The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานกลึงชิ้นงาน
Lathe

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mykeetalchalee, 2021-05-21 00:11:41

หน่วยที่ 4 งานกลึง

งานกลึงชิ้นงาน
Lathe

Keywords: งานกลึง,Lathe

บทเรียนโมดูล รายวิชา งานเครอื่ งมอื กลเบื้องต้น
รหัสวชิ า 20100-1008 หนว่ ยที่ 4 งานกลึง

นายเสนยี ์ ทวีพฒั น์
ตาแหน่งครูผชู้ ว่ ย

1

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบ้อื งต้น หนว่ ยท่ี 4 งานกลึง วิทยาลัยการอาชีพแกลง

แผนกวิชาเทคนคิ พ้ืนฐานแผนกวิชาเทคนคิ พ้นื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง

คำนำ

บทเรียนโมดูลที่ 4 เร่ือง งานกลึงฉบับน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือ

ประกอบการเรียนการสอนในวิชางานเครื่องมือกลเบ้ืองต้น รหัส
วชิ า 20100-1008 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั ปีที่ 1 โดยได้

เรียบเรียงเน้ือหาท่ีเข้าใจง่าย มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรยี น เพอ่ื ให้นักเรยี นไดม้ คี วามรู้พน้ื ฐานกอ่ นการปฏิบตั ิงานจรงิ

บทเรียนโมดูลนี้มีเน้ือหาทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องในงานกลึง
การคานวณหาความเร็วรอบและความเร็วตัดของเครื่องกลึง
ส่วนประกอบตา่ งๆ และเครอ่ื งมอื สาหรับงานกลงึ หลกั ปฏบิ ัตงิ าน

สาหรับงานกลึง ความปลอดภัย การใช้งานอุปกรณ์ต่างๆของ
เคร่ืองกลึง การวัดและการตรวจสอบคุณภาพงานกลึง การ

บารงุ รกั ษาเคร่ืองกลงึ
ผู้ จั ด ท า ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า บ ท เ รี ย น โ ม ดู ล นี้ จ ะ เ ป็ น

ประโยชน์แก่นักเรียนนักศึกษาท่ีสนใจศึกษาเกี่ยวกับงานกลึง

เ พ่ื อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท า ง ก า ร เ รี ย น ท่ี ดี แ ล ะ ส า ม า ร ถ
ปฏบิ ตั ิงานกลงึ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้นึ

เสนยี ์ ทวีพฒั น์

2

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบ้ืองต้น หนว่ ยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนคิ พืน้ ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

สำรบญั

เรื่อง หนา้
คานา 2
สารบญั 3

คาแนะนาการใช้โมดูล 4
สาระสาคญั 5

สมรรถนะประจาหน่วย 5
จดุ ประสงค์ 5
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10
ใบความรู้ 11

ใบกิจกรรม 37
แบบทดสอบหลงั เรียน 43
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 46

3

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนิคพืน้ ฐาน วทิ ยาลัยการอาชพี แกลง

คำแนะนำกำรใช้โมดลู 1. ครแู นะนา นักเรยี น นักศึกษาเกีย่ วกบั องค์ประกอบของ
บทเรยี นโมดูล ชดุ ที่ 4 เรื่องงานกลึง

2. นักเรียน นักศกึ ษา ตรวจสอบองคป์ ระกอบของบทเรยี น
โมดลู ชุดที่ 4 เรอื่ งงานกลงึ ว่าครบถว้ นหรอื ไม่

3. นักเรยี นนักศกึ ษา ปฏบิ ัติตามกจิ กรรมต่างๆ ดงั น้ี
3.1 นักเรยี นนกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3.2 นกั เรียน นกั ศกึ ษา ศึกษาหาความรตู้ ามใบงาน

3.3 นักเรียน นักศกึ ษาปฏิบตั ิตามใบกิจกรรม
4. ในระหว่างปฏบิ ัตกิ จิ กรรม หากมีขอ้ สงสัยสามารถ

สอบถามเพอื่ ความถกู ตอ้ งและความปลอดภยั ในการ
ปฏิบตั ิงานกลึง
5. เม่อื ปฏบิ ตั ิเสรจ็ แลว้ ใหค้ รูผ้สู อนประเมินผลการปฏิบัติงาน

6. นักเรยี นนักศกึ ษาทาแบบทดสอบหลังเรยี น

4

20100-1008 งานเครอื่ งมือกลเบือ้ งต้น หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน วิทยาลยั การอาชพี แกลง

สำระสำคญั

สาระสาคญั

เคร่ืองกลึงเป็นเคร่ืองจักรกลท่ีใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในการผลิตช้ินส่วน เคร่ืองกลงึ มีหลายชนิด
เช่น เคร่อื งกลึงยันศูนย์ เครื่องกลึงแนวตงั้ เคร่ืองกลึงหน้าจาน และเครื่องกลงึ อตั โนมัติ (CNC) ต้องศกึ ษา
อย่างละเอียดเพ่อื ให้การใช้ ให้มปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด

สมรรถนะประจาหน่วย

1. แสดงความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกับเคร่ืองกลงึ การบารุงรักษาเคร่อื งกลึงและการคานวณความเรว็
รอบ อัตราป้อน ของงานกลึง ตามหลักการและกระบวนการ

2. กลึงชนิ้ งานตามแบบส่ังงาน
3. วิเคราะหช์ ้ินงานกลึงตามมาตรฐานแบบสัง่ งาน

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1 ด้านความรู้
1.1 อธิบายชนดิ ของเครอ่ื งกลงึ ได้
1.2 อธบิ ายส่วนประกอบของเครอื่ งกลงึ ได้
1.3 อธบิ ายหลกั การทางานของเครอื่ งกลึงได้
1.4 อธบิ ายขัน้ ตอนการใชเ้ ครื่องกลงึ ได้

2 ดา้ นทักษะ
2.1 คานวณหาค่าความเร็วรอบของงานกลงึ ได้
2.2 คานวณหาค่าความเรว็ ตัดของงานกลึงได้
2.3 กลึงชิ้นงานตามรูปแบบตา่ งๆได้
2.4 บารุงรักษาเคร่อื งกลึงได้
2.5 กลงึ ช้ินงานด้วยความปลอดภยั

3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
3.1 รบั ผิดชอบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
3.2 มคี วามสนใจใฝร่ ู้ และตรงต่อเวลา
3.3 ทาความสะอาดพ้ืนท่ีทางาน

5

20100-1008 งานเครื่องมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

แบบทดสอบก่อนเรยี น

1. ขอ้ ใดไมใ่ ชว่ ิธกี ารบอกขนาดของเครอ่ื งกลึง 6
ก. การบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางชิ้นงานท่จี ับได้
ข. การบอกระยะห่างระหว่างศูนย์
ค. ความโตดอกสว่านที่เจาะได้
ง. การบอกความยาวแท่นเครอื่ ง

2. ชนิ้ ส่วนที่ตดิ อย่กู ับพ้ืนท่ีโรงงานคอื ข้อใด
ก. แท่นตดั ขวาง
ข. แทน่ เคร่อื ง
ค. ชดุ ทา้ ยแท่น
ง. ฐานเคร่อื ง

3. สว่ นใดของเคร่อื งกลงึ ทม่ี ีรางเป็นรปู ตัววคี ว่า
ก. แทน่ ตดั ขวาง
ข. แทน่ เครื่อง
ค. ชดุ ท้ายแทน่
ง. ฐานเคร่ือง

4. ชุดเฟอื งทดสง่ กาลงั จะอยู่ในสว่ นใดของเครื่องกลึง
ก. ชุดหัวเครอื่ ง
ข. แทน่ เครือ่ ง
ค. แทน่ ตัดขวาง
ง. แกนเพลาเคร่ือง

5. รภู ายในแกนเคร่ืองกลึงมีลกั ษณะเปน็ อย่างไร
ก. รูทรงกระบอก
ข. รทู รงกระบอกเรยี ว
ค. รมู เี กลียวใน
ง. รมู ลี ม่ิ ภายใน

20100-1008 งานเครือ่ งมอื กลเบื้องต้น หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพนื้ ฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

แบบทดสอบก่อนเรยี น

6. ชดุ ท้ายแท่นแบ่งออกเป็นสองสว่ นเพอื่ วัตถุประสงคใ์ ด 7
ก. เพ่ือใช้ปรับกลึงเรียว
ข. เพอ่ื ใชป้ รับกลึงเกลยี ว
ค. ใชป้ รบั เพ่อื คว้านรู
ง. ใชป้ รับเพ่อื เจาะรเู รียว

7. รูในแกนเพลาชุดท้ายแท่นมไี วเ้ พอ่ื ประโยชน์อะไร
ก. จบั สวา่ นก้านตรง
ข. จับยดึ มดี กลงึ
ค. จับยดึ มีดควา้ น
ง. จบั ยดึ สวา่ นก้านเรยี ว

8. การกลึงปากอัตโนมัตจิ ะต้องเคลอื่ นท่ีดว้ ยช้ินส่วนใด
ก. ชดุ แทน่ เล่อื น
ข. ป้อนมีด
ค. แทน่ ตัดขวาง
ง. Top Slide

9. ชดุ แทน่ เล่ือนประกอบด้วยสองสว่ นที่สาคัญคอื
ก. อานม้า - แทน่ ตดั ขวาง
ข. แทน่ ตดั ขวาง - Apron
ค. อานม้า - Apron
ง. Top Slide - แทน่ ตดั ขวาง

