ทกั ษะการสนทนา
การสนทนา หมายถงึ การพดู คุยเพอ่ื แลกเปลยี่ นความคดิ
ความรู้สึก และประสบการณซ์ ง่ึ กนั และกัน
ความสาคญั ของการสนทนา
1. ดา้ นความรู้ 4. ดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์
2. ดา้ นอารมณ์ 5. ดา้ นจิตใจ
3. ด้านธุระการงานและอาชีพ
หลักการสนทนา
1. รู้จักกาลเทศะและบุคคล เพอ่ื จะได้แสดงกริ ิยาเหมาะสม
2. รู้จักสารวมตามประเพณีนิยมอันดงี าม
3. รู้จักเลอื กเรื่องสนทนา
4. รู้จักเลอื กใช้ถอ้ ยคาภาษา
5. มศี ลิ ปะในการสนทนา
6. เป็ นนักฟังทด่ี ี
7. ไม่ละลาบละล้วง ขุดคุ้ย พดู เรื่องส่วนตวั จนเกนิ ไป เช่น ปมดอ้ ย
วัตถุประสงคข์ องการสนทนา
1. เพอ่ื วพิ ากษว์ จิ ารณ์ เป็ นการแสดงความคดิ เหน็ ตชิ ม ตัดสนิ ดา้ นด-ี
ไมด่ อี ย่างมเี หตุผล
2. เพอ่ื ปรึกษาหารือ เป็ นการขอความช่วยเหลอื ในทางความคดิ หา
แนวทางแก้ปัญหา หรือขอความรู้ไปในทางปฏบิ ตั ิ
3. เพอื่ กจิ ธุระ เป็ นการสนทนาเพอ่ื ซอื้ สนิ ค้า ตดิ ต่อราชการ
วัตถุประสงคข์ องการสนทนา
4. เพอ่ื ชแี้ จง เป็ นการพูดคุยเพอ่ื ขยายความเข้าใจในเร่ืองหนึ่ง
ใหช้ ัดเจน เพอื่ ให้คู่สนทนาเข้าใจข้อเทจ็ จรงิ ใหถ้ ูกต้องยง่ิ ขนึ้
5. เพอื่ ประนีประนอม เป็ นการหาทางแก้ไขข้อขัดแย้งในเรื่อง
ตา่ ง ๆ อย่างนุ่มนวล รักษามติ รภาพอันดงี ามไว้
6. เพอ่ื โน้มน้าวชักชวน เป็ นการขอความร่วมมอื ใหค้ ู่สนทนา
วธิ ีการสนทนา
1. การเริ่มตน้ ควรเริ่มจากการไหว้(กรณีอายุน้อยกว่า)
ทกั ทายสวัสดี ถามสารทกุ ขส์ ุกดบิ ถามถงึ บุคคลใกล้ชิด
2. การดาเนินการสนทนา
2.1 คนคุน้ เคย เข้าเรื่องการสนทนาตามวัตถุประสงคไ์ ด้
2.2 คนไม่สนิท ใหแ้ นะนาตนเอง แนะนาบุคคลอน่ื ๆ ในวง
สนทนาก่อน แล้วจงึ เข้าเรื่องตามวัตถุประสงคน์ ั้น ๆ
วธิ ีการสนทนา
หากมกี ารมอบนามบตั รกนั ควรแสดงความสนใจต่อขอ้ ความใน
นามบตั รดว้ ย เช่น ก้มลงอ่าน สอบถามสาระเกยี่ วเนื่องในนามบตั ร
3. การจบบทสนทนา
3.1 คนคุ้นเคย ควรฝากความคดิ ถงึ ไปยงั บุคคลใกล้ชดิ แล้วจงึ
สรุปสาระของวัตถุประสงค์ แล้วจงึ กล่าวอาลา
3.2 คนไม่สนิท ควรสรุปสาระของวัตถุประสงคท์ ันที แล้วปิ ดทา้ ยเพอ่ื
สร้างความประทับใจแก่คู่สนทนาว่า ดใี จมากทไ่ี ดร้ ู้จัก /อยากคุยมาก
กว่านี้ แต่วันนีข้ อตัวก่อนนะคะ/ครับ
ศิลปะในการสนทนา
เก่ียวกับเรื่องทสี่ นทนา
1. ควรสนทนาเกยี่ วกับเร่ืองทคี่ ู่สนทนาสนใจเทา่ นั้น
