The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ETM112ทักษะการอ่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ino4edtechcom, 2021-05-14 01:34:14

ETM112ทักษะการอ่าน

ETM112ทักษะการอ่าน

ทกั ษะการอา่ น

การอ่าน คอื การดหู นังสืออย่างพจิ ารณาและตอ้ งคดิ ตรึกตรอง
ใหเ้ ข้าใจซง่ึ เป็ นการรับสารอยา่ งหนึ่ง โดยมหี นังสือเป็ นส่ือ

องคป์ ระกอบของการอ่าน มี 5 ส่วนไดแ้ ก่

1. ผู้อ่าน 2. ตัวอักษร

3. ความหมาย 4. การเลือกใช้ความหมาย

5. การนาไปใช้ (อา่ นเป็ น)

ความสาคัญของการอ่าน มี 5 ดา้ น

1. ดา้ นความรู้ – การอ่านเป็ นเครื่องมอื แสวงหาความรู้ ทาให้
รอบรู้

2. ดา้ นอารมณ์ - ถอ้ ยคาภาษาไทย เนือ้ หาทาใหบ้ ันเทงิ ใจ
3. ด้านจติ ใจ - ช่วยกล่อมเกลา จรรโลงใจ เตมิ คุณคา่ ความเป็ น

มนุษยใ์ หส้ ูงขนึ้
4. ด้านบุคลิกภาพ – ทาใหม้ ่ันใจในการนาเสนอ วิพากษว์ ิจารณ์
5. ด้านอาชพี - เป็ นทมี่ าของอาชพี และสามารถพฒั นาอาชีพได้

จุดมุ่งหมายของการอ่าน มี 4 ขอ้
1. เพอื่ ความรู้ มี 2 ประเภท
1.1 ด้านวิชาการ เช่น ตารา บทความวิชาการ
1.2 ดา้ นข่าวสาร เช่น หนังสอื พมิ พ์ นิตยสาร
2. เพอ่ื ความบันเทงิ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น วรรณคดี บทกวี
3. เพอ่ื พัฒนาจติ ใจ เช่น หนังสือธรรมะ ชีวประวัตบิ ุคคลสาคัญ
4. เพอ่ื ค้นหาคาตอบ เช่น ผลงานวิจัย อ่านประกาศ คาส่ัง ฉลาก

ยา คู่มอื การใช้อุปกรณ์

หลักการอ่านหนังสอื ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

1. รู้จักเลือกหนังสืออ่าน ควรเลือกหนังสือทน่ี ่าเช่อื ถอื
สร้างสรรค์ ทนั สมยั มีคุณค่าทางสตปิ ัญญาอารมณแ์ ละจติ ใจ

2. รู้จกั กาหนดจุดมุ่งหมายของการอ่าน (4 เพอ่ื ) ทงั้ นีเ้ พอื่ ให้
ผู้อา่ นกาหนดวิธีอ่านและปฏบิ ัตไิ ดถ้ กู ตอ้ ง เช่น อา่ นเพอื่
ความบนั เทงิ เช่น นวนิยาย ไม่ต้องใช้สมาธิมากนัก ไม่ต้อง
จดบันทกึ ซงึ่ ตา่ งจากอา่ นเพอื่ ความรู้ ดา้ นวิชาการเช่น ตารา
วชิ าการ บทความวชิ าการ

หลักการอ่านหนังสือใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

3. รู้จกั สารวจหนังสือ ตรวจดวู ่าเล่มใดเกี่ยวข้องตรงกับความ
ตอ้ งการของเรา เน่ืองจาหนังสือมีจานวนมากมาย ควร
สังเกตความน่าเช่ือถอื เช่น สังเกตจากผู้แตง่ สานักพมิ พ์ ปี ท่ี
พมิ พ์ คานา คานิยม หนังสอื อ้างองิ

4. รู้จักเปรียบเทยี บ หากเนือ้ หาสาระของหนังสือคล้าย ๆ กัน
ผู้อา่ นควรอา่ นใหห้ ลากหลายเพอ่ื ป้องกันการนาเสนอข้อมูลท่ี
คลาดเคล่ือน เช่น พมิ พบ์ กพร่อง เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
วิชาการ

