แนวทางปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุทางตา กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช หน้า : 14 หน้า แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเลขที่ : WI – NUR - EENT - 006 ทบทวน : ทุกปี เรื่อง : แนวทางปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุทางตา วันบังคับใช้ : 9 มกราคม 2566 วันที่ปรับปรุง : 5 มกราคม 2566 แผนก : กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก จักษุ แผนกที่เกี่ยวข้อง : OPD ตา พิเศษตา ผู้จัดทำ : (นางสาวจุฑาภรณ์ ประภากร) พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ผู้ทบทวน ................................................................ ( นางธารกมล อนุสิทธิ์ศุภการ ) หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลโสต ศอ นาสิก จักษุ ผู้อนุมัติ ......................................................... ( นางมารยาท รัตนประทีป ) หัวหน้าพยาบาล
2 แนวทางปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุทางตา 1. วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอุบัติเหตุทางตา ได้รับการดูแลถูกต้องตามมาตรฐานทางการพยาบาล และทีมสหสาขาวิชาชีพ 2. เพื่อให้ผู้ป่วยภาวะอุบัติเหตุทางตา เกิดความปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน 2. ขอบเขต : แนวการปฏิบัตินี้ใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะอุบัติเหตุทางตาตั้งแต่แรกรับจนถึงจำหน่าย 3. คำนิยาม : หลักการทั่วไปของอุบัติเหตุตอดวงตา คือ คำนึงเสมอวา มีอันตรายต่อชีวิตหรือไม่ถามีตองรับการแกไขในปจจุบันอุบัติเหตุทางตาแบงตาม The American Society of Ocular Trauma: ASOT เป็น closed globe injury และ open globe injury โดยใชคำจำกัดความของ ภาวะบาดเจ็บที่ดวงตาจากอุบัติเหตุทำให้พยาบาลเวชปฏิบัติทางตาสามารถใหคำวินิจฉัยได้ถูกตองและตรงกับจักษุแพทย์ คำจำกัดความที่นิยม ใชสำหรับอุบัติเหตุทางตา คือ Birmingham Eye Trauma Terminology (BETT) Rupture Full- thickness wound of the eyewall, caused by a blunt object.Since the eye is filled with incompressible liquid, the impact results in momentary increase of the IOP. The eyewall yields at its weakest point (at the impact site or elsewhere; example: an old cataract wound dehisces even though the impact occurred elsewhere); the actual wound is produced by an inside- out mechanism
3 4. เอกสารอ้างอิง : American society of ocular trauma. Birming ham Eye Trauma Terminology System. [Internet], [accessed Mar 3, 2012]. Available from: URL: http://www.asotonline.org/. นิลวรรณ ศิริคูณ,ผศ.Ocular emergency.เอกสารการสอน:2552 ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ, กิตติชัย อัครพิพัฒนกุล, บรรณาธิการ. (2551). ตําราพยาบาล เวชปฏิบัติทางตา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหมอชาวบาน. ศิริลักษณ กิจศรีไพศาล. (2545). การพยาบาลผูรับบริการที่ผิดปกติทางตา. ปทุมธานี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 5. หน้าที่ความรับผิดชอบ : พยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก 6. เป้าหมาย : ผู้ป่วยที่มีภาวะอุบัติเหตุทางตาได้รับการดูแลได้ตามมาตรฐานทางการพยาบาล 7. ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยไม่เกิดอุบัติการณ์จากอันตรายและภาวะแทรกซ้อนจากการนอนรักษาอยู่ในร.พ.ตั้งแต่แรกรับจนถึงระยะจำหน่าย 2. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยภาวะอุบัติเหตุทางตา < 5 %
4 8.แนวทางปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุทางตา การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) ระยะแรกรับ 1.จัดให้ผู้ป่วยเข้ารักษาใน หอผู้ป่วย ตา หู คอ จมูก พยาบาลวิชาชีพประเมิน ปัญหาและความต้องการ แรกรับโดยขั้นตอนการดูแล ภาวะอุบัติเหตุทางตา -ดูแลภาวะที่มีความเสี่ยง ตอการสูญเสียชีวิตกอน -ทำการลางผิวดวงตาทันที ในกรณีที่เป็นสารเคมี -ซักประวัติทางตา/ประวัติ รายละเอียดของอุบัติเหตุ -ประวัติอดีต -ตรวจร่างกายและตรวจตา -ใหการรักษาที่ถูกตองและ เหมาะสม เป็นต้น การซักประวัติ 1. การซักประวัติอุบัติเหตุ 1.วิตกกังวลเกี่ยวกับโรค อาการและการมองเห็น 1.ผู้ป่วยได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง และมีการเปิดโอกาสในการ ซักถามข้อสงสัย หรือเปิด โอกาสให้ครอบครัวได้มีส่วน ร่วมในการดูแลผู้ป่วย ได้รับ กำลังใจที่ดี 1.ประเมินความวิตกกังวล 2.อธิบายเกี่ยวกับภาวะอุบัติเหตุทางตา และการรักษา 3.เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย 4.ให้กำลังใจผู้ป่วยและให้ข้อมูลการ รักษาอย่างต่อเนื่อง 4.ติดตามประเมินความวิตกกังวล โดย การสังเกตสีหน้า และการซักถาม 1. ผู้ป่วยมีความกังวลลดลง 2. มีสีหน้าแจ่มใสขึ้น 3. ผู้ป่วยได้รับข้อมูลถูกต้อง และครบถ้วน
5 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) 1.1 ประวัติของภยันตรายที่ อาจนำไปสู่การสูญเสียชีวิต 1.2 ประวัติของภยันตรายที่ อาจนำไปสู่การสูญเสียการ มองเห็น 1.3 เวลาที่เกิดเหตุ 1.4 มีผู้เกี่ยวของ/คูกรณี 1.5 ลำดับเหตุการณที่ เกิดขึ้นอย่างละเอียด 1.6 ถามเรื่องการใชคอน แทคเลนส แว่นตาหรือ อุปกรณปองกันอันตราย ตอตา 2. การซักประวัติทางตา 2.1 ประวัติการผาตัดตา 2.2 ประวัติการฝังเลนส แกวตาเทียม 2.3 ประวัติการใชยาทางตา 2.4 ประวัติระดับสายตาที่ดี ที่สุดกอนเกิดเหตุ 3. การซักประวัติการใชยา 3.1 ประวัติการใชยา เชน ภาวะผิดปกติของการแข็งตัว 2.ผู้ป่วยมีโอกาสติดเชื้อที่ตา จากภาวะอุบัติเหตุทางตา 3.ผู้ป่วยไมสุขสบายเนื่องจาก ความเจ็บปวดจากภาวะ อุบัติเหตุทางตา 1.ผู้ป่วยไม่เกิด/ไม่ได้รับ อันตรายจากการติดเชื้อ ลุกลามที่ตา 3.ผู้ป่วยได้รับการดูแลเพื่อ บรรเทาอาการเจ็บปวดได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่ง ถึงภาวะติดเชื้อที่ตาเชน เปลือกตาบวม มาก เยื่อบุตาขาว บวมแดง แผลที่ กระจกตากวางมากขึ้น มีหนองในชอง หนามานตา ขี้ตาสีเหลืองหรือเขียว มี อาการปวดตารุนแรง 2.ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอน/หลังให การพยาบาลและใหการพยาบาลโดยยึด หลัก aseptic Technique 3.