2. ควรแสดงว่าเราสนใจ ใส่ใจในเรื่องทเ่ี ขากาลังกล่าวถงึ
3. ควรนาเร่ืองทถี่ ูกตอ้ งตามกาลเทศะ ตามเหตกุ ารณท์ ี่
เหมาะสมมาใช้ในการสนทนา เช่น ข่าวสารทกี่ าลังเป็ นที่
สนใจ
ศลิ ปะในการสนทนา
เกยี่ วกบั การฟัง
1. เป็ นนักฟังทดี่ ี ตงั้ ใจฟังอย่างจริงใจ มองหน้าผู้พดู อยูเ่ สมอ
พยักหน้ารับเป็ นครั้งคราว ซกั ถามเล็กน้อย
2. ควรฟังอกี ฝ่ ายพดู ใหจ้ บก่อน (หากอยากพูดขึน้ มาบา้ ง)
3. ควรทาเสียงเออ ออ กับเขาดว้ ย เช่น ถกู จริงดว้ ย เออใช่
เป็ นต้น
ศลิ ปะในการสนทนา
เกยี่ วกับการพดู
1. ควรใช้นา้ เสยี งเรียบร้อย สุภาพ คาพดู ไพเราะ น่าฟัง
2. ระหว่างสนทนาไม่ควรขัดคาพดู ของคู่สนทนา (เวน้
แต่คนคุน้ เคย) แม้วา่ เขาจะพดู ผิด ไม่งามไปบา้ ง
3. ควรเปิ ดโอกาสใหค้ ู่สนทนาแสดงความคดิ เหน็ ของ
เขาใหม้ ากทส่ี ุด
4. พดู ถงึ แตเ่ ร่ืองดี น่าสนใจ ควรพดู ถงึ บุคคลอน่ื ในแงด่ ี
5. ควรพดู ถงึ ส่งิ ของใหม้ ากกว่าพดู ถงึ ตวั บุคคล
6. หลีกเล่ยี งคาพดู ทเี่ ขาไม่ชอบ สะเทอื นใจ
7. ถา้ สังเกตวา่ ผู้ฟังไม่สนใจ ควรเปล่ยี นเรื่องพดู เสียใหม่
8. เมื่อการสนทนาสิน้ สุดลง ควรแสดงความยนิ ดที ไ่ี ดม้ า
สนทนา และเสียดายทมี่ เี วลาสนทนาค่อนข้างจากดั
9. ขณะสนทนา หากหาโอกาสชมเร่ืองส่วนตวั ของเขาได้
กค็ วรชม
กจิ กรรมทา้ ยบท (15 คะแนน)
ใหน้ ศ.จับกลุ่มสนทนา (กลุ่มละ 4 คน) โดยเลอื กจากวัตถปุ ระสงค์ 1 ใน 6
วัตถุประสงคข์ ้างต้นทท่ี า่ นได้ศกึ ษามา(วจิ ารณ์ ปรึกษา กจิ ธุระ ชีแ้ จง ประนีประนอม
และชักชวน) โดยสมมตวิ ่านศ.ทงั้ กลุ่มเป็ นคนไม่สนิทสนมคุน้ เคยกนั เพง่ิ พบกนั ครั้ง
แรก (อาจมกี ารแลกเปลย่ี นนามบตั ร) หรือคุน้ เคยกันกไ็ ด้ขึน้ อยู่กบั วัตถุประสงคท์ ี่
ทา่ นเลอื กและสถานการณส์ มมตนิ ั้น ๆ
(เน้นเป็ นเร่ืองราวทเ่ี กดิ ในมจธ.)ความยาวของการสนทนากลุ่มละไมเ่ กนิ 5 นาที
พยายามเกลีย่ บทสนทนาใหม้ นี า้ หนักพอ ๆ กนั สาหรับทกุ คนในกลุ่ม
ส่งเป็ นคลปิ โดยทาลงิ คส์ ่งในเฟซบุก๊ กลุ่มปิ ดในรายวชิ า (วนั จนั ทร์ 19 เมย. 64) ใน
คอมเมนทใ์ ต้สไลดท์ กั ษะการสนทนา
กาหนดใหแ้ ตง่ กายสุภาพตามบทบาทและสถานการณท์ เ่ี ลอื ก
ทกั ษะการพดู
การพดู หมายถงึ พฤตกิ รรมในการส่ือความหมายของมนุษย์
โดยการใช้นา้ เสียง ภาษา กิริยาทา่ ทาง เพอ่ื ถ่ายทอดความรู้
ความคดิ ความรู้สึก ตลอดจนความตอ้ งการของตนไปยงั ผู้ฟัง
ใหผ้ ู้ฟังไดร้ ับรู้ความหมายและตอบสนองตรงตามวัตถุประสงค์