10. อานมา้ จะมรี า่ งร่างเหมือนตวั อกั ษรใด
ก. E
ข. F
ค. H
ง. V

20100-1008 งานเคร่อื งมอื กลเบ้ืองตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพนื้ ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

แบบทดสอบก่อนเรยี น

11. การกลงึ ปาดหน้าจะปอ้ นท่ีสว่ นใดของเคร่ืองกลงึ 8
ก. แท่นเครื่อง
ข. แท่นเล่อื น
ค. แท่นตัดขวาง
ง. อานมา้

12. สว่ นใดของเครอ่ื งกลงึ สามารถตั้งองศาได้
ก. Apron
ข. Compound Rest
ค. ปอ้ นมดี
ง. แทน่ ตดั ขวาง

13. ป้อนมีดแบบเทอเรตมขี ้อดีคอื
ก. จบั มดี ได้ 1 ด้าม
ข. จับมดี ได้ 2 ด้าม
ค. จบั มีดได้ 3 ด้าม
ง. จับมีดได้ 4 ด้าม

14. สามจับฟนั พร้อมมีชุดฟันชดุ
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

15. ส่ีจับฟันอิสระมีชุดฟันก่ชี ดุ
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบอ้ื งตน้ หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

แบบทดสอบก่อนเรยี น

16. ในการกลึงระหว่างศูนยจ์ ะใชร้ ว่ มกับอุปกรณใ์ ด 9
ก. สามจับฟนั พร้อม
ข. สีจ่ บั ฟนั อิสระ
ค. จานพา
ง. หน้าจาน

17. กันสะท้านตามมีขาประคองงานกีข่ า
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

18. กนั สะท้านนิง่ มีขาประคองงานกีข่ า
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

19. ศูนยท์ ้ายท่ีสว่ นหวั หมนุ ตามชน้ิ งานได้คือขอ้ ใด
ก. ศนู ย์ตาย
ข. ศนู ยเ์ ปน็
ค. ศนู ย์ปรบั ตวั ได้
ง. ศูนย์ปรบั เยื้องได้

20. ห่วงพานามาใช้กรณีใด
ก. การกลงึ เรียวใน
ข. การเจาะรู
ค. การควา้ นรู
ง. การกลงึ ระหวา่ งศนู ย์

20100-1008 งานเครื่องมือกลเบื้องต้น หนว่ ยที่ 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลัยการอาชพี แกลง

เฉลยแบบทดสอบ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ค 11. ค
2. ง 12. ค
3. ข 13. ง
4. ก 14. ค
5. ข 15. ง
6. ก 16. ค
7. ง 17. ข
8. ก 18. ค
9. ง 19. ข
10. ค 20. ง

10

20100-1008 งานเคร่ืองมือกลเบอ้ื งตน้ หน่วยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พ้ืนฐาน วิทยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
ชนิดของเครื่องกลงึ

เคร่ืองกลึงที่ใช้ในโรงงานท่ัวไปจะมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน แต่ถ้าแบ่งตามลักษณะโครงสร้างการทางานสามารถแบ่ง
ออกเป็น 5 ชนิด ดงั น้ี

1. เคร่ืองกลึงยันศูนย์ท้ายแท่นเป็นเครื่องกลึงแบบธรรมดาท่ีใช้งานท่ัว ๆ ไป จะมีส่วนประกอบสาคัญคือหัวเคร่ือง
สะพานแท่นเคร่อื ง ชดุ แท่นเลื่อนระบบป้อน ชุดยันศูนย์ท้ายแทน่ ประโยชน์จะใช้งานอเนกประสงคส์ ามารถกลึงชิ้นงานที่มี
ขนาดความยาวมาก ๆ และกลงึ ข้ึนรูปชิน้ งานได้หลายลักษณะ

รูปที่ 4.1 เครอื่ งกลงึ ยันศูนย์ทา้ ยแท่น

2. เครอื่ งกลึงหน้าจานเป็นเครอื่ งกลงึ ทมี ี่แผ่นหมนุ จับงานท่ีมีเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางขนาดใหญ่ ช้นิ งานจะถูกจับยึดด้วยหวั จับ
หรือการใช้โบลท์ร้อยเข้าไปในร่องของหน้าจาน ช่วยในการจับยึด ซ่ึงขึ้นอยู่กับลักษณะงาน นิยมใช้ในการกลึงปาดหน้า
ชิ้นงานทมี่ ขี นาดใหญแ่ ต่มีความหนาไม่มากนัก

รูปที่ 4.2 เครือ่ งกลึงหนา้ จาน

3. เครื่องกลึงยืนเป็นเครื่องกลึงท่ีมีขนาดใหญ่ ใช้กับช้ินงานที่มีขนาดใหญ่ และมคี วามสูงมาก ๆเหมาะสาหรับงานท่ีมี
ขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลางใหญ่ ๆ ท่ียากกับการตดิ ตง้ั กบั เคร่ืองกลึงชนิดอ่ืน ๆ ในการจับยึดช้ินงานจะจับยึดบนผิวหน้าของโต๊ะ
งานทม่ี ีลกั ษณะเป็นโตะ๊ กลม สามารถหมนุ คล้ายกบั เคร่อื งกลึงหนา้ จาน แต่การจับงานจะจบั ในแนวด่ิง

รูปท่ี 4.3 เครอ่ื งกลงึ ยืน 11

20100-1008 งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งตน้ หน่วยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พน้ื ฐาน วิทยาลัยการอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

4. เครือ่ งกลึงป้อมมีดหมนุ เคร่ืองกลึงชนิดนเ้ี หมาะสาหรับงานผลิตทม่ี ีจานวนมาก ๆ เพราะภายนอกของเคร่อื งจะมี
ป้อมเคร่ืองมอื สามารถจับเคร่อื งมือได้หลายชนดิ พร้อมกัน ซง่ึ จะหมุนเปลยี่ นตาแหน่งเครื่องมอื ตามการวางแผนขั้นตอนการ
ทางานช้ินนนั้ ๆ ทาให้ประหยัดเวลาในการทางานมากขนึ้

รูปท่ี 4.4 เครอ่ื งกลึงปอ้ มมดี หมุน
5. เคร่ืองกลงึ ชนิดพิเศษเป็นเคร่ืองกลงึ ท่ีได้มีการพฒั นานาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการควบคุมการทางานของเครื่อง ทา
ให้สามารถทางานได้โดยอัตโนมตั ิเช่น เครอื่ งกลึง CNC เป็นตน้ เหมาะสาหรบั งานผลิตท่ีมจี านวนมาก ๆ สามารถทา งานได้
รวดเรว็ และเป็นมาตรฐานแตเ่ ครอ่ื งกลงึ ชนดิ นจ้ี ะมีราคาสูงกว่าเครอ่ื งกลึงชนดิ อ่นื ๆ

รูปท่ี 4.5 เครอ่ื งกลึงชนดิ พเิ ศษ

ส่วนประกอบของเคร่ืองกลงึ
ส่วนประกอบของเคร่ืองกลึงประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ หลายส่วนและมีหน้าที่การทางานต่างกัน ในบทเรียนน้ีจะ

กล่าวถึงส่วนประกอบของเคร่ืองกลึงยันศูนย์ท้ายแท่น ซึ่งจะเป็นเคร่ืองกลึงที่นิยมใช้ท่ัวไป จะประกอบด้วยส่วนประกอบ
หลกั ทีส่ าคัญ ดงั น้ี

1. สะพานแท่นเครอ่ื ง (Bed)ทามาจากเหล็กหล่อแข็งผิวเรียบซ่ึงผ่านการเจียระไน ทาหนา้ ท่ีรองรับชุดแท่นเล่ือน และ

ชุดศูนย์ทา้ ยแท่น ซึ่งท้ังสองชุดนี้สามารถเลอื่ นไป – มา ตามสะพานแท่นเครือ่ งได้ผวิ ของสะพานแท่นเคร่ืองจะทาการขูดผิว
เพอ่ื ใหผ้ ิวขังนา้ มนั เพ่อื ลดการเสียดสแี ละชว่ ยไม่ให้เกิดสนิมด้วย

12

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบื้องตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รูปท่ี 4.6 สะพานแท่นเครื่องกลึง
สะพานแทน่ เครอื่ ง กจ็ ะมีลักษณะพ้ืนท่หี นา้ ตัดท่ีแตกต่างกัน ข้นึ อยูก่ บั บริษทั ผู้ผลิตเครอ่ื งจกั ร

รูปที่ 4.7 ลักษณะของสะพานแท่นเครอื่ งแบบต่าง ๆ การ

2. หัวเคร่ือง (Headstock)เปน็ ชดุ ที่มรี ะบบกลไกต่าง ๆ ทาใหเ้ กิดการขับเคล่ือนของหัวจับชิ้นงานหมุน
ทางานของหัวเครอื่ งจะสมั พันธก์ ับการเคล่อื นท่ีของชุดแทน่ เลอื่ นในขณะเกดิ การตดั เฉอื นช้นิ งาน

รปู ที่ 4.8 หัวเคร่ืองของเครือ่ งกลงึ 13

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้น หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พ้ืนฐาน วทิ ยาลัยการอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

