The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องที่ 2 การปฐมพยาบาลการยกและการเคลื่อนย้าย
อ.ธนกร สิริกุล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanicha, 2021-03-21 00:50:55

การปฐมพยาบาลการยกและการเคลื่อนย้าย

เรื่องที่ 2 การปฐมพยาบาลการยกและการเคลื่อนย้าย
อ.ธนกร สิริกุล

การยกและการเคล่ือนย้าย

วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา
กลุ่มงานหลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์
อาจารยธ์ นกร สิริกลุ

คาจากดั ความ

การนาผู้ป่ วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บ
ออกจากทเ่ี กดิ เหตุ ด้วยวธิ ีการยก แบก หาม
ลาก พยงุ เดนิ

เหตุผลทสี่ าคญั ในการเคลื่อนย้าย

1. อาการของผู้ป่ วย
หรือผู้บาดเจบ็ ไม่
ปลอดภยั

เหตุผลทส่ี าคญั ในการเคล่ือนย้าย

2. สถานการณ์ในท่ี
เกดิ เหตุไม่ปลอดภยั

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

1. ประเมิน
สถานการณ์และ
อาการของผู้บาดเจ็บ

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

2. ปฐมพยาบาล
ก่อนการเคลื่อนย้าย
ยกเว้น สถานการณ์ไม่
ปลอดภัย

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

3. ห้ามทาให้
ผู้บาดเจบ็ ได้รับ
บาดเจบ็ มากขนึ้

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

4. ใช้วธิ ีการและ
อปุ กรณ์ในการ
เคล่ือนย้ายท่ี
เหมาะสม

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

5. จดั สถานท่พี กั
รอให้ปลอดภัย

หลกั ในการเคล่ือนย้าย

6.นาส่ ง
สถานพยาบาลที่
เหมาะสม

ข้อควรระวงั ในการเคล่ือนย้าย

1. ความปลอดภยั ของผู้ได้รับบาดเจบ็

• ระวงั การบาดเจบ็ ทก่ี ระดูก
คอและไขสันหลงั

ข้อควรระวงั ในการเคลื่อนย้าย

2. ขณะนาส่งต้อง
สังเกตอาการ
ผู้บาดเจบ็ อย่างใกล้ชิด

ข้อควรระวงั ในการเคลื่อนย้าย

3. ความปลอดภยั ของผู้ช่วยเหลือ

• ท่าทางการยกทผ่ี ดิ

ข้อควรระวงั ในการเคล่ือนย้าย

4. ภยั คุกคามท่ี
กาลงั ดาเนินอยู่

การจดั ท่าผู้ป่ วยฉุกเฉิน

ในการยกและเคล่ือนย้ายผู้ป่ วย
นอกจากต้อง

มกี ารยดึ ตรึงอย่างดี และต้องเลือกใช้
อปุ กรณ์ทเี่ หมาะสมกบั อาการของผู้ป่ วยแล้ว

การจดั ท่าให้ผู้ป่ วยตามพยาธิ
สภาพกม็ ีความสาคญั ไม่แพ้กนั คือ

การจดั ท่าเพ่ือรอการเคล่ือนยา้ ย

ผปู้ ่ วยท่ีไม่รู้สึกตวั
และไม่มีขอ้ สงสยั วา่
ไดร้ ับบาดเจบ็ ท่ีกระดูก
สนั หลงั
ท่าท่ี 1. จดั ท่านอนในท่าพกั ฟ้ื น

ท่าท่ี 1. จดั ท่านอนในท่าพกั ฟ้ื น

การจดั ท่าเพ่ือรอการเคลื่อนย้าย

• ผู้ป่ วยทม่ี อี าการแสดง
ของภาวะ Shock หน้า
ซีด เหงื่อออก ตวั เยน็
ชีพจรเบาเร็ว

ท่าที่ 2. ควรนอนศีรษะตา่ ยกปลายเท้าสูง ประมาณ 8-12 นิว้ และให้มอบอุ่นแก่ผ้ปู ่ วย

การจดั ท่าเพื่อรอการเคล่ือนย้าย

• ผู้ป่ วยหมดสติ หายใจ
ได้ มเี ลือดออกในปาก

ท่าท่ี 3. จดั นอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึง่

การจัดท่าเพื่อรอการเคล่ือนย้าย

ผู้ป่ วยทมี่ อี าการ
ปวดท้องหรือบาดเจ็บใน
ช่องท้อง มแี ผลทหี่ น้า
ท้อง

ท่าท่ี 4. นอนหงาย ชันเข่า เพื่อลดอาการปวด

การจดั ท่าเพ่ือรอการเคลื่อนยา้ ย

ผปู้ ่ วยที่มีอาการบาดเจบ็
ของศีรษะ ไม่มีขอ้ สงสยั วา่
ไดร้ ับบาดเจบ็ ที่กระดูกสันหลงั

ท่าท่ี 6. ใหจ้ ดั นอนศีรษะสูง ประมาณ 45 องศา เพ่ือลดความดนั ภายใน
กระโหลก

จดั ท่าเพื่อรอการเคลื่อนยา้ ย

ผปู้ ่ วยท่ีสงสยั วา่
ไดร้ ับบาดเจบ็ ท่ีกระดูกสันหลงั
ตอ้ งไดร้ ับการยดึ ตรึงดว้ ย
อุปกรณ์การยกและเคล่ือนยา้ ย
ดว้ ย Spinal board เสมอ