ทผ่ี ู้พูดตอ้ งการ
องคป์ ระกอบของการพดู
การพูดทส่ี ัมฤทธิผลตอ้ งอาศัยองคป์ ระกอบทม่ี ีความเหมาะสม
สอดคล้องสัมพนั ธก์ นั องคป์ ระกอบดังกล่าวมี 4 ประการ ดงั นี้
1. ผู้พูด
2. ผู้ฟัง
3. สาร
4. สื่อ
หลักการพดู
1. วเิ คราะหผ์ ู้ฟัง พจิ ารณาเรื่อง เพศ วัย อาชพี ความ
สนใจ จานวน ทศั นคติ ความคาดหวงั เพอื่ จะได้
เตรียมเนือ้ หาไดเ้ หมาะสม
2. วเิ คราะหโ์ อกาส/วาระทข่ี ึน้ พดู เพอื่ จะไดเ้ ตรียมการ
แตง่ กาย ภาษา วธิ ีพดู วธิ ีการนาเสนอทเี่ หมาะสม
กับงานนั้นๆ
3. วเิ คราะหก์ าลเทศะ คานึงถงึ วนั -เวลา-สถานทใี่ น
การพดู ควรรักษาเวลา
รูปแบบการพดู
แบง่ ตามวธิ ีการพูด
1. การพดู ปากเปล่าโดยไม่มกี ารเตรียมการล่วงหน้า
(Impromptu) มักเป็ นการพูดในงานสังคม เช่น กล่าวอวยพรใน
วาระตา่ งๆ เช่น งานวันเกิด งานขนึ้ ปี ใหม่ ฯลฯ ผู้พดู ควรคุมสติ
ใหม้ ่ันคง คดิ ว่าผู้ฟังเป็ นคนคุน้ เคย หายใจลึก ๆ 2-3ครั้งก่อน
พดู และควรพูดใหก้ ระชับ ตรงประเดน็ ไม่ขยายความมาก
จนเกนิ ไป
รูปแบบการพดู
แบ่งตามวิธีการพูด
2. การพูดปากเปล่าโดยมีการเตรียมการล่วงหน้า
(Extemporaneous) ผู้พูดทราบล่วงหน้าว่าจะพดู อะไร กับใคร ท่ี
ไหน การพดู รูปแบบนีผ้ ู้พูดควรเตรียมข้อมูลตา่ งๆ ใหพ้ ร้อม มี
กาคน้ คว้าข้อมูล เรียบเรียงเป็ นลาดบั ขั้นตอน อาจทาบันทกึ ยอ่
มาดไู ดใ้ นขณะพดู เพอื่ ช่วยสร้างความม่ันใจและถูกตอ้ งในการ
พูด
รูปแบบการพดู
แบง่ ตามวิธีการพูด
3. การพดู โดยการทอ่ งจา (Memorize Speech) ผู้พดู มักเตรียมเร่ืองพดู มา
อยา่ งดี สามารถจาเร่ืองทพ่ี ดู ได้โดยไม่ต้องใช้บนั ทกึ ยอ่ ขณะพดู แต่
บางครั้งการพดู โดยการทอ่ งจาทาใหข้ าดความเป็ นธรรมชาติ เพราะผู้พดู
ตน่ื เต้น/ตนื่ เวทจี นทาใหล้ ืมเนือ้ หาทท่ี อ่ งจามา ผู้พดู จะรู้สกึ เครียด กังวล
กับการพดู ของตนเองมากการพดู โดยวิธีนี้ ผู้พดู ตอ้ งเตรียมเนือ้ หาสัน้ ๆ
เหมาะกับเวลา ฝึ กพดู ใหค้ ล่อง ฝึ กใช้นา้ เสียง ลีลาทา่ ทางทเ่ี ป็ นธรรมชาติ
หากลมื ข้อความอย่าหยุดนาน ใหใ้ ช้ไหวพริบพดู ประโยคอนื่ เสริมเข้ามา
หรือกล่าวสรุปเพอื่ ยุตกิ ารพดู
รูปแบบการพดู
แบง่ ตามวธิ ีการพดู
4. การพดู โดยการอ่านจากต้นฉบบั (Reading from Manuscript)
เป็ นการพดู ตามบันทกึ ยอ่ ทเ่ี ตรียมมา เช่น การกล่าวคาปราศรัย
การอ่านรายงาน วธิ นี ีม้ ักใช้ในงานทเ่ี ป็ นพธิ กี าร การพูดรูปแบบ