ระบบกลไกของหัวเคร่อื งกลงึ จะมี 2 ระบบคอื ระบบลอ้ สายพานและระบบเฟอื ง

ระบบล้อสายพาน ระบบเฟือง

รูปท่ี 4.9 ระบบกลไกของหวั เครือ่ ง

หวั เคร่อื งกลึงจะมแี กนเพลาเพ่ือใชส้ าหรบั จับยึดหัวจบั ชนิ้ งาน ลักษณะของแกนเพลาหวั เครือ่ งกลงึ จะมี 4 ลักษณะ คอื
1. แบบเกลยี ว แกนเพลาจะเปน็ เกลยี วจะหมุนลอ็ คเขา้ เกลยี วอีกตวั หนง่ึ ที่ยึดประกบตดิ กับหวั จับ

รูปที่ 4.10 ลักษณะเพลาหวั เคร่ืองแบบเกลยี ว
2. แบบเรยี ว จะมลี ่ิมฝงั อยู่บนเรียวและมีแหวนเกลียวหมุนล็อคอีกชิ้นหนง่ึ จะนิยมใช้แบบเรียวมากกวา่ แบบเกลียว

รปู ท่ี 4.11 ลักษณะเพลาหวั เครือ่ งแบบเรยี ว 14

20100-1008 งานเครอื่ งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนิคพ้ืนฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

3. แบบแคมล็อค แบบน้ีจะอาศัยสลักมาเป็นแกนบังคับรว่ มกับแคมหมุนล็อคตามทิศทางของลูกศรโดยการใช้ประแจ
พเิ ศษในการขัน

รูปท่ี 4.12 ลักษณะเพลาหัวเครอื่ งแคมลอ็ ค
4. แบบเกลยี วรอ้ ยและขันดว้ ยนัต ลกั ษณะจะเปน็ สลกั เกลียวสวมเข้าไปในรทู ่ีทาไว้เฉพาะแล้วใช้นัตหมุนล็อค ให้แนน่

รูปท่ี 4.13 ลักษณะเพลาหัวเครือ่ งแบบเกลียวร้อย

3. ชดุ ศูนยท์ ้ายแท่น (Tailstock)
ชุดศูนย์ท้ายแท่นสามารถเล่ือนไป – มาบนสะพานแทน่ เคร่อื งได้ ทาหน้าท่ีประคองช้ินงานกลึงยาว ๆ ไม่ให้สั่นโดยใช้

ยันศูนย์ หรือสามารถจับยึดดอกสว่าน เพ่ือเจาะรูช้ินงานได้ด้วย โดยอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ประกอบเข้าช่วย
ส่วนประกอบของศูนยท์ า้ ยแทน่ ประกอบดว้ ย

3.1 มือหมุน ใชส้ าหรบั ในการหมนุ เพอื่ ใหแ้ กนเพลาท้ายแทน่ เคลอ่ื นทเ่ี ข้า - ออก
3.2 แกนเพลาทา้ ยแทน่ มีลักษณะเป็นรเู พลาเรยี ว มีประโยชนเ์ พ่ือใชใ้ นการสวมศูนย์ตาย, ดอกสวา่ นก้านเรียว หรือ
แกนเพลาหวั จับดอกสวา่ นได้
3.3 คนั โยกลอ็ คแกนเพลา ใช้สาหรับลอ็ คแกนเพลาทา้ ยแทน่ ไม่ใหเ้ คลอื่ นทไี่ ด้
3.4 นัตลอ็ คศนู ย์ท้าย มหี น้าท่ีใช้ล็อคตาแหน่งศูนย์ท้ายแทน่ เข้ากับสะพานแท่นเคร่อื งไมใ่ ห้เล่อื นตาแหน่ง
3.5 สกรปู รับศูนยท์ า้ ย ใช้สาหรบั ในการปรบั ศนู ย์หัวเครื่องและศนู ยท์ า้ ยให้ตรงกนั หรอื ใชป้ รับเพื่อกลึงเรียว ในกรณี
การกลงึ เรียวแบบปรับศูนยท์ า้ ยแท่น

15

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบื้องตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รูปท่ี 4.14 ชดุ ศูนย์ท้ายแท่น

4. ชดุ แทน่ เล่ือน (Carriage)
เปน็ ชุดสาหรบั ยดึ เครื่องมอื ตัด และสามารถเคล่อื นไป - มาตามความยาวของสะพานแท่นเครอ่ื ง เพื่อใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน

กลึง ซึ่งจะประกอบด้วย 3 ส่วนท่ีสาคัญ ๆ คือ แคร่คร่อม (Saddle) แท่นเล่ือนขวาง (Cross - slide) และกล่องเฟือง
(Apron)

รูปท่ี 4.15 ชุดแทน่ เล่อื น

4.1 แคร่คร่อม ทาด้วยเหลก็ หล่อ มีรูปร่างลักษณะเหมือนตัวอักษรเอช (H) จะวางอยบู่ นร่องสะพานแท่นเครื่อง จะ
รองรับแท่นเลื่อนขวาง ซึง่ แท่นเล่ือนขวางจะเคล่อื นท่ีไป - มาในแนวขวางกับสะพานแท่นเครื่อง จึงทาให้เกิดการตัดเฉือน
ของมีดกลงึ ในแนวขวางตามไปดว้ ย เชน่ ลักษณะงานกลงึ ปาดหน้า

4.2 แท่นเลอื่ นขวาง จะมีแทน่ เลอื่ นบน (Compound rest) อยู่ดา้ นบน เป็นชดุ ที่สามารถหมุนปรับคา่ มุมตา่ งๆ เพ่ือ
ใช้ในการกลึงเรียวได้ การเคล่ือนที่เข้า – ออก จะเคลื่อนที่ได้โดยใช้หลักการหมุนของเกลียวปอ้ น และชุดแท่นเล่ือนบนยัง
เป็นชุดท่ีรองรับอุปกรณจ์ ับยึดเคร่ืองมือตัด หรือเรยี กอีกอย่างหนึ่งวา่ “ป้อมมีด” ซง่ึ ป้อมมีดที่ใช้ท่ัวไปสามารถแบ่งออกได้
หลายแบบคือ

4.2.1 ป้อมมีดแบบมาตรฐาน (Standard or round tool post) เป็นป้อมมีดท่ีแหวนรองมีลักษณะเว้าตรง
กลาง เพ่ือใหล้ มิ่ ปรับที่มีส่วนโคง้ สามารถปรับความสงู ของปลายมีดตามแนวรัศมีโค้งได้ ซงึ่ ปอ้ มมีดแบบนี้จะไมค่ ่อยจะนิยม
ใช้

16

20100-1008 งานเครอื่ งมอื กลเบอ้ื งตน้ หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพ้นื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รปู ที่ 4.16 ป้อมมีดมาตรฐาน

4.2.2 ป้อมมดี แบบเทอร์เรท (Turret - type tool post) ป้อมมีดจะออกแบบมาเพ่ือใหส้ ามารถจับเครือ่ งมือ
ตัดได้ท้ังสี่ด้าน หมุนปรับตาแหน่งตามต้องการได้ ทาให้ง่ายและสะดวกสาหรับการปฏิบัติงานหลายข้ันตอน ทาให้ไม่
เสยี เวลาในการจับยดึ เครื่องมอื ตัด เปน็ ป้อมมดี ทีน่ ยิ มใชก้ ันมากในปัจจบุ ัน

รูปท่ี 4.17 ปอ้ มมดี แบบเทอร์เรท

4.2.3 ป้อมมีดแบบเปล่ียนเร็ว (Quick change tool post) สาหรับป้อมมีดแบบน้ีจะมีชุดอุปกรณ์จับยึด
เคร่ืองมือตัดหลายลักษณะสามารถถอดเปล่ียนได้เร็ว เพื่อให้สะดวกกับการใช้งาน ในชุดอุปกรณ์จับยึดเคร่ืองมือตัดจะมี
ลกั ษณะเป็นร่องหางเหยย่ี ว เพ่ือสวมเข้ากับตัวป้อมมดี ทีย่ ึดอยู่บนเคร่ืองกลงึ ซึ่งป้อมมดี น้กี ็จะมีลักษณะเป็นร่องหางเหยี่ยว
เช่นเดียวกนั

รูปที่ 4.18 ป้อมมีดแบบเปล่ียนเรว็ 17

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบื้องตน้ หน่วยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลัยการอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

4.2.4 ป้อมมีดสาหรับงานหนัก (Heavy-duty or open-sided tool post) ลักษณะของป้อมมีดจะมีร่องเปิด
ด้านข้างเพียงด้านเดียว เพ่ือใช้จับยึดมีดกลึงคาร์ไบด์ หรือ มีด กลึงเหล็กกล้ารอบสูงได้ ซึ่งป้อมมีดแบบน้ีส่วนมากจะใช้
สาหรบั งานกลึงหนักๆ