ดูแลเช็ดตา sterile วันละ 1 ครั้งหรือ เมื่อประเมินอาการทางตาแลวมีขี้ตา 4.ใหขอมูลถึงลักษณะของแผลที่กระจก ตาแนวทางการรักษาของแพทย 5.ดูแลครอบตาดวย eye shield และ แนะนําไมใหผูปวยขยี้ตา 6.แนะนําไมใหน้ำเขาตา โดยเช็ดหน้า แทนการลางหนา 7.ดูแลunit care, hygiene care เพื่อ ลดการสะสมของเชื้อโรค 1.ประเมินอาการปวดหรือระคายเคือง ตา จากคําบอกเลา อาการและอาการ 1.เปลือกตาบวมแดงลดลง ตาแดงลดลง แผลที่กระจกตา ไมกวางขึ้น ขี้ตาลดลง ไมมี หนองในชองหนามานตา 1.ผูปวยเจ็บปวดลดลง/นอน พักผอนได 2.Pain score < 3
6 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) ของเลือด การใชยาละลาย ลิ่มเลือด 3.2 ประวัติการแพยา/ สารเคมีต่างๆ 3.3 ประวัติการฉีดวัคซีน บาดทะยัก 4. ประวัติการรักษากอนมา พบแพทย์ 4.1 ได้รับการรักษาอย่างไร มาแล้วบ้าง ล้างตา/หยอด ยาอะไรบ้างและอย่างไร 4.2 ควรจะทราบชนิดของ ยา ขนาดของยาและระยะ เวลาที่ใช โดยเฉพาะยา ปฏิชีวนะ 4.3 ระยะเวลาการงดน้ำ และอาหาร 4.4 ขอมูลการรักษาจาก แพทย์คนกอน 2.จำแนกประเภทผู้ป่วย ตามคู่มือของกองการ พยาบาล 4.ความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ลดลง 4.ผู้ป่วยได้รับการดูแล เป็นไปตามมาตรฐานการ พยาบาลและการดูแลผู้ป่วย ที่มีภาวะอุบัติเหตุทางตา แสดงของผูปวย เชนสีหนาไมสุขสบาย กระสับกระสาย นอนพักผอนไมได 2.ใหขอมูลเกี่ยวกับแผลที่กระจกตา การ รักษา หากมีขี้ตาหรือคราบยาดูแลเช็ด ตาใหกอนหยอดตาทุกครั้ง 3.ใหการพยาบาลดวยความนุมนวล 4.จัดใหอยูในสิ่งแวดลอมใหเงียบและผ อนคลายเพื่อใหผูปวยไดพักผอน 5.แนะนําไมใหขยี้ตาเพราะจะทําใหแผล ขยายวงกวาง สงผลใหปวดตามากขึ้น 6.ดูแลใหยาบรรเทาอาการปวด paracetamol (500mg) 2 tabs oral prn for pain 1.ประเมินความสามารถในการดูแล ตนเองของผู้ป่วย 2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอาหาร อย่างเพียงพอ 1.ผู้ป่วยมีความสามารถใน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ได้อย่างปลอดภัย
7 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) 3.วินิจฉัยโดยประเมินตาม ASOT เป็น closed globe injury และ open globe injury ดังนี้ 3.1 Closed globe injury - เปลือกตา ได้แก เปลือก ตาช้ำ (ecchymosis) อาการมีเลือดออกในเปลือก ตามีรอยเขียวช้ำรอบตา อาจมีกระดูกเบ้าตาแตกร่วม - เบ้าตา ได้แก กระดูก เบ้าตาแตก (fracture orbit) มักมีเปลือกตาบวม ช้ำรวมด้วย ตาบวม มองเห็น ภาพซอน - เยื่อบุตา ได้แก เลือด ออกใตเยื่อบุตา (subconjunctival hemorrhage) อาการ ตา แดง ไม่เคืองตา ไม่มีน้ำตา ไหล สายตาปกติตรวจพบ ใตเยื่อบุตามีเลือดออก 5.ขาดความรู้เกี่ยวกับโรค และการปฏิบัติตนในการดูแล ตนเองเมื่อจำหน่าย 5.ผู้ป่วยได้รับความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแล ตนเอง และสามารถนำไป ปฏิบัติตนได้ 3.ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน เช่น การเข้าห้องน้ำ อาบน้ำ รับประทาน อาหาร 4.จัดเตรียมอุปกรณ์ของใช้ใกล้มือง่ายต่อ การหยิบใช้คอยดูแลช่วยเหลือกรณีที่ ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับได้ 5.