หลักการอา่ นหนังสือใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

4. รู้จักสร้างบรรยากาศการอา่ นหนังสือ เน่ืองจากการอา่ นตอ้ ง
ใช้สมาธิ ผู้อ่านจงึ ควรเลือกสถานทที่ ไี่ ม่มเี สียงรบกวน
เตรียมอุปกรณอ์ านวยความสะดวก เคร่ืองใช้ตา่ ง ๆใหพ้ ร้อม

5. รู้จกั จดบนั ทกึ เนื่องจากเนือ้ หาสาระทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นมี
จานวนมากมาย ไม่สามารถจาไดห้ มดตอ้ งอาศัยการจด
ผู้อ่านทด่ี คี วรรู้จกั การจดบันทกึ ใจความสาคัญ ข้อความ
สาคญั สานวนภาษา เพอ่ื ความสะดวกในการทบทวนความรู้
และนาไปใช้ประโยชนใ์ นโอกาสตอ่ ไป

วธิ ีการอา่ นสาร มี 3 แบบ

1. การอา่ นแบบคร่าว ๆ (Skimming) คอื การอ่านเพอื่ ใหไ้ ดภ้ าพรวม
ของเนือ้ เรื่องตอนนั้น ๆ หรือสารวจเนือ้ หากว้าง เป็ นการอ่านอยา่ ง
รวดเร็ว แตต่ ้องจับใจความสาคัญของเนือ้ หาตอนนั้น ๆ ได้ครบครัน

2. การอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning) คอื การอ่านเพอื่ ค้นหาเรื่องท่ี
อ่านในขณะนั้นโดยใช้วธิ กี วาดสายตาอย่างรวดเร็วทลี ะ 2-3 บรรทัด
เพอื่ ค้นหาเจาะจงสง่ิ ทตี่ ้องการ เช่น การค้นคาในพจนานุกรม ดคิ ชัน
นารี การค้นหาหัวข้อหนังสอื ในสารบัญ

วิธีการอา่ นสาร มี 3 แบบ

3. การอ่านอย่างละเอียด (Intensive Reading) คอื การอา่ นขัน้
สุดทา้ ย หลังจากทผ่ี ู้อ่านใช้วธิ ีการอา่ นแบบคร่าว ๆ (แบบ 1)

และการอานแบบกวาดสายตา (แบบ 3 ) ไปแล้ว

จงึ ใช้การพนิ ิจพเิ คราะหโ์ ดยการตคี วามหมายของสารอย่าง
ละเอยี ดอกี ครั้งหน่ึง

วิธีการสาคัญในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ
1. 1. การอ่านหนังสือประเภทใหค้ วามรู้หรือสารเพอื่ การศกึ ษา
ประกอบด้วยหนังสือ 3 ชนิด ไดแ้ ก่
1.1 ตารา
1.2 หนังสอื อา่ นประกอบ/คู่มอื
1.3 หนังสอื อา้ งองิ เช่น พจนานุกรม สารานุกรม
การอ่านหนังสอื ประเภทใหค้ วามรู้ ผู้อา่ นตอ้ งอา่ นอย่างละเอยี ด
ใช้ความคดิ ไตร่ตรอง อา่ นเปรียบเทยี บหลายๆ เล่ม โดยเลือกอ่านตาม
หวั ข้อ หรือเนือ้ เรื่องทต่ี อ้ งการรู้ พยายามอ่านตามลาดบั เรื่องราวใหเ้ ชื่อมโยงความ
กนั และตอ้ งไม่ลมื จดบนั ทกึ ช่วยจาและเพอ่ื ใหส้ ะดวกในการคน้ คว้าตอ่ ไป

วธิ ีการสาคญั ในการอา่ นหนังสือประเภทตา่ งๆ
2. การอ่านหนังสือประเภทข่าวสารหรือสารเพอ่ื ความรอบรู้ ประกอบดว้ ยหนังสือ