รปู ที่ 4.19 ป้อมมดี สาหรบั งานหนกั
4.3 กล่องเฟือง จะยึดติดกับแคร่คร่อม และจะมีชดุ กลไกทีท่ าให้ชุดแท่นเล่ือนเคล่ือนที่แบบอัตโนมัติ ทาให้สามารถ
ปอ้ นกลึงปอกผิวและกลึงปาดหน้าชิ้นงานแบบอัตโนมัติได้โดยใช้คันโยกกลึงป้อนอัตโนมัติ กล่องเฟืองยังมีมือหมุน เพ่ือใช้
สาหรับการหมุนให้แท่นเล่ือนเคล่ือนที่ตามสะพานแท่นเคร่ือง และตัวปรับทิศทางการป้อนกลึง ซึ่งจะมีตาแหน่งอยู่ 3
ตาแหน่งด้วยกัน คือกดเข้าจะทาให้แท่นเลื่อนเคล่ือนทีต่ ามแนวยาวของสะพานแท่นเคร่ือง แบบอตั โนมัติตาแหน่งกลางจะ
สามารถใช้มือหมุน หมุนใหแ้ ท่นเลื่อนเคล่อื นที่แบบปกติ หรือใช้คันโยกกลึงเกลียวเพื่อใช้ในการกลึงเกลียวชิ้นงานได้ และ
ตาแหน่งดงึ ออกสุด จะทาให้แท่นเล่ือนขวางเคลื่อนทอ่ี ัตโนมัติ โดยการป้อนกลึงอัตโนมัตแิ ละการกลึงเกลียว กลไกในกล่อง
เฟืองจะต้องสัมพันธ์กบั เพลาเกลียวกบั เพลาปอ้ น สาหรบั ตัวปรับทิศทางการปอ้ นอาจจะมีลักษณะท่ีแตกต่างกนั กไ็ ด้ ขึน้ อยู่
กบั บริษัทของผู้ผลิต

รูปที่ 4.20 กล่องเฟืองของเคร่อื งกลึง

5. ระบบปอ้ น (Feed mechanism)
ในระบบป้อนจะมีชุดเฟืองเพือ่ ใชใ้ นการตัง้ คา่ ของอตั ราการป้อน หรือระยะพิตชข์ องเกลียวตา่ ง ๆ จะส่งกาลังไป

ยังชดุ กล่องเฟอื ง ซ่ึงประกอบดว้ ย

18

20100-1008 งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

1. ชดุ เฟืองปอ้ น
2. ชุดเฟืองขับ
3. เพลาปอ้ น
4. เพลาเกลียว

รปู ที่ 4.21 ระบบปอ้ นและเฟอื งในระบบป้อน

หลกั การทางานของเครื่องกลึง
ในการทางานของเคร่ืองกลึงทั่วไปนั้น จะต้องมีต้นกาลังเพื่อให้เพลางานเกิดการหมุนซ่ึงต้นกาลังที่ใช้ส่วนมาก คือ

มอเตอร์ไฟฟา้ ขนาดของกาลงั มอเตอรก์ จ็ ะขนึ้ อยู่กับขนาดของเคร่ืองกลึงน้นั ๆ

รปู ที่ 4.22 มอเตอรเ์ คร่ืองกลึง

มอเตอรข์ องเครือ่ งกลงึ จะส่งถ่ายกาลังไปยังชุดหวั เครอื่ ง โดยใช้ระบบสายพาน สว่ นใหญ่แล้วจะใช้สายพานตวั วี
เพราะสามารถสง่ กาลงั ได้ดีและไม่เสยี งดงั

รปู ที่ 4.23 สายพานและล้อสายพานเครอ่ื งกลงึ 19

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบอื้ งตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พื้นฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

สายพานจะสง่ ถ่ายกาลงั ไปยังหัวเครื่องเพอ่ื ให้เพลางานหมนุ ซง่ึ ระบบขบั เคลอ่ื นเพลางานมที ้งั ระบบลอ้ สายพานหลาย
ขั้นและระบบชุดเฟอื ง

รปู ที่ 4.24 ระบบขบั เคลอ่ื นเพลางาน
แต่ในปัจจบุ นั นิยมใช้ระบบขับเฟือง เพราะสามารถใชใ้ นการเปล่ียนความเร็วรอบได้มากกว่าแบบล้อสายพานหลาย
ขัน้ ทาให้เลือกความเร็วไดต้ ามความเหมาะสมในการกลึงงานท่ีมขี นาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางที่แตกต่างกัน
จากชดุ เฟืองทหี่ วั เครอ่ื งจะสง่ ถ่ายกาลงั ต่อมายงั ระบบปอ้ นด้วยเฟอื งตรง จะทาใหเ้ ฟืองขับระบบปอ้ นหมนุ ส่งถา่ ย
กาลังไปยงั เพลาปอ้ นและเพลาเกลยี ว

รูปท่ี 4.25 เฟืองตรงขับชุดเฟอื งระบบปอ้ น

ระบบเฟอื งป้อนน้สี ามารถปรับเปลย่ี นความเร็วของเพลาป้อนได้ ในการกลึงอตั โนมัตแิ ละสามารถใชใ้ นการกลึง
เกลยี วทเ่ี พลาเกลยี ว สามารถกลึงเกลยี วได้ทัง้ เกลียวระบบนวิ้ และระบบเมตรกิ ในการตั้งระยะการป้อนมีดกลึงหรอื การกลงึ
เกลียวจะสามารถเลือกใชไ้ ดจ้ ากแผน่ ชารท์ ท่แี สดงรายละเอียดต่าง ๆ ท่ีต้องอย่กู บั เครอื่ งดว้ ย

20

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รปู ท่ี 4.26 แผ่นชารท์ ระบบปอ้ น

อุปกรณ์จับยึดในงานกลึง

เพอื่ ใหก้ ารปฏิบัตงิ านกลึงสามารถทาไดห้ ลายลกั ษณะงานจาเป็นจะต้องมีอุปกรณ์เพือ่ ใชใ้ นการจบั ยึดงาน ซ่ึงจะมี

อยู่หลายแบบ ลกั ษณะการใชง้ านก็จะแตกต่างกนั มีดงั น้ี

1. หวั จับ (Chuck)

ใช้สาหรบั จบั ช้นิ งานกลึง เป็นสว่ นทห่ี มุนในแนวแกนเดียวกนั กับเพลางาน แบ่งตามลกั ษณะการใช้งานได้ดังนี้

1.1 หัวจบั แบบฟนั พร้อม เป็นหวั จับที่ใชป้ ระแจขนั หัวจับหมนุ ตาแหน่งใดตาแหนง่ หนึ่ง ฟันจับจะเคล่อื นที่เข้า –

ออกพรอ้ มกนั สว่ นมากจะใชจ้ บั งานลักษณะงานกลมหัวจับแบบฟันพร้อม ยังสามารถแบง่ ได้ 2 ลักษณะคอื

1.1.1 หวั จับแบบสามจับฟันพร้อม 1.1.2 หัวจับแบบสจ่ี บั ฟันพรอ้ ม

รูปท่ี 4.27 หวั จับแบบสามจับฟนั พรอ้ ม รูปที่ 4.28 หัวจบั แบบส่ีจับฟันพรอ้ ม

1.2 หวั จบั แบบสจี่ ับฟันอิสระ สามารถใช้จบั ชิน้ งานได้หลายลักษณะ เนอื่ งจากฟนั จบั ทงั้ สฟ่ี ันจับเคล่ือนทเ่ี ข้า – ออก โดย

อิสระ

21

20100-1008 งานเคร่อื งมอื กลเบอ้ื งตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พื้นฐาน วทิ ยาลัยการอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

รูปที่ 4.29 หัวจับแบบสี่จับฟนั อิสระ
การจบั ยึดช้นิ งานด้วยหัวจับ ฟันจบั สามารถจบั ช้นิ งานได้หลายลักษณะดว้ ยกันคือ
1. การจบั งานทผ่ี ิวภายนอก

รปู ูท่ี 4.30 ลกั ษณะการจับงานทผ่ี วิ นอก
2. จบั งานทมี่ ีขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางใหญ่

รปู ที่ 4.31 ลกั ษณะการจับงานท่ีมขี นาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางใหญ่ 22

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบอื้ งต้น หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พ้นื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

3. กรณีงานท่มี รี ูคว้านขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางใหญ่

รปู ท่ี 4.32 ลกั ษณะการจับงานทม่ี รี ูคว้านขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางใหญ่

2. หน้าจาน (Face plate)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการจับยึดช้ินงานท่ีไม่สามารถจับด้วยหัวจับได้ การติดต้ังหน้าจานจะยึดติดกับเพลาของ

เครอื่ ง หน้าจานจะมผี วิ หนา้ เรยี บและมรี ่องเพื่อใช้จับยึดช้นิ งาน

รูปที่ 4.33 หนา้ จาน 23
การจับยึดชนิ้ งานบนหน้าจานกระทาได้ 2 วิธีคือ
1. การใชแ้ รงกดร่วมกบั อุปกรณจ์ บั ยึดแบบต่าง ๆ

รูปที่ 4.34 การจับงานบนหน้าจานด้วยอุปกรณจ์ บั ยึด
20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบอื้ งตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

2. การใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ย เช่น ฉากจบั งาน (Angle plate) เพอื่ ให้สามารถจับยึดชน้ิ งานในตาแหนง่ ทีต่ ้องการ

รปู ที่ 4.35 การจบั งานบนหนา้ จานดว้ ยฉากจับงาน

3. หว่ งพา (Lathe dogs)
ใชส้ าหรับจบั ยึดช้ินงานกลึงที่มกี ารยันศูนยท์ ั้งสองขา้ งหรือการกลงึ เพลาที่ต้องการยาวมาก ๆ หว่ งพาสามารถแบ่ง