ยกเหล็กกั้นเตียงขึ้นไว้ทั้งสองข้างทุก ครั้งหรือเสร็จสิ้นกิจกรรมการรักษา พยาบาล 6.ประเมินติดตามผู้ป่วยหลังการให้การ พยาบาล+บันทึกผลทางการพยาบาล 1.การพยาบาลระยะเตรียมจำหน่ายกลับ บ้าน มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ คลายความวิตกกังวล มีความ รู้ ความเข้าใจ แผนการจำหน่ายกลับ บ้านโดยใช้หลัก D-METHOD มีกิจกรรม การพยาบาล ดังนี้ 1.ผู้ป่วยและญาติมีความรู้ และเข้าใจในการดูแลตนเอง เมื่อจำหน่าย
8 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) - กระจกตา ได้แก กระจก ตาถลอก (corneal abrasion) อาการ เคืองตา มาก น้ำตาไหล สู้แสงไม่ได้ สายตาปกติหรือมัวลงขึ้นกับ ตำแหนง - ชองหนาตา ได้แก เลือดออกที่ชองหนาตา (traumatic hyphema) อาการ ตาแดง ตามัวลง ไม่ มีขี้ตาหลังจากถูกกระแทก ตรวจพบ มีเลือดออกที่ชอง หนาตา - เลนส ได้แก ตอกระจก (traumatic cataract) อาการ ตามัวลงเรื่อยๆ ไม่มี ตาแดง ไม่มีขี้ตา ตรวจพบ เลนสขุ่น ระยะแรกคล้ายรูป ดาว ระยะหลังขาวขุน เลนสเคลื่อน (lens dislocation) อาการ ตามัว ลงทันที มีตาแดง ปวดตา D-Diagnosis อธิบายผู้ป่วยและญาติ เกี่ยวกับสาเหตุการดำเนินโรค การ รักษา และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อ ป้องกันการเกิดกลับเป็นซ้ำของโรค M-Medicine แนะนำการรับประทานยา ที่ผู้ป่วยได้รับ ครอบคลุมถึงสรรพคุณของ ยา ขนาด วิธีใช้ และอาการข้างเคียงที่ อาจพบได้ E-Environment แนะนำผู้ป่วยและญาติ จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ ทำความ สะอาดบ้านอย่างสม่ำเสมอและหลีกเลี่ยง จากการไปสัมผัสชุมชนแออัด T-Treatment เปิดโอกาสผู้ป่วยและ ญาติได้ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับแนว ทางการรักษา H-Health แนะนำการป้องกันการกลับ เป็นซ้ำ การฟื้นฟูสุขภาพ เช่น การออก กำลังกาย O-Out patient แนะนำผู้ป่วยและญาติ เกี่ยวกับสิทธิการรักษา การมาตรวจตาม แพทย์นัดเพื่อติดตามอาการอย่าง ต่อเนื่องและหากมีอาการผิดปกติให้มา
9 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) - น้ำวุ้นตา ไดแกเลือดออก ที่น้ำวุ้นตา (vitreous hemorrhage)อาการ ตามัว ลงเรื่อยๆหรือทันที ไม่มีตา แดงไมมีขี้ตา - จอประสาทตา ไดแก จอ ประสาทตาบวม (retinal edema), จอประสาทตาฉีก ขาด (retinal tear),จอ ประสาทตาลอก ( RD ) 3.2 Open globe injury -เยื่อบุตา ไดแก การฉีกขาด ของเยื่อบุตาขาว (conjunctival laceration) ในกรณีพบการฉีกขาดของ เยื่อบุตาขาว ใหระวัง perforating injuryของลูก ตาไวโดยสังเกตอาการแสดง ดังนี้ 1ความดันในลูกตาต่ำกว่า ปกติ ตรวจก่อนแพทย์นัดหรือกรณีฉุกเฉิน สามารถติดต่อขอความช่วยเหลือ โรงพยาบาลใกล้บ้าน D-Diet แนะนำผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับ การรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย และมีสารอาหารครบ 5 หมู่
