒนธรรม สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน สถาบันอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ใน
โครงการสิ่งประดิษฐ์เพื่อชุมชน เป็นต้น
- ดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงานด้วยคุณธรรมและความโปร่งใส

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2

“ยกระดับจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและบริการวิชาการเพื่ อ

สร้างสรรค์ปัญญาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลในยุค Next Normal”

ก ล ยุ ท ธ์

- จัดหลักสูตรและโปรแกรมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ตอบสนองความต้อง
การและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนด้วยสื่อเทคโนโลยี ระบบดิจิทัลให้
ครอบคลุมพื้นที่การจัดการศึกษา

- ออกแบบการจัดการเรียนรู้ทลี่ำสอดัดบคลขั้้อนงกับวิถีชีวิตใหม่และลดการออกกลางคัน

ของนักศึกษาด้วยระบบเทคโนโลยีการสอน Online คู่ขนานกับการสอน Onsite
- ใช้ระบบเทคโนโลยีสำหรับดำเนินงานของวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนการเรียน
รู้ตลอดชีวิตและการสร้างชุมชนเข้มแข็ง

ตั ว ชี้ วั ด

- จำนวนหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยเทคโนโลยีระบบดิจิทัลครบ
ทุกศูนย์การเรียน
- จำนวนหลักสูตรที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี จัดการสอน

Online ร้อยละ 100 ภายใต้แลนำวดัทบางขัอ้ นยู่ที่ไหนก็เรียนได้

- จำนวนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้เพื่อการดำเนินงานที่สนับสนุนการ
เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนมากกว่า 20 ระบบ เช่น E-teacher,E-Report (สำหรับ
ครู), E-Saraban, E-Library, E-Vote เป็นต้น

โครงการ

- พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ใช้สื่อเทคโนโลยีระบบดิจิทัล เช่น การ
ทำชุดวิชาผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองได้ เป็นต้น
- พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตใหม่ เช่น

การสอนออนไลน์การสอบอลอำนดไัลบน์ขกั้านรจัดระบบบริการวิชาการออนไลน์

กระบวนการประชุมเครือข่ายชุมชนออนไลน์ เป็นต้น
- พัฒนาระบบ E- College ด้วยฐานข้อมูลที่สำคัญเพื่อการบริหารจัดการที่
ทันสมัย เช่น การพัฒนาการสมัครออนไลน์ การลงทะเบียนออนไลน์ การจัด
ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาออนไลน์ การยืมคืนห้องสมุดออนไลน์ การสืบค้น
ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ในแต่ละวิชาที่จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ เป็นต้น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3

“สร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่ อสร้างชุมชนนวัตกรรม”

ก ล ยุ ท ธ์

- ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาการเพื่อสร้างนวัตกรรมชุมชนโดย
ใช้กระบวนการวิจัยรับใช้สังคมที่ข้าราชการครู สามารถนำไปขอใช้เลื่อน
ตำแหน่งทางวิชาการได้และนำข้อมูลที่ได้ถ่ายทอดกลับสู่ชุมชน

- จัดหลักสูตรและบริการทลาำงดวัิชบาขัก้ นารที่สามารถตอบสนองความต้องการที่

เปลี่ยนแปลงของชุมชนในบริบทที่เหมาะสมตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ของโลกปัจจุบัน บริหารจัดการโดยกระบวนการมีส่วนร่วม
- จุดประกายความฝันของทุกคนในชุมชนให้เกิดการระเบิดจากข้างในโดย
ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและกระบวนการวิจัยรับใช้สังคมเป็นตัวเร่งให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคลและชุมชน

ตั ว ชี้ วั ด

- จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการสร้างชุมชนนวัตกรรมด้วยกระบวน
การวิจัยรับใช้สังคม มากกว่า 5 เครือข่าย
- จำนวนหลักสูตรใหม่ที่เปิดบริการวิชาการและสอดคล้องกับสถานการณ์

การเปลี่ยนแปลงของโลกปัจลจำุบัดนั บมีขจั้ ำนนวนที่ มากกว่า 10 หลักสูตร

- จำนวนชุมชนที่เปลี่ยนแปลงด้วยระบบการพัฒนาด้วยกระบวนการมีส่วน
ร่วมและกระบวนการวิจัยรับใช้สังคมมากกว่า 20 ชุมชนครอบคลุม พื้นที่ทั้ง
16 อำเภอ

โครงการ

- พัฒนาระบบเครือข่ายเพื่อการสร้างชุมชนนวัตกรรมด้วยกระบวนการวิจัย
รับใช้สังคม
- พัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการพื้นฐานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

(SDGs) กับสถานการณ์การลเปำลีด่ยั บนแขั้ปนลงของโลกปัจจุบัน

- สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้จากองค์ความรู้การวิจัยและนวัตกรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4

“สืบสานภูมิปัญญาช่างศิลป์พื้ นถิ่นด้วยนวัตกรรม
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)”

ก ล ยุ ท ธ์

- พัฒนาทักษะการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) ที่นำไปสู่การสร้าง
ชุมชนนวัตกรรมด้านภูมิปัญญาช่างศิลป์พื้นถิ่น
- สร้างโอกาสให้ชุมชนเข้าถึงองค์ความรู้ด้วยการคิดเชิงออกแบบ (Design

thinking) เพื่อยกระดับศัลกำยดภั าบพขัใ้ นนการสร้างสรรค์การพัฒนานวัตกรรม

ภูมิปัญญาช่างศิลป์พื้นถิ่น สู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์นำไปสู่การพัฒนา
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
- สร้างระบบการทำงานด้วยกระบวนการความคิดเชิงออกแบบ (Design
thinking)ที่สามารถพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากฐานภูมิปัญญาช่างศิลป์
พื้นถิ่นในชุมชน เพื่อการสร้างรายได้
- พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาเพื่อการสืบสานและต่อยอดให้
สามารถจะสร้างรายได้ให้กับช่างศิลป์พื้นถิ่นในชุมชนอย่างเป็นรู ปธรรม
บูรณาการร่วมกับกระบวนการวิจัยและพัฒนา