ลักษณะรปู ร่างไดห้ ลายลกั ษณะดังน้ี
1. ห่วงพาแบบขางอ (Standard bent-tail) เป็นหว่ งพาท่ีใช้งานท่วั ไปสะดวกในการใชง้ าน ใช้จบั ยึดช้ินงานกลม

โดยการหมุนล็อคด้วยสกรหู วั ส่เี หล่ียมหรือสกรหู ัวฝงั สว่ นขาที่งอย่ืนออกมาเพอ่ื ขัดท่ีหน้าจาน ทาให้ชิ้นงานเกดิ การหมนุ

รูปท่ี 4.36 หว่ งพาแบบขางอ

2. ห่วงพาแบบขาตรง (Straight -tail) การจบั ยดึ ช้ินงานจะมีลกั ษณะเหมือนกับหว่ งพาแบบขางอ จะแตกต่างกนั
ทลี่ ักษณะของการพาชนิ้ งานหมนุ โดยห่วงพาแบบน้ี จะมีสลกั เกลยี วท่ีฝังยึดกบั หนา้ จาน เปน็ ตัวขัดกับขาห่วงพาทาให้ชนิ้ งาน

เกิดการหมุน

รูปท่ี 4.37 หว่ งพาแบบขาตรง 24

20100-1008 งานเครอื่ งมือกลเบอ้ื งตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

3. หว่ งพาแบบเซฟตี้ (Safety clamp) หว่ งพาแบบน้ี สามารถจับยึดช้ินงานไดห้ ลายลกั ษณะ และปรับระยะ
เพอื่ จบั ยึดช้ินงานได้ ชนิ้ งานท่ีจบั ยึดจะเปน็ ช้ินงานทมี่ คี วามเรยี บผิวเปน็ พิเศษ ซึ่งหากใช้หว่ งพาแบบขางอ หรอื หว่ งพาแบบ
ขาตรง อาจทาใหเ้ กิดความเสียหายกบั ผิวงานได้

รูปที่ 4.38 หว่ งพาแบบเซฟตี้
4. หว่ งพาแบบแคล็มป์ (Clamp type) เป็นหว่ งพาที่มีปรบั ระยะความกว้างในการจบั ยึดชน้ิ งานไดม้ ากกว่า
แบบอนื่ ๆสามารถจับยึดช้นิ งานได้หลายลักษณะ เชน่ งานกลม งานสีเ่ หล่ยี ม งานสามเหลี่ยม เปน็ ต้น

รูปที่ 4.39 ห่วงพาแบบแคลม็ ป์
การใชง้ านห่วงพา จะต้องประกอบหน้าจาน เขา้ กับเพลาหวั เคร่อื ง และรตู รงกลางของหน้าจานจะมีศูนย์ตายสวมเข้า
กับแกนเพลาหัวเคร่ืองกลึง เพ่ือใช้สาหรับยันศูนย์ชิ้นงานด้านหนึ่งส่วนอีกด้านหนึ่งจะใช้ยันศูนย์ที่อยู่ศูนย์ท้ายแท่นของ
เครือ่ งกลึง เพอื่ ประคองชน้ิ งาน ซึ่งหว่ งพาจะจับยึดส่วนปลายของชิน้ งานดา้ นที่ตดิ กับหนา้ จาน

รูปที่ 4.40 การประกอบห่วงพาเขา้ กับหน้าจาน 25

20100-1008 งานเคร่ืองมอื กลเบอ้ื งต้น หน่วยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พื้นฐาน วทิ ยาลัยการอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

4. เพลาอดั (Mandrel)
ใช้สาหรับจับยึดงานกลึงที่มีรูหรือรูคว้านมาก่อน เพื่อที่จะนามากลึงผิวภายนอก หรือ งานกลึงร่วมศูนย์ ซึง

ลักษณะของงานจะเป็นงานกลงึ ระหว่างศูนย์ เชน่ พุลเลย่ ์ บูชช่ิง เพลาอดั ทใี่ ช้งานโดยทว่ั ไปมดี งั น้ี
1. Solid mandrel เป็นเพลาอัดที่ใช้งานทวั่ ไป ลักษณะของแกนเพลาจะเรียว ซึ่งมขี นาดของเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางที่

แตกตา่ งกันประมาณ 1 - 2 มม. ต่อความยาว 100 มม. จะใชส้ าหรับจับยึดช้นิ งานท่ีมีขนาดของรูคว้านทีเ่ ทา่ กัน

รปู ท่ี 4.41 เพลาอัดแบบ Solid mandrel
2. Expansion mandrel ประกอบด้วยแกนเพลาเรียวและปลอกสวมซึง่ จะมีร่องตัดตามแนวยาวจานวน 4 ร่อง
หรือมากกว่าการจับยึดช้ินงานจะสวมช้นิ งานที่ปลอกสวมแกนเพลาเรียวจะทาให้ปลอกสวมขยายตัวทาให้จับยึดช้ินงานได้
ช้ินงานทใี่ ช้เพลาอดั แบบนี้ ขนาดพิกดั ของรคู ว้านอยรู่ ะหว่าง 0.5 – 2.0 มม.

รปู ท่ี 4.42 เพลาอัดแบบ Expansion mandrel

3. Gang mandrel ใชส้ าหรับจับยึดชิ้นงานหลายๆชิน้ ทม่ี ีรปู ร่างเหมือนกันด้านหน่งึ ของเพลาอดั แบบน้ี จะเป็น
หนา้ แปลนอีกดา้ นหนง่ึ จะเป็นเกลยี ว เพอ่ื ใชน้ ตั หมุนจับยดึ ชน้ิ งาน

รปู ที่ 4.43 เพลาอดั แบบ Gang mandrel 26

20100-1008 งานเครื่องมอื กลเบือ้ งตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลยั การอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

4. Thread mandrel เป็นเพลาอดั ท่ีใช้สาหรับจับยึดช้นิ งานทมี่ ีรเู ปน็ เกลียว และจะชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ให้เกลยี วเกิดความ
เสียหายในการจบั ยึดช้ินงาน

รปู ท่ี 4.44 เพลาอัดแบบ Thread mandrel
5. Taper – shank mandrel เป็นเพลาอัดท่ีใชร้ ่วมกับเพลางานของหัวเครื่องกลงึ โดยด้านหน่ึงจะมีลักษณะ
เรียวเพอื่ สวมเข้ากบั รเู พลางาน อีกด้านหน่ึงจะจบั ยึดช้นิ งานมักจะใช้สาหรบั จับยดึ ชิน้ งานทม่ี ีขนาดเลก็ หรอื มีรูเจาะ ทีไ่ ม่
ทะลุ

รูปที่ 4.45 เพลาอดั แบบ Taper – shank mandrel
5. กันสะท้าน (Steady rest)

เป็นอปุ กรณ์สาหรับงานกลงึ ทม่ี ีความยาวมาก ๆ เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดการสน่ั สะเทือนหรอื คดงอขณะการตัดเฉอื น
ชิ้นงานกันสะทา้ นที่ใช้งานทั่วไปจะมี 2 ชนดิ คอื

1. กันสะท้าน 2 ขา (Travelling steady rest) ใช้ประคองชิ้นงานท่ีมีความยาวหรือโลหะอ่อน จะยึดติดกับชุด
แท่นเล่อื นของเคร่อื งกลึง จะมแี กนเพ่อื ประคองชนิ้ งาน 2 ชิ้น ทาจากโลหะออ่ นสามารถปรับเล่ือนขึน้ ลงได้

รูปูที่ 4.46 กนั สะท้านแบบ 2 ขา 27

20100-1008 งานเคร่อื งมอื กลเบื้องต้น หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พื้นฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

2. กันสะทา้ น 3 ขา (Fixed steady rest) ใชป้ ระคองชิ้นงานทมี่ ขี นาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางขนาดใหญแ่ ละมีความ
ยาว ประโยชน์การใช้งาน จะมีลักษณะเหมือนกันกับกันสะท้าน 2 ขา จะแตกต่างกันตรงจะมีแกนประคองชิ้นงาน 3 จุด
ปรบั ได้ มีสลักรอ้ ยเพื่อเปดิ ปดิ ลักษณะเหมอื นบานพับ จะจับยึดตดิ กบั สะพานแทน่ เคร่อื งของเครอ่ื งกลงึ

รปู ท่ี 4.47 กันสะทา้ นแบบ 3 ขา
6. ปลอกจับงาน (Collet)

เป็นอุปกรณ์ท่ีจับชิ้นงานที่มีขนาดเล็กและมีผิวเรียบ สามารถจับยึดช้ินงานได้เที่ยงตรงแต่มีขอบเขตในส่วนของ
ขนาดความโตของชิ้นงาน และการจับยึดชนิ้ งานโดยทั่วไปปลอกจบั งานจะออกแบบใหส้ ามารถจับงานได้หลายลักษณะ เช่น
งานกลม งานส่เี หลย่ี มและงานหกเหล่ยี ม