10 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) 2การเปลี่ยนแปลงความลึก ของชองหนาลูกตา 3เลือดออกในน้ำวุ้นตา -กระจกตา ไดแก กระจก ตาฉีกขาด (corneal laceration )อาการ ปวดตา เคืองตา ระดับสายตาลดลง ตรวจพบแผลทะลุที่กระจก ตา อาจจะมีหรือไมมีมานตา มาคาที่รอบแผล ชองหน้า ลูกตาตื้น - เลนส ไดแก เลนสเคลื่อน (lens dislocation)เลนส แตก (rupture lens)อาการ ตามัวลงหลังเกิดอุบัติเหตุ อาจมีอาการปวดตาถามี ความดันตาสูงรวมดวย - น้ำวุนตา ไดแกเลือดออก ที่น้ำวุนตา (vitreous hemorrhage) อาการ ตา มัวลงทันที ไมมีตาแดง ไมมี ขี้ตา
11 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) -จอประสาทตา ไดแก จอ ประสาทตาฉีกขาด(retinal tear) -ขั้วประสาทตา ไดแก เลือดออกที่ขั้วประสาทตา 4.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ การประเมินภาวะสุขภาพ (11 แบบแผนกอร์ดอน) ผลการตรวจร่างกาย ผล การตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ผลการ ประเมินทางการพยาบาล ให้ครบถ้วนภายใน 24 ชั่วโมงหลังรับผู้ป่วย 5.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ แบบแผนการดำเนินชีวิต การรับรู้ต่อความเจ็บป่วย ภาวะสุขภาพ ความเชื่อ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ 6.การวางแผนจำหน่าย
12 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) ระยะดูแลต่อเนื่อง 1.ประเมินสังเกตลักษณะ และอาการของภาวะ อุบัติเหตุทางตาทุกวันและ ทุกเวร โดยพบว่าเมื่ออาการ ของโรคดีขึ้น 2.ประเมินเกี่ยวกับการดูแล ตนเองของผู้ป่วยและผู้ดูแล การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของครอบครัวในการดูแล ผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะ อุบัติเหตุทางตาเพื่อมุ่งหวัง ให้ครอบครัวสามารถมีส่วน ร่วมในการดูแลผู้ป่วยได้ อย่างถูกต้องและตอบสนอง ความต้องการของผู้ป่วยให้ ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์ และ ด้านสังคม โดยมีการสอน และฝึกทักษะที่จำเป็นใน
13 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) การดูแลผู้ป่วยที่เมื่อกลับไป อยู่ที่บ้าน เน้นให้เข้าใจใน การเจ็บป่วยและการป้องกัน การกลับเป็นซ้ำโดยจำหน่าย รูปแบบ D-M-E-T-H-O-D โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ประเมินปัญหาและความ ต้องการของผู้ป่วยร่วมกับ ครอบครัว 2) นำข้อมูลที่ได้มาวางแผน แก้ไขปัญหาของผู้ป่วยแต่ละ คน 3) วางแผนจำหน่ายโดยมี การกำหนดกิจกรรม ประจำวันในการวางแผน จำหน่ายผู้ป่วย 4) ปฏิบัติตามกิจกรรม ประจำวัน โดยให้ความรู้ และฝึกทักษะที่จำเป็น ในการดูแลผู้ป่วยที่เพื่อ ป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ 5) การประเมินผลการ ปฏิบัติ
14 การประเมินปัญหาฯ (มาตรฐานที่ 1) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (มาตรฐานที่2) การวางแผนการพยาบาล (มาตรฐานที่3) การปฏิบัติการพยาบาล (มาตรฐานที่1, 3, 4, 5, 6,7,8,9,10,11) การประเมินผล (มาตรฐานที่6) 3. ประเมินติดตามการดูแล ตนเองอย่างต่อเนื่อง ระยะจำหน่าย 1.ประเมินผู้ป่วยในการดูแล ตนเองก่อนการจำหน่าย 1.1.ประเมินความพร้อม ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ 1.2 ประเมินความรู้ เกี่ยวกับการดูแลตนเอง โดย มีการติดตามและประเมิน เป็นระยะ จนถึงจำหน่าย