หลายชนิด ต่อไปนี้
2.1 หนังสอื พมิ พ์ เน้นนาเสนอข่าวสารออกเป็ นรายวัน/รายปักษ/์ รายสัปดาห์
2.2 วารสาร มุ่งใหค้ วามรู้เฉพาะด้าน หรือออกเฉพาะวาระสาคญั
2.3 นิตยสาร เน้นนาเสนอบทความ สารคดี ภาพ ออกเป็ นรายปักษ/์ รายเดอื น
2.4 จุลสาร เพอื่ เผยแพร่ความรู้/ข่าวสารเฉพาะดา้ น อาจจะออกประจาหรือตามวาระ

โอกาสกไ็ ด้
2.5 กฤตภาค (Clipping) สารทบ่ี รรณารักษร์ วบรวมตัดข่าว /บทความจากนสพ.

นิตยสาร โดยรวมไว้เป็ นเล่มเพอื่ สะดวกในการคน้ คว้าและจัดเกบ็

วธิ ีการสาคัญในการอ่านหนังสอื ประเภทตา่ งๆ

วธิ ีการอ่านสารประเภทข่าวสาร
- อ่านเป็ นประจา เป็ นกจิ นิสัย เพราะมคี วามเปลยี่ นแปลงบอ่ ย
- อ่านหลาย ๆ เล่มประกอบกันเพอ่ื เปรียบเทยี บได้ (ข่าวมักเร่งด่วน จงึ

อาจเกดิ ความผิดพลาดในบางฉบบั ได้)
- อ่านโดยใช้วจิ ารณญาณ ใช้สตปิ ัญญาไตร่ตรองเหตุผล ไม่เชอ่ื ก่อน

พสิ ูจนไ์ ดแ้ ละไม่มอี คติ
- อ่านโดยรู้จักวพิ ากษว์ จิ ารณ์ รู้จักนาข่าวสารทไ่ี ด้รับมาแลกเปลยี่ น

ทศั นะกับผู้อนื่ เพอ่ื ทดสอบความรู้ความเข้าใจของเราและไดร้ ับ
วสิ ัยทศั นม์ ุมมองใหม่ๆ จากผู้อน่ื กลับไป

วิธีการสาคัญในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ
3. การอ่านหนังสือประเภทใหค้ วามบนั เทงิ หรือสารเพอ่ื ความ

เพลิดเพลนิ ประกอบดว้ ยหนังสือหลายชนิด ไดแ้ ก่
3.1 นวนิยายและเรื่องสั้น (Novel and Shortstory)เป็ นบนั เทงิ ท่ี

รับจากตะวันตก ผู้เขยี นแตง่ จากจนิ ตนาการอย่างสมจริง
โดยมีส่วนประกอบดงั นี้
- แก่นเร่ือง (Theme)– ข้อคดิ ทผ่ี ู้แตง่ มุ่งหมายใหเ้ กิด ทงั้ นีม้ ักมี
คุณคา่ ใหค้ ติ ข้อคดิ เพอื่ การปรับปรุงตน-สังคม

วิธีการสาคญั ในการอา่ นหนังสือประเภทตา่ งๆ

3.2 วรรณคดี (Literature) เป็ นหนังสือทไ่ี ดร้ ับการยกยอ่ งว่ามี
คุณคา่ เป็ นมรดกของชาติ มีทงั้ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง

วธิ ีการอ่าน
- อ่านไปตคี วามไป ต้องค้นหาความหมายจงึ ไดอ้ รรถรส
- อา่ นหาความหมายจากบริบท กรณีศัพทบ์ างคาทไ่ี ม่รู้จัก
- อา่ นวเิ คราะหส์ ารใหถ้ ถี่ ว้ น ผู้เขยี นอาจใช้สัญลักษณ์ อุปมาอุป