รปู ท่ี 4.48 ปลอกจบั งานลักษณะตา่ ง ๆ

ลักษณะการจบั ยึดช้ินงานด้วยปลอกจบั งานโดยจะใช้แกนเพลาดึงสอดเข้าไปในเพลางานของหัวเครื่อง ส่วนปลาย
ของแกนเพลาดึงจะเป็นเกลียวใน เพื่อใช้หมุนเข้ากับปลอกจับงานอีกด้านหนึ่ง เมอ่ื หมุนปรับท่ีมือหมุนก็จะทาให้ปลอกจับ
งานเลอื่ นตาแหนง่ มาตดิ กับปลอกสวมปลอกจบั งาน ทาให้เกิดการแรงกดในการจบั ยดึ ช้นิ งาน

28

20100-1008 งานเครอื่ งมือกลเบอ้ื งตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนิคพ้ืนฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รปู ท่ี 4.49 การจับยึดปลอกจบั งาน
ความเร็วรอบ ความเร็วตัด อตั ราการปอ้ นในงานกลงึ

ในการปฏบิ ัติงานกลึง เพื่อให้ผลผลติ ออกมามคี ุณภาพ หรือการทางานมปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านควรมี
ความรู้เก่ยี วกบั ความเร็วรอบ ความเรว็ ตัดและอัตราการป้อน ในงานกลงึ

ความเร็วรอบ หมายถงึ จานวนรอบทเ่ี กิดจากการหมุนของหวั จบั ช้ินงานในช่วงระยะเวลา 1 นาที มีหน่วยเป็นรอบ /
นาที

ความเร็วตัด หมายถึง ความเร็วท่ีเกิดจากการตัดเฉือนชิ้นงานทาให้เกิดระยะทางหรือความยาวในช่วงระยะเวลา 1

นาที มหี นว่ ยเปน็ เมตร / นาที
ความเร็วรอบและความเรว็ ตดั ของงานกลงึ สามารถคานวณหาค่าได้ 2 วิธี คือ

1. คานวณคา่ จากสูตร

V=

V = ความเร็วตัด (เมตร / นาท)ี

π = 3.1416

d = ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางชิน้ งาน (มม.)

n = ความเร็วรอบ (รอบ / นาท)ี

ตัวอย่างท่ี 6.1 ช้ินงานกลึงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 มม. และใช้ความเร็วรอบของการหมุนของหัวจับ 600 รอบ /

นาที จงคานวณหาคา่ ความเรว็ ตัดของชนิ้ งาน

จากสูตร V=

แทนค่า V =

= 56.52 29
ดังนน้ั ความเรว็ ตัดมีคา่ เท่ากับ 56.52 เมตร / นาที หรอื ประมาณ 57 เมตร/นาที

20100-1008 งานเครือ่ งมือกลเบื้องต้น หนว่ ยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนิคพ้นื ฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

ตัวอยา่ งท่ี 6.2 ชนิ้ งานกลงึ มขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. และใช้ความเร็วตัด 15 เมตร/นาที
จงคานวณหาค่าความเร็วรอบของการหมนุ ของหัวจับ

จากสูตร V=

หาความเร็วรอบ (n) จะได้ n =

แทนค่า n =

n = 238.73

ดงั น้นั ความเรว็ รอบมีค่าเท่ากบั 238.73 รอบ / นาที หรือประมาณ 239 รอบ/นาที
2. คานวณคา่ จากกราฟ

รปู ที่ 4.50 กราฟคานวณค่าความเร็วรอบ ความเร็วตัด 30

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น หนว่ ยท่ี 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพื้นฐาน วทิ ยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

ตัวอยา่ งที่ 6.3 ชนิ้ งานกลึงมีขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางขนาด 20 มม ค่าความเร็วตัด 24 เมตร /นาที จงหาความเร็วรอบท่ี

จะใชม้ ีคา่ เทา่ กบั เท่าใด
วิธกี าร ใหห้ าตาแหน่งขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของชิน้ งานจากกราฟ ซ่ึงจะอยูด่ ้านบน หรอื ดา้ นล่างของกราฟ จะเป็น

เสน้ แนวดิง่ จากกราฟ และหาตาแหน่งของเส้นความเร็วตัดจะเป็นเส้นแนวเอยี งแลว้ หาตาแหน่งของสองเส้นมาตัดกันท่ีจดุ ใด
แล้ว ให้ตรวจสอบคาความเร็ว รอบจากเส้นในแนวนอนด้านซ้ายมือ จากตัวอย่างค่าความเร็วรอบจะอยู่ท่ีประมาณ 400
รอบ / นาทีสาหรับวิธกี ารหาค่าความเรว็ ตดั ก็ใชห้ ลกั การเดยี วกันกบั การหาค่าความเรว็ รอบ

อตั ราการปอ้ น หมายถึง ระยะทางการเคลอ่ื นทขี่ องเคร่อื งมอื ตัดเพอื่ ตดั เฉือนชิ้นงานต่อการหมุน 1 รอบ
อัตราการปอ้ น สามารถคานวณค่าไดจ้ ากสูตร

S= อัตราการป้อน (มม. / รอบ)
S=
ความยาวของงานกลึงท้งั หมด
L= ความยาวชิ้นงาน ( L1) + ชว่ งหลังมีด ( La) + ชว่ งหนา้ มีด ( Lu)
= เวลาในงานกลงึ (นาที)
ความเร็วรอบ (รอบ / นาที)
Th =
n=

รปู ที่ 4.51 ค่าตา่ งๆ ในการคานวณอตั ราการปอ้ นงานกลึง

ตวั อย่างท่ี 6.4 กลึงช้ินงานยาว 50 มม. มีระยะความยาวช่วงหนา้ มดี 5 มม. และช่วงหลังมดี 5 มม. ใชเ้ วลาในการกลงึ
ช้ินงาน 2 นาที โดยใช้ความเรว็ รอบ 300 รอบ/นาที จงหาอัตราการปอ้ นที่ใช้ในการกลงึ ช้ินงาน

จากสตู ร S=
โจทยก์ าหนด L = 50 + 5 + 5 = 60 มม. , Th = 2 นาที , n = 300 รอบ/นาที

31

20100-1008 งานเครือ่ งมือกลเบือ้ งตน้ หนว่ ยที่ 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

แทนค่าลงในสูตรจะได้

S=

= 0.1
ดงั นัน้ อัตราการปอ้ นทใี่ นการกลงึ งานนม้ี ีค่าเทา่ กบั 0.10 มม./ รอบ
การเลอื กใชค้ วามเร็วรอบ ความเร็วตดั และอตั ราการปอ้ น ยงั จะต้องคานึงถึง

1. ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางของชิน้ งาน
2. วสั ดุที่ใช้ทาเคร่อื งมือตดั

3. ลกั ษณะการจบั ยดึ ชน้ิ งาน
4. ชนดิ ของวสั ดุงาน
5. การระบายความร้อนชิ้นงานกับเคร่อื งมอื ตัด

6. ประสทิ ธภิ าพของเครือ่ งจกั ร
7. ลักษณะของผวิ งานท่ตี อ้ งการ เช่น ความละเอียด ความหยาบของผิวงาน

ลักษณะงานกลงึ
เครอ่ื งกลึงเป็นเครอ่ื งมือกลที่สามารถผลิตหรือแปรรูปชนิ้ งานไดห้ ลายลกั ษณะด้วยกัน ได้แก่
1. งานกลึงปาดหนา้

เป็นการตดั เฉือนช้ินงานเพือ่ ใหผ้ ิวหน้าช้ินงานเรยี บได้ฉากและไดข้ นาดความยาวลดลงตามต้องการ

รูปที่ 4.52 ลักษณะงานกลึงปาดหนา้

2. งานกลงึ ปอกผวิ
เปน็ การตัดเฉอื นชิน้ งานเพ่อื ให้ชนิ้ งานลดขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางให้ไดต้ ามตอ้ งการ

รปู ที่ 4.53 ลักษณะงานกลงึ ปอกผวิ 32

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งต้น หน่วยที่ 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พ้นื ฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

3. งานกลงึ เกลียว
ลักษณะงานกลึงที่ทาให้ชิ้นงานเกิดเป็นฟันเกลียวลักษณะต่าง ๆ ตามต้องการเช่น เกลียวสามเหล่ียม เกลียว

สี่เหลี่ยม เกลียวกลม เป็นต้น งานกลึงเกลยี วลกั ษณะของมดี กลงึ กจ็ ะมีรูปแบบหรอื ฟอร์มเหมอื นชิ้นงานกลึงทีต่ ้องการด้วย

รูปท่ี 4.54 ลักษณะงานกลึงเกลียว
4. งานกลึงเรยี ว

ลักษณะงานกลึงที่ทาให้ขนาดของเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางลดลงดว้ ยสัดสว่ นที่สม่าเสมอ

รปู ที่ 4.55 ลักษณะงานกลงึ เรยี ว
5. งานกลึงตกร่อง

เป็นลกั ษณะงานกลึงทท่ี าใหเ้ กิดรอ่ งบนช้ินงานอาจจะเปน็ รอ่ งตรง ร่องโค้งหรอื ร่องสีเ่ หล่ยี มคางหมู

รปู ท่ี 4.56 ลกั ษณะงานกลงึ ตกรอ่ ง 33

20100-1008 งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนิคพ้นื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

6. งานกลึงข้นึ รปู
ลกั ษณะงานกลงึ เพอ่ื ทาให้ชนิ้ งานเกิดเปน็ รูปร่างต่าง ๆ เชน่ งานกลงึ โค้งรศั มมี ีดกลึงขนึ้ รูปก็จะมรี ูปรา่ งหรือ