ตั ว ชี้ วั ด

- จำนวนบุคลากรที่รับผิดชอบในการสร้างสรรค์นวัตกรรมชุมชนได้รับการ
พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพร้อยละ 100
- จำนวนชุมชนที่ได้รับการพัฒนาด้วยกระบวนการความคิดเชิงออกแบบมี

มากกว่า 20 ชุมชน ครอบคลลุมำพดืั้นบทีข่ัท้ั่นวจังหวัดสงขลาทั้ง 16 อำเภอ

- จำนวนนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากฐานภูมิปัญญาในชุมชน ที่สามารถสร้าง
รายได้ให้เพิ่มขึ้น มากกว่า 20 ชุมชนครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 16 อำเภอ
- จำนวนงานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาช่างศิลป์พื้น
ถิ่นจำนวนมากกว่าปีละ 1 เรื่อง

โครงการ

- พัฒนาคุณภาพของบุคลากรที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมชุมชน ด้าน
ภูมิปัญญาช่างศิลป์พื้นถิ่น
- พัฒนาชุมชนด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) เพื่อ

การพัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกับมหลาำวดิทั บยาขั้ลันยเครือข่ายที่อยู่ในพื้นที่ประกอบด้วย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
-ยกระดับการพัฒนาเชิงพื้นที่ด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จาก
ฐานภูมิปัญญาร่วมกับเครือข่ายทางวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัยทักษิณ
- เร่งรัดพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่สู่มืออาชีพเพื่อการวิจัยและพัฒนา

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5

เพิ่ มศักยภาพและยกระดับการพั ฒนาเศรษฐกิจฐานราก
สู่มาตรฐานสมรรถนะระดับสากล

ก ล ยุ ท ธ์

- เสริมสร้างและยกระดับการพัฒนาทักษะอาชีพทั้ง Up-skill และ
Re-skill เข้าสู่มาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพระดับสากล ร่วมกับสถาบัน

คุณวุฒิวิชาชีพ

- ส่งเสริมการพัฒนาแบบอลงำค์ดรัวบมขัท้ี่นสามารถจะเชื่อมโยงประเด็นงานเสริม

สร้างเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของชุมชนเข้าด้วยกันเพื่อการพัฒนาเข้าสู่
มาตรฐานสมรรถนะสากล
- พัฒนาและยกระดับเศรษฐกิจจากชุมชนฐานรากชุมชนกลุ่มเปราะบางและ
ผู้ด้อยโอกาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน ครอบคลุม
พื้นที่บริการ 16 อำเภอ
- สร้างชุมชนต้นแบบในการที่จะยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากเข้า
สู่มาตรฐานสมรรถนะสากลเพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และขยายผลสู่
ชุมชนอื่นๆ

ตั ว ชี้ วั ด

- จำนวนหลักสูตรพัฒนาทักษะอาชีพ ทั้ง Up-skill และ Re-skill ได้รับ
การพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพระดับสากล จำนวนมากกว่า 10 หลักสูตร
เช่น การตัดเย็บเสื้อผ้า การทอผ้า การเกษตร ธุรกิจด้านเกษตร เป็นต้น

- จำนวนหลักสูตรที่พัฒนาทัลกำษดะัอบาขชั้ีพนแบบองค์รวมเข้าสู่สมรรถนะ วิชาชีพ

ระดับสากล จำนวนมากกว่า 10 หลักสูตร เช่น หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ
หลักสูตรกู้ชีพกู้ภัย หลักสูตรอาหารและเครื่องดื่ม เป็นต้น
- จำนวนชุมชนฐานรากชุมชน กลุ่มเปราะบางและชุมชนผู้ด้อยโอกาสได้รับ
พัฒนาทักษะอาชีพ จำนวนมากกว่า 10 ชุมชนครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 16 อำเภอ
เช่น กลุ่มสตรีหม้ายผู้ผลิตอาหารขนม ตำบลสะกอม อำเภอเทพา เป็นต้น
- จำนวนชุมชนต้นแบบการได้รับพัฒนาการยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากเข้าสู่สมรรถนะสากลจำนวนมากกว่า 10 ชุมชนครอบคลุมพื้นที่ทั้ง
16 อำเภอ เช่น ชุมชนผู้ผลิตกาแฟบ้านโหนด บ้านห้วยเต่า บ้านบาโหย
อำเภอสะบ้าย้อย เป็นต้น

โครงการ

- ยกระดับการพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพ Up-skill และ Re-skill ในการ

พัฒนาเชิงพื้นที่

- ยกระดับในการพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพที่เชื่อมโยงงานสร้างเศรษฐกิจ และ

คุณภาพชีวิตชุมชน ลำ ดั บ ขั้ น

- ส่งเสริมการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ผู้ด้อยโอกาสในการพัฒนาอาชีพ

เพื่อการพึ่งพาตนเอง

- สร้างเครือข่ายชุมชนต้นแบบการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากเข้าสู่สมรรถนะสากล

ผลของดำเนินการตามประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์
ทำให้เกิดการพัฒนาในภาพรวม ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม

และส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศ ชุมชนมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สามารถแก้ปัญหาด้วยปัญญา ที่มีวิทยาลัยชุมชนสงขลา
เป็นที่พึ่งเคียงข้างชุมชนได้อย่างยั่งยืนตลอดไป


Click to View FlipBook Version