ท่าท่ี 7

ประเภทของการเคลื่อนยา้ ย
1. การเคล่ือนยา้ ยแบบเร่งด่วน

• เป็ นการเคล่ือนย้ายผู้ป่ วยโดยเร่งด่วน เมื่ออาจเกดิ อนั ตรายต่อผู้ป่ วย
เช่นขณะมีเปลวไฟ กาลงั จะเกดิ ระเบิดจากสารพษิ

• เหตุการณ์ทร่ี ุนแรง ผู้ป่ วยกาลงั มีภาวะคุกคามต่อชีวติ แต่ไม่สะดวกใน
การให้การช่วยเหลือ อาจไม่สามารถทจี่ ะนาอปุ กรณ์มาช่วยเหลือได้
ทันการ

“ใช้เมื่อจาเป็ นอาจก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อกระดูกสันหลงั ได้ง่าย”

การเคล่ือนยา้ ยแบบเร่งด่วน

2. การเคลื่อนยา้ ยแบบด่วน

เป็ นการเคล่ือนย้ายทเ่ี ร็วกว่าปกติ เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่ วย
ภายใต้เงื่อนไขต่างๆแต่ยงั ไม่มภี าวะคุกคามต่อชีวติ ในขณะน้ันเช่น กรณีตดิ ใน
ซากรถ มีบาดแผลและกระดูกหักแต่รู้สึกตัวผู้ทอ่ี ยู่ในภาวะช็อค ผู้ทตี่ ้องรีบ
ผ่าตดั สมอง

2. การเคล่ือนยา้ ยแบบด่วน

3.การเคลื่อนยา้ ยแบบไม่รีบด่วน

การช่วยเหลือผู้ทม่ี อี าการไม่ฉุกเฉินไม่มภี าวะคุกคาม
ต่อชีวติ รู้สึกตัวดี และรอเวลาในการรักษาได้ สภาวะแวดล้อมมี
ความปลอดภัย

“ ถ้าเลอื กได้ควรเลอื กการเคล่อื นย้ายแบบน้ี เพราะสามารถเตรียมคน
หาอปุ กรณ์อย่างเหมาะสม ”

3.การเคล่ือนยา้ ยแบบไม่รีบด่วน

อ้มุ แบก 4 คน

การเคล่ือนย้ายแบ่งเป็ น 2 ประเภท

1. การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน

2. การเคลื่อนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

การเคล่ือนย้ายแบบฉุกเฉิน

(1) ดงึ เสื้อทอ่ี ย่บู ริเวณคอกบั ไหล่ (2) การลากโดยวธิ ี
ของผู้เจบ็ ป่ วยฉุกเฉิน การสอดแขน
ใต้รักแร้
(3) การลากทางปลายเท้า
(4) การลากโดยใช้ผ้าห่ม

การเคล่ือนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(1) การช่วยเหลือใช้ 1 คน
การอ้มุ ใชก้ บั ผปู้ ่ วยฉุกเฉินน้ำหนกั ตวั นอ้ ย

ไม่มีบำดแผลรุนแรงหรือกระดูกหกั

การพยงุ เดนิ

การเคล่ือนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(2) การช่วยเหลือโดยใช้คนสองคน
การนั่งเก้าอี้ เหมาะกบั การขึน้ ลงบันได

ไม่เหมาะกบั รายทไี่ ด้รับบาดเจบ็ ส่วนคอ หลงั และขา

การอุ้มและการยก เหมาะกบั รายทห่ี มดสติแต่ไม่ใช่รายท่ี

บาดเจบ็ ทล่ี าตัว
หรือกระดูกหัก

การเคลื่อนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(2) การช่วยเหลือโดยใช้คนสองคน
การทาเปลมือ เหมาะกบั รายทบ่ี าดเจบ็ ไม่รุนแรง

(1) (2) (1)
(2)
การพยุงเดนิ

การเคลื่อนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(3) การช่วยเหลือโดยใช้ 3 คน ผู้เจบ็ ป่ วยฉุกเฉินอยู่ในท่านอนหงาย

(1) (2)

(3) (4)

การเคลื่อนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(4) ผู้ช่วยเหลือมากกว่า 3 คน ในกรณผี ู้ช่วยเหลือตัวเลก็ กว่าผู้เจบ็ ป่ วยฉุกเฉิน

(1) (2) (3)

การเคล่ือนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(5) การใช้ผ้าห่มแทนเปล วธิ ีนีใ้ ช้ในการเคลื่อนย้ายในระยะส้ันๆ ไม่ใช้
ในรายทส่ี งสัยกระดูกคอและกระดูกสันหลงั หัก

การเคล่ือนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน

(6) การใช้เปลหาม

ในกรณสี งสัยว่า
มกี ารบาดเจบ็ ทก่ี ระดูกคอและกระดูกสันหลงั

จะไม่ให้เคลื่อนย้าย
ต้องใช้คนทฝ่ี ึ กทกั ษะมาโดยเฉพาะ


Click to View FlipBook Version