นีผ้ ู้พดู ควรทาความเข้าใจในเนือ้ หาทจี่ ะพูด ตรวจสอบตวั สะกด
การแบง่ วรรคตอนให้ถกู ตอ้ ง ขณะอ่านควรใช้นา้ เสยี งทเี่ ป็ น
ธรรมชาตเิ หมอื นการพดู และเงยหน้ามองผู้ฟังเป็ นครั้งคราวด้วย
รูปแบบการพดู
แบง่ ตามจุดมุ่งหมายของการพดู
1. การพดู เพอื่ ใหค้ วามรู้ (Informative Speech) เป็ นการพดู
อธิบายแสดงเหตผุ ลตามทผี่ ู้พดู เตรียมไว้ ผู้พูดจะตอ้ งมีความรู้
ในเร่ืองทพ่ี ดู มีการคน้ คว้าเรียบเรียงเป็ นลาดบั ขัน้ ตอน มักใช้ใน
โอกาสทมี่ กี ารอบรม การปฐมนิเทศ ชีแ้ จงระเบยี บข้อบงั คบั
การสอนหนังสือ เป็ นต้น
รูปแบบการพดู
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการพดู
2. การพูดเพอื่ โน้มน้าวใจ (Persuasive Speech) เป็ นการพูดเพอื่ ให้ผู้ฟัง
คล้อยตาม ปฏบิ ตั ติ าม วธิ กี ารพดู ลักษณะนีผ้ ู้พดู จะตอ้ งใส่อารมณ์
ความรู้สกึ ทจ่ี ริงใจลงไปด้วย เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ว่าผู้พดู มคี วามเชอ่ื อยา่ ง
นั้น เหน็ ด้วยอย่างสุจริตใจตามนั้นและไดป้ ฏบิ ัตมิ าแล้ว ผู้ฟังจงึ เกดิ
ความเชอ่ื ถอื และมพี ลังในคาพดู เช่น เชญิ ชวนให้บริจาคโลหติ เลกิ
เหล้า บุหร่ี
รูปแบบการพูด
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการพดู
3. การพูดเพอื่ จรรโลงใจ (Recreative Speech) เป็ นการพูดชแี้ จง
ให้เหน็ ถงึ คุณงามความดี ความประณีตงดงาม คุณค่าอันน่า
นิยม แสดงความน่าชน่ื ชมตอ่ ความคดิ การกระทา เร่ืองราว สงิ่
ใดสงิ่ หนึ่ง ตลอดจนความสนุกสนานเบกิ บานใจ โอกาสทใ่ี ช้การ
พูดแบบนี้ ไดแ้ ก่ การกล่าวสดุดยี กย่องบุคคล สถานที่
เหตุการณ์ การพดู ในงานแสดงความยนิ ดี งานรื่นเริงตา่ ง ๆ
เป็ นต้น
การเลือกเร่ืองพดู
1. เลือกเรื่องทผี่ ู้พูดมีความรู้ ประสบการณ์ สามารถคน้ คว้า
ได้
2. เลือกเร่ืองทผ่ี ู้ฟังสนใจ รู้สึกเป็ นประโยชน์
3. เลือกเร่ืองทเี่ หมาะสมกับวัตถุประสงค์ โอกาส สตปิ ัญญา
และความคดิ ของผู้ฟัง
4. เลือกเรื่องทม่ี คี วามทนั สมัย เป็ นปัจจุบัน
5. เลือกเร่ืองทม่ี ขี อบเขตไม่กว้างและไม่ลึกซงึ้ จนเกินไป
การเตรียมเนือ้ หาในการพดู
1. ตงั้ จุดมุ่งหมายในการพดู
2. จากดั ขอบเขตเร่ืองทพี่ ดู
3. วางโครงเรื่อง
4. คน้ ควา้ รวบรวมข้อมูล
การจัดเรื่องพดู
1. ทกั ทาย/ปฏสิ ันถารผู้ฟัง (ทางการ-งานพธิ ี ทกั ทาย
ดว้ ยตาแหน่ง) (กง่ึ ทางการ-ทกั ทายดว้ ย เรียน...
