The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaopon2550, 2023-01-02 22:51:04

สรุปท้ายบท

สรุปท้ายบท

สรปุ ทา ยบท

การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยาง
ปลอดภยั และถูกตอ งตามสิทธใิ น
การนาํ มาใช

กฏหมายเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร

พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร คอื พระราชบญั ญัตทิ ่วี า ดว ยการกระทําผิดเกีย่ วกบั
คอมพวิ เตอร ซ่ึงคอมพิวเตอรท ว่ี า นกี้ ็เปนไดท ั้งคอมพวิ เตอรตั้งโตะ
คอมพิวเตอรโน1ต.กบฏหุคมาสยมเกาดีย่รวตกโับฟคอนมพริววเตมอถร ึงระบบตางๆ ที่ถูกควบคุมดว ยระบบ
คอมพวิ เตอรด ว2ย.ทรซพั ยง่ึ สเปน พ.ร.บ.ทีต่ ั้งข้นึ มาเพื่อปอ งกนั ควบคมุ การกระทาํ ผดิ
ทจ่ี ะเกิดขน้ึ ไดจากการใชคอมพิวเตอร หากใครกระทําความผิดตามพ.ร.บ.
คอมพวิ เตอรน ้ี กจ็ ะตองไดรบั การลงโทษตามท่พี .ร.บ.กําหนดไวค ะ

ดังนัน้ เรามาดูกันเลยวา ขอหามท่ีสํา
คํญท่ีผูใ ชอนิ เตอรเนต็ ไมควรทํา
มีอะไรบา ง

1. การกด like

การกด like ไมไดผดิ พ.ร.บ.คอมพิวเตอรตามพระราชบัญญัติวาดว ย
การกระทําความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา 14
และมาตรา 16 ไดก าํ หนดเน้อื หาทีต่ องหา มที่มิใหนําเขา หรือเผยแพร
เขา สรู ะบบคอมพวิ เตอรไ วหลายประการ เชน เน้ือหาที่มีลักษณะ
เปนความเท็จหรือปลอม อนั อาจจะกอ ใหเ กิดความเสียหายตอผูอ่ืน
หรอื กอใหเกดิ ความตน่ื ตระหนกตอประชาชน เน้ือหาทม่ี ีลกั ษณะ
ลามก เนอ้ื หาทเ่ี ปนความผิดเกีย่ วกับความมั่นคงแหง ราชอาณาจักร
หรอื ความผิดเกยี่ วกับการกอ การรายตามประมวลกฎหมายอาญา
หรือการตดั ตอรูปภาพของบคุ คลอ่นื ซง่ึ ความผดิ ดังกลาวมอี ตั ราโทษ
สูงสดุ คือจําคุกไมเ กิน 5 ป และปรับไมเกิน 1 แสนบาท

2.การกด share

- อีกเรอ่ื งทคี่ วรระวงั น่นั คือการกด Share น่นั เองคะ หากเราแชรขอมลู ท่ี
มคี วามผิดโดยไมไตรตรองกอน ถือเปน การเผยแพร หากขอ มลู ที่แชรม ี
ผลกระทบตอ ผอู ื่น อาจเขา ขายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมฯ โดยเฉพาะท่ี
กระทบตอ บุคคลที่ 3

2. กด Share

- อกี เร่อื งทีค่ วรระวงั นัน่ คอื การกด Share น่ันเองคะ หากเราแชรขอ มลู ท่ี
มคี วามผดิ โดยไมไตรตรองกอน ถอื เปน การเผยแพร หากขอมูลท่แี ชรม ี
ผลกระทบตอ ผูอน่ื อาจเขาขา ยความผิดตาม พ.ร.บ.คอมฯ โดยเฉพาะท่ี
กระทบตอบุคคลท่ี 3

3. แอดมนิ เพจ

- หากลูกเพจมกี ารแสดงความคิดเห็นท่ีมคี วามผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร
เมื่อแอดมนิ พบเหน็ และลบออกจากพน้ื ทท่ี ่ีตนดูแลแลว จะถือเปน ผูพ นผิด
จะตอ งคอยสอดสองลูกเพจของตัวเองใหด ีเลยนะคะ เดย๋ี วจะมีความผดิ ได
แบบไมรตู วั

4. สิ่งลามกอนาจาร

- ไมโ พสตสง่ิ ลามกอนาจาร ท่ีทาํ ใหเกิดการเผยแพรสปู ระชาชนได

5. โพสตเ ก่ียวกบั เดก็

- อนั นี้ตอ งระวงั ไมแพก ันคะ การโพสตเก่ียวกบั เดก็ เยาวชน หากไมไดร ับ
การยินยอมจากเด็กตองมีปดบงั ใบหนา ยกเวน เมือ่ เปน การเชดิ ชู ชื่นชม
อยางใหเกียรติ

6. ขอ มูลผูเ สยี ชีวติ

- การใหข อมลู เกย่ี วกบั ผเู สียชีวิต ตอ งไมท าํ ใหเกดิ ความเสือ่ มเสยี
ชื่อเสยี ง หรือถกู ดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟองรอ งไดต ามกฎหมาย
เชนขา วการเสียชีวิตดาราดงั แลว มคี นโพสภาพศพ แบบนี้ไมไดน า าา

7. การโพสตดา วาผูอ ืน่

- การโพสตดา วาผอู ่ืน มีกฎหมายอาญาอยูแลว ไมม ีขอ มูลจรงิ หรือถกู ตดั
ตอ ผถู ูกกลา วหาเอาผิดผโู พสตไ ด และมโี ทษจําคกุ ไมเกิน 3 ป ปรับไมเ กนิ
200,000 บาท ใครท่