ฟอร์มทีเ่ หมอื นกนั กบั ลักษณะช้ินงานท่ตี อ้ งการดว้ ย

รูปท่ี 4.57 ลักษณะงานกลึงขน้ึ รูป

7. งานกลงึ พมิ พ์ลาย
เป็นงานกลงึ ท่ที าให้ช้ินงานเกิดเป็นลายตา่ ง ๆ เช่น ลายตรง และลายทแยง มีประโยชน์เพื่อใหช้ ้นิ งานเกิดความ

สวยงาม หรอื ใหบ้ ริเวณทีพ่ มิ พ์ลายสามารถจับได้ม่ันคงยิ่งข้ึนงานกลึงลักษณะน้ีจะไม่ใชม้ ดี กลงึ แต่จะใช้ชดุ ลอ้ พิมพล์ ายกด
ชน้ิ งานเพื่อใหเ้ กิดลายนนู ขน้ึ มา

รปู ท่ี 4.58 ลักษณะงานกลงึ พมิ พล์ าย

8. งานกลงึ คว้านรู
เป็นงานกลึงเพือ่ ใหข้ นาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางภายในหรือขนาดของรูมขี นาดใหญ่ขึ้น หรอื ตามความตอ้ งการ

รปู ที่ 4.59 ลกั ษณะงานกลึงควา้ นรู
9. งานเจาะรู

เป็นการทาให้เกิดรูขน้ึ ที่ชน้ิ งานโดยการใช้ชุดหัวจบั ดอกสว่านจับยึดร่วมกับส่วนประกอบของเคร่อื งกลงึ คือ ชุด
ศนู ย์ทา้ ยแทน่

34

20100-1008 งานเครอ่ื งมอื กลเบ้อื งต้น หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพื้นฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบควำมรู้

การบารุงรักษาเคร่ืองกลงึ
เป็นสิ่งสาคัญทเ่ี ราจะตอ้ งมีการบารงุ รักษาเครอ่ื งกลงึ เพื่อใหเ้ ครอื่ งกลึงมอี ายุการใช้งานเพิ่มมากข้นึ เพราะเคร่ืองกลึง

มีส่วนประกอบหลายส่วนที่เกิดการหมุนและการเคลื่อนที่อาจทาให้ช้ินส่วนบางส่วนสึกหรอ อาจจะทาให้เครื่องกลึงไม่
เท่ยี งตรงหรือประสทิ ธภิ าพในการทางานต่าลง เราจาเปน็ อย่างยิง่ ทีจ่ ะตอ้ งมกี ารบารงุ รกั ษาเคร่อื ง
กลึงดังต่อไปน้ี

1. ตรวจสภาพของเคร่อื งกลงึ ก่อนการใชง้ าน
2. หยอดนา้ มันหลอ่ ล่นื ส่วนที่มีการเคลื่อนท่โี ดยเฉพาะชุดหวั เครอ่ื งซงึ่ จะประกอบดว้ ยชุดเฟืองต่าง ๆ
3. การทาความสะอาดเครอ่ื งกลึง ไมค่ วรใชล้ มเป่าเพราะเศษโลหะอาจเขา้ ไปในชอ่ งเลอ่ื นต่าง ๆ ทาใหเ้ กิดการสึก
หรอ เม่อื มกี ารเคล่ือนท่ีบอ่ ยครงั้
4. ควรปรบั ค่าความเรว็ รอบ ความเร็วตดั ให้ถูกตอ้ งและเหมาะสมกับขนาดของช้ินงาน
5. ทาความสะอาดหวั จบั โดยการถอดฟันจบั ออกแลว้ ปัดเศษโลหะออกเป็นประจา เพราะเศษโลหะอาจเข้าไปในร่อง
ฟนั ทาใหส้ ึกหรอได้
6. ไม่ควรเชอ่ื มงานในบรเิ วณสะพานแทน่ เครื่องถ้าหลีกเลีย่ งไมไ่ ดใ้ หใ้ ชแ้ ผน่ ไมห้ รือแผน่ เหล็กรองสะพานแท่นเครือ่ ง
ก่อนการเชือ่ ม
7. ไมค่ วรใชค้ อ้ นตอกอุปกรณ์บนเครอ่ื งกลึง เช่น ป้อมมดี ชุดศนู ย์ท้ายแทน่ เพราะอาจทาให้อุปกรณด์ งั กล่าวชารุด
เสียหายได้
8. ตัง้ ระยะห่างของฟนั เฟอื งในชุดเฟืองตา่ ง ๆ ให้ขบกันพอดี
9. การเปล่ียนความเร็วรอบของหวั จับควรปดิ สวิตช์เพื่อหยุดเครื่องทุกครัง้
10. หลังเลิกการปฏิบัตงิ านบนเครอ่ื งกลงึ ควรทาความสะอาดและชโลมน้ามนั สว่ นทม่ี กี ารเคล่ือนทีท่ ุกครงั้
ความปลอดภัยในงานกลงึ
การปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกบั เครื่องกลงึ เพอื่ ให้เกิดความปลอดภัยและป้องกันการเกดิ อุบตั เิ หตมุ ีความสาคัญอยา่ งยง่ิ ที่
ผู้ปฏบิ ตั งิ าน จะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความปลอดภยั ในการใช้เคร่อื งกลึง ดงั ต่อไปนี้
1. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านควรแต่งกายใหร้ ัดกุมและสวมเครอื่ งป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลในสว่ นทจ่ี าเปน็

รูปท่ี 4.60 การแต่งกายท่ถี กู ต้องในการปฏบิ ัติงานกลงึ

2. ก่อนเปดิ เครื่องทางานต้องแนใ่ จว่าอุปกรณจ์ ับยึดต่างๆพร้อมท่ีจะใชง้ าน เช่นหวั จบั ช้นิ งาน ป้อมมีด เปน็ ต้น
3. ควรถอดประแจขนั หัวจบั ออกจากหัวจบั กอ่ นการเปดิ เครื่องทกุ คร้งั

35

20100-1008 งานเครอ่ื งมือกลเบื้องตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลัยการอาชีพแกลง

ใบควำมรู้

รูปท่ี 4.61 การเสียบประแจขันหัวจบั คา้ งไว้ทห่ี วั จบั
4. ไมค่ วรสวมเคร่อื งประดับ เชน่ สร้อยคอ แหวน นาฬกิ าขณะปฏบิ ตั งิ านกลึง

5. ไมต่ รวจสอบชนิ้ งานขณะช้นิ งานกาลังหมุน
6. ใช้แปรงหรอื ตะขอเหล็กเพ่ือปัดเศษโลหะจากการกลึง ห้ามใช้มอื โดยเด็ดขาด

รูปท่ี 4.62 การใช้แปรงปัดเศษโลหะจากการกลึง 36
7. บรเิ วณปฏบิ ตั ิงานกลงึ ควรมแี สงสว่างท่ีเพยี งพอ
8. ไม่ควรหยอกลอ้ กันขณะปฏิบัติงานกลึง
9. ไมค่ วรจบั ชิ้นงานส้ันหรือยาวจนเกนิ ไป
10. ขณะชิ้นงานหมนุ หา้ มใช้มือจบั ท่ชี ิ้นงาน
11. การเปิด – ปิดสวติ ชเ์ ครื่อง ควรให้ผ้ปู ฏิบัตเิ ป็นผคู้ วบคมุ เอง
12. สถานทปี่ ฏิบัติงานควรเปน็ ระเบยี บ ไมค่ วรมีสิ่งของทไี่ มจ่ าเปน็ อยู่ในพืน้ ท่ีปฏบิ ตั ิงาน

รปู ท่ี 4.63 สถานทป่ี ฏบิ ัติงานไม่เปน็ ระเบียบ
13. ปฏิบัตติ ามกฎของความปลอดภัยโดยเคร่งครดั

20100-1008 งานเครือ่ งมือกลเบ้ืองตน้ หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนคิ พ้นื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

37

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

38

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

39

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

40

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

41

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

ใบกิจกรรม

42

20100-1008 งานเคร่อื งมือกลเบื้องตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนคิ พน้ื ฐาน วทิ ยาลยั การอาชพี แกลง

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ตอนที่ 1 จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1. เครอื่ งกลงึ มกี ่ชี นิดอะไรบา้ ง
2. เครอ่ื งกลึงชนิดใดทีน่ ิยมใช้มาก
3. การกาหนดขนาดของเครอื่ งกลึงยนั ศนู ย์ยดึ อะไรเปน็ หลัก
4. จงบอกส่วนประกอบของเครือ่ งกลงึ มาอย่างนอ้ ย 4 ส่วน
5. การบารุงรักษาเครื่องกลงึ ควรทาอะไรบา้ ง
6. ข้อควรระวังในการใชเ้ ครื่องกลึงขณะปฏบิ ัติงานควรทาอย่างไรบ้าง
7. เครอื่ งกลึงยนั ศูนย์ใชท้ างานอะไรไดบ้ ้าง

ตอนที่ 2 จงทาเครือ่ งหมาย  หน้าข้อท่เี ห็นวา่ ถูก และทาเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ทีเ่ ห็นวา่ ผิด