สวัสด.ี .)
2. เกริ่นนา/อารัมภบท ควรมปี ระโยคใจความสาคัญ
3. กล่าวเนือ้ เรื่อง ใช้ส่ือประกอบ ส่อื โสตทศั น์
4. กล่าวสรุป ควรใหผ้ ู้ฟังเกดิ ความประทบั ใจและจดจา
ได้
บุคลกิ ภาพกบั การพดู
1. การใช้ภาษา คานึงถงึ ระดับภาษา จงั หวะ เว้นวรรค
2. อากัปกริ ิยา ไดแ้ ก่ การเดนิ การยนื การน่ัง การใช้
ทา่ ทางประกอบการพดู
3. การแสดงออกทางสีหน้า
4. การใช้สายตา เนตรภาษา
5. การออกเสยี งและการใช้เสยี ง ระวัง ร ล ควบกลา้
6. การแตง่ กายและทรงผม
คุณสมบตั ขิ องผู้พดู ทดี่ ี
1. มคี วามรู้ในเร่ืองทพ่ี ดู
2. มีความเช่อื ม่ันในตนเอง
3. ใช้ภาษาพดู ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล
4. มีวตั ถุประสงคใ์ นการพดู ทช่ี ัดเจน
5. มีบุคลกิ ภาพทน่ี ่าเชอื่ ถอื
คุณสมบตั ขิ องผู้พดู ทดี่ ี
6. มีการใช้อวัจนภาษาและลีลาทา่ ทางประกอบการพดู
อยา่ งเหมาะสม
7. รู้จกั วเิ คราะห-์ แกไ้ ขปัญหาก่อนพดู ขณะพดู
8. มอี ารมณข์ ัน รู้จักสร้างบรรยากาศทด่ี ใี นการพูด มี
มารยาทดไี ม่แสดงอาการโกรธเมื่อถกู ล้อเลยี น
9. พดู ความจริง
กิจกรรมทา้ ยบท (15 คะแนน)
ใหน้ ศ.สอบพดู เดยี่ วในคลาสรูม โดยเลือกพดู ปากเปล่าแบบมกี ารเตรียมการล่วงหน้า
ในวัตถุประสงคใ์ ดวัตถุประสงคห์ นึ่งตามทก่ี าหนดในระยะเวลา 3-4 นาที
(ใหค้ วามรู้ /โน้มน้าวใจ /จรรโลงใจ)
หวั ข้อการประเมนิ มดี งั นี้
1. บคุ ลิกภาพ การแสดงออก 4. การใช้ถอ้ ยคา ถูกต้องชัดเจน
2. การเลือกเร่ือง 5. นา้ เสียง ลลี า สายตา ทา่ ทาง
3. การเรียบเรียง
สอบเกบ็ คะแนน–จับเวลา ( วันจนั ทร์ 5 และ19 เมย.64 บา่ ยหอ้ ง A และหอ้ ง B)
เรียงเลขรหสั คอมเมนทท์ า้ ยคาบ-ปิ ดคอรส์