มัย บุคลาธิษฐาน ฯลฯ
- อา่ นไปพร้อมจดบันทกึ เช่น สานวนน่าสนใจ เกร็ดความรู้

เนือ้ เรื่องสาคญั

วธิ ีการสาคัญในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ

3.3 นิทาน (Folklore) เป็ นหนังสอื ทผี่ ู้แตง่ รวบรวมกุศโลบายของบรรพชน
ทไ่ี ด้เล่าตอ่ ๆ กันมา แล้วนามาเรียบเรียงให้มรี ะเบยี บมากขนึ้ โดยมี
เจตนาเพอ่ื สอนใจผ่านเรื่องราวเกนิ ความจริง นักวชิ าการแบง่ นิทานไว้
หลายแบบ เช่น นิทานพนื้ บา้ น นิทานชาดก นิทานอสี ป นิทานอาหรับ
ราตรี หรืออาจจะรวมเอาตานานไว้ด้วย

วธิ กี ารอา่ น อ่านให้เพลนิ และอ่านแล้วหาสาระโดยซมึ ซับคุณธรรม คา
สอนทไ่ี ด้พบ ซง่ึ ส่วนใหญ่ผู้เขยี นมักกล่าวไว้ทา้ ยเร่ือง เช่น เร่ืองนีส้ อน
ให้รู้ว่า ....

วธิ ีการสาคญั ในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ

- โครงเร่ือง (Plot) คอื การกาหนดขัน้ ตอนการนาเสนอเร่ืองราว
เพอื่ นาใหผ้ ู้อ่านไปสู้แก่นเร่ือง มักมีขัน้ ตอน การเปิ ดเรื่อง
สร้างปมปัญหา จุดสุดขั้น/ไคลแมกซ์ คลี่คลายปม ปิ ดเร่ือง

- ตัวละคร (Character) เป็ นส่วนประกอบสาคญั ของเรื่องราวซง่ึ
ผู้เขยี นไดก้ าหนดบุคลิกลักษณะตวั ละครเดน่ ไว้อยา่ งสมจริง

- ฉาก (Setting) คอื สภาพแวดล้อมทก่ี าหนดขนึ้ ในเนือ้ เรื่อง ซงึ่
อาจมีบทบาทตอ่ เหตกุ ารณใ์ นเรื่องได้

วธิ ีการสาคญั ในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ

- บทสนทนา (Dialogue) คาพดู ทต่ี วั ละครพดู มักเป็ นถ้อยคา
ภาษาทสี่ มจริงและเหมาะสมกับบุคลิกตวั ละคร

- ปรัชญาสอนใจ (Philosophy) คอื สิ่งทผี่ ู้แตง่ สอดแทรกคาสอน
เพอื่ เตอื นใจ อาจแทรกในบทสนทนา พฤตกิ รรมตวั ละคร
เดน่ หรือเหตกุ ารณใ์ นเนือ้ เรื่องกไ็ ด้

วิธีการสาคญั ในการอา่ นหนังสอื ประเภทตา่ งๆ

วิธีการอา่ นหนังสือประเภทใหค้ วามบันเทงิ
1. เลือกอ่านเร่ืองทมี คี ุณค่าเหมาะสมกับตน
2. อา่ นตามลาดบั เนือ้ เรื่อง จะไดอ้ รรถรสมากกว่า

3. ทาความเข้าใจกับถ้อยคาสานวน
4. ตคี วามใหแ้ ตกถงึ แก่นเร่ือง วธิ ีดาเนินเร่ือง พฤตกิ รรมตวั

ละคร จุดสุดขัน้ /ไคลแมกซ์ และปรัชญาสอนใจ

สัมฤทธิผลของการอา่ น

การอา่ นมคี วามสาคญั ตอ่ ชีวติ การอา่ นจะไดป้ ระโยชนก์ ็
ตอ่ เม่ือ

เกิดการอา่ นทม่ี ีสัมฤทธิผลเทา่ นั้น เราจงึ ควรฝึ กทกั ษะการอา่ น
ซง่ึ มหี ลายระดบั ดงั นี้
1. ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความ คอื การอา่ นทสี่ ามารถจับใจความ

สาคญั ของเรื่องทอี่ า่ นไดค้ รบถว้ นถกู ตอ้ ง ตรงตามเจตนา
ผู้เขยี น (ควรพจิ าณาจากชือ่ เร่ือง ใจความสาคญั แตล่ ะย่อ
หน้า นาใจความสาคญั มาเรียบเรียงโดยกระชับ ครบถว้ น)