……… 1. การวดั งานบนเคร่ืองกลึง ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งหยุดเครอื่ งให้สนทิ
……… 2. การเปล่ยี นเฟอื งบนเครื่องกลึงทกุ คร้งั ต้องหยุดเครื่องให้สนิท
……… 3. ใชม้ อื เขี่ยเศษโลหะแทนแปรงปดั เศษโลหะ ถา้ มเี ศษโลหะเพียงเลก็ นอ้ ย
……… 4. การเชด็ ถู ทาความสะอาดเครอ่ื งกลงึ เปน็ การบารุงรกั ษาเครื่องกลงึ
……… 5. บางครั้งลืมประแจขันหวั จับทห่ี ัวจับงาน กไ็ ม่เป็นอนั ตรายมากนัก
……… 6. การกลึงงานบนเครือ่ งกลึงทุกคร้งั ไม่จาเปน็ ตอ้ งสวมแวน่ ตานริ ภัย
……… 7. การหยอดน้ามนั หลอ่ ลน่ื บนเครอื่ งกลึงบอ่ ย ๆ ทาให้สนิ้ เปลืองมาก จึงไมค่ วรทา
……… 8. ขณะกลึงควรยนื อย่ดู ้านทา้ ยของเคร่อื งกลงึ เท่าน้นั
……… 9. ควรใชแ้ ปรงขนมา้ หรอื ผา้ ทาความสะอาดลายทีพ่ ิมพ์
……… 10. ในขณะถอดหรอื จับงานไม่ต้องระวงั มดี กลึงท่อี ยู่บนแท่นมีด เพราะอยหู่ ่างจากหัวจบั งาน

43

20100-1008 งานเครือ่ งมือกลเบอ้ื งตน้ หน่วยที่ 4 งานกลึง
แผนกวชิ าเทคนคิ พื้นฐาน วิทยาลัยการอาชพี แกลง

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

ตอนที่ 1 เฉลยคาถาม

1. 3 ชนดิ
1.1 เครอ่ื งกลึงต้ัง (Vertical turret lathe)
1.2 เครอ่ื งกลึงหน้าจาน (Facing lathe)
1.3 เครอ่ื งกลงึ ป้อม (Turret lathe)
1.4 เครอ่ื งกลึงยนั ศูนย์ (Center lathe)

2. เครอ่ื งกลงึ ยันศนู ย์

3. การกาหนดขนาดของเครื่องกลงึ ยนั ศนู ย์
3.1 ขนาดความยาวจากหน้าเพลาหัวเคร่ืองถึงทา้ ยเคร่อื ง
3.2 ขนาดความยาวระหวา่ งยันศนู ย์
3.3 ขนาดรัศมีหรือเส้นผา่ ศูนย์กลางระหว่างสะพานแท่นเลื่อนกับเพลาหัวเครอ่ื งท่ีสามารถจับช้ินงานกลงึ ได้
โตที่สดุ

4. ส่วนประกอบของเครอื่ งกลงึ
4.1 ชุดหัวเครอ่ื งกลึง (Head stock)
4.2 ชดุ แทน่ เลอ่ื น (Carriage)
4.3 ชดุ ระบบป้อน (Feed mechanism)
4.4 ชดุ ทา้ ยแท่น (Tail stock)

5. การบารุงรักษาเครอื่ งกลึง เพอื่ เปน็ การรักษาให้เคร่ืองกลึงมีอายกุ ารใชง้ านทย่ี าวนาน ควรมีการบารงุ รักษา ซง่ึ การ
บารุงรักษาโดยทัว่ ๆ ไปมดี ังนี้คือ
5.1 ตรวจดูความพร้อมของเคร่ืองกลึงอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการตรวจดรู ะบบไฟฟ้า ชนิ้ ส่วนต่าง ๆ ของ
เครือ่ งกลงึ จะตอ้ งอยู่ในสภาพทใี่ ช้งานได้ดีและปลอดภยั
5.2 ก่อนใช้เคร่ืองกลงึ ทุกครั้ง จะต้องทาการหยอดน้ามันหล่อลื่นในส่วนท่ีเคลื่อนที่ได้ เป็นการลดการเสียดสี
ในขณะใช้งาน

44

20100-1008 งานเครอ่ื งมอื กลเบอ้ื งตน้ หน่วยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวชิ าเทคนคิ พนื้ ฐาน วิทยาลยั การอาชพี แกลง

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

5.3 ในการเปลี่ยนความเร็วรอบ โดยเฉพาะเคร่ืองกลึงที่มีการเปล่ียนความเร็วรอบด้วยชุดเฟืองทด ควร
จะตอ้ งหยดุ เคร่อื งกอ่ นเปลีย่ นความเร็วรอบ และควรโยกคนั โยกบังคับให้ตรงตาแหน่ง มฉิ ะนัน้ ฟันเฟอื ง
จะขบกนั ไมเ่ ต็มฟนั จะทาใหเ้ ฟืองเกดิ รอยเยนิ และสกึ หรอเร็ว

5.4 การเลือกใช้ความเร็วรอบ อัตราป้อนกลึง จะต้องเลือกให้เหมาะสมกับชนิดของงาน ถา้ ใช้ความเร็วรอบ
เรว็ เกนิ ไป หรอื การป้อนกนิ ลกึ มากเกินไป หรอื ใช้อตั ราปอ้ นกลึงเร็วเกนิ ไป ทาใหเ้ คร่อื งกลงึ รบั ภาระหนัก
อาจเป็นสาเหตุทาใหเ้ คร่ืองกลงึ ชารดุ เสยี หายได้

5.5 จะต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่องของเคร่ืองกลึงตามระยะเวลาท่ีกาหนด และควรเลือกชนิดของ
น้ามนั เคร่ืองตามท่ีคูม่ ือการใช้เคร่อื งแต่ละเครื่องกาหนดไว้

5.6 หลังจากเลกิ ใช้งานทุกครั้งจะต้องทาความสะอาดเครือ่ ง และจะตอ้ งชโลมนา้ มนั
5.7 ชดุ แท่นเล่ือน หลังเลกิ ใช้งานควรจะเลอ่ื นมาอยู่ตาแหนง่ ใกลช้ ดุ ศูนย์ทา้ ยแทน่ เพราะตาแหน่งน้จี ะมสี ่วน

ที่เป็นฐานชว่ ยรองรับนา้ หนกั ปอ้ งกนั การแอ่นตวั ของแทน่ เลอ่ื น
การบารุงรักษานอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ในการบารุงรักษาท่ีดีควรจะศึกษาจากคู่มอื ของเคร่ืองจักรกลท่ีมา
กบั เครอ่ื งจักรกลนั้น หรือควรสอบถามจากตัวแทนจาหน่าย เพราะจะทราบจุดอ่อนของเครื่องจักรกล น้ัน ๆ เป็น
อยา่ งดี

6. ขอ้ ควรระวังในการใชเ้ คร่อื งกลงึ
6.1 ก่อนใช้เครอ่ื งกลงึ ทุกครงั้ ต้องตรวจสอบความพร้อมของเครื่อง
6.2 ตรวจสอบความพร้อมสภาพร่างกายก่อนใชเ้ ครื่องกลงึ เช่น การแต่งกายต้องรัดกุม ต้องใสแ่ ว่นตานิรภัย
ปอ้ งกันเศษเหล็ก
6.3 ก่อนเปดิ สวิตช์เดินเคร่ืองกลึงต้องมัน่ ใจวา่ ได้จับช้นิ งาน จับมีดกลึง และจับอุปกรณ์ต่าง ๆ แน่นพอเพียง
แลว้
6.4 ขณะทางานกลึงใหร้ ะวังมดี กลึง หรอื ป้อมมีดจะชนกับหวั จับเคร่อื งกลึงทกี่ าลงั หมุน
6.5 หา้ มวางอปุ กรณห์ รือสง่ิ อ่ืนใดตรงบรเิ วณที่เคร่อื งหมนุ
6.6 หา้ มเข่ยี เศษเหลก็ และตรวจวดั ชนิ้ งานขณะกาลงั หมุน
6.7 ขณะปฏิบัตงิ านกับเครื่องกลงึ ทุกครงั้ ตอ้ งมแี สงสวา่ งพอเพยี ง
6.8 หา้ มหยอกลอ้ กนั ขณะปฏิบัติงาน เพราะจะเกดิ อนั ตรายได้
6.9 การใชเ้ ครือ่ งกลงึ ทุกคร้งั ตอ้ งเปดิ - ปดิ สวติ ช์เครอื่ งดว้ ยตนเอง หา้ มใชผ้ ู้อ่นื
6.10 อย่าประมาณขณะปฏิบตั ิงานกับเครื่องกลงึ

45

20100-1008 งานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งตน้ หนว่ ยท่ี 4 งานกลงึ
แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลัยการอาชพี แกลง

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

7. งานท่สี ามารถทาบนเครอ่ื งกลึงยันศูนยไ์ ด้ 6. 
7.1 กลงึ ปาดหนา้ ลบคม 7. 
7.2 กลึงปอก 8. 
7.3 กลึงเรยี ว
7.4 กลึงเกลยี ว 9. 
7.5 กลึงตกร่อง 10. 
7.6 เจาะรู ควา้ นรู
7.7 พิมพล์ าย

ตอนที่ 2 เฉลยคาถาม

1. 
2. 
3. 
4. 
5. 

46

20100-1008 งานเครื่องมือกลเบอื้ งต้น หนว่ ยท่ี 4 งานกลึง
แผนกวิชาเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลยั การอาชีพแกลง


Click to View FlipBook Version