สัมฤทธิผลของการอ่าน

2. ทกั ษะการอ่านเชิงวเิ คราะห์ คอื การอา่ นทส่ี ามารถแยกแยะ
ส่วนประกอบของงานเขียนไดอ้ ย่างละเอยี ดครบถว้ น ขึน้ อยู่
กับชนิดของงานเขยี น ทงั้ นีผ้ ู้อา่ นควรจะ

- บอกทมี่ าของเร่ือง และเจตนาผู้เขยี นได้
- บอกอารมณค์ วามรู้สึกของผู้เขยี นได้
- บอกคุณคา่ ของงานเขยี นและการใช้ภาษาได้
- ประเมินงานเขียนได้

สัมฤทธิผลของการอ่าน

ทกั ษะการอา่ นเชิงวเิ คราะห์ ขนึ้ อยู่กับจุดประสงคใ์ นการวเิ คราะหข์ องผู้อา่ น และ
ชนิดของงานเขียน ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การอ่านวิเคราะหบ์ ทความ ควรวิเคราะหส์ ่งิ ตอ่ ไปนี้
- ชนิดของบทความ
- ลักษณะการใชภ้ าษาและการนาเสนอ
- ใจความสาคัญหรือแนวคดิ สาคญั ทน่ี าเสนอ
- ทศั นคตขิ องผู้เขียน
- ประโยชนข์ องเร่ืองทอี่ ่าน
- เหตุผลและความน่าเชอื่ ถอื

สัมฤทธผิ ลของการอา่ น

2. การอา่ นวเิ คราะหน์ วนิยาย เร่ืองสั้น วรรรณคดี ควรวเิ คราะห*์ ****
สงิ่ ตอ่ ไปนี้
- ชนิดหรอื แนวของงานเขยี น เชน่ เป็ นนวนิยายประเภทใด
- แก่นเร่ือง ส่วนใหญ่ ทาดี ไดด้ ี ทาช่ัว ได้ช่ัว
- โครงเร่ือง/เนือ้ เร่ืองโดยย่อ
- ตัวละครหลัก/พฤตกิ รรม
- ปรัชญาคาสอนทสี่ อดแทรกผ่านบทสนทนา พฤตกิ รรมตวั ละคร
- การใช้ภาษา
- จุดเด่น-จุดด้อย และประโยชนท์ ต่ี นเองไดร้ ับ

กจิ กรรมทา้ ยบท 15 คะแนน - ส่งวันที่ 8 กพ. ทา้ ยชม.เรียนครั้งตอ่ ไป (กลุ่ม 4 คน)

ใหน้ ศ.อ่านวเิ คราะหน์ วนิยาย ของ ว.วินิจฉัยกุล/แก้วเก้า/รศ.ดร.คุณหญิงวินิตา
ดถิ ยี นต์ ศลิ ปิ นแหง่ ชาติ สาขาวรรณศลิ ป์ เลอื กงานเขียนประเภทนวนิยายของทา่ น

1 เรื่อง และใหว้ เิ คราะหต์ ่อไปนี้ ตอบเรียงตามลาดบั เป็ นข้อ ๆ
1. ชนิดหรือแนวของงานเขยี น เช่น เป็ นนวนิยายประเภทใด พร้อมอธิบาย
2. แกน่ เรื่อง พร้อมอธิบาย
3. โครงเรื่อง/เนือ้ เร่ืองโดยยอ่ ประมาณ 1-2 หน้า พออ่านรู้เร่ืองตน้ -จบ ไม่ต้องมบี ท
พดู ของตัวละครมาใส่
4. ตวั ละครหลัก-พฤตกิ รรมโดยยอ่ ประมาณ 1-2 หน้า
5. ปรัชญาคาสอนทส่ี อดแทรกผ่านบทสนทนา พฤตกิ รรมตวั ละคร ประมาณ 1 หน้า
6. การใช้ภาษา ยาก-งา่ ย พร้อมอธิบาย
7. จุดเด่น-จุดด้อย และประโยชนท์ กี่ ลุ่มตนเองได้รับ พร้อมอธิบาย


Click to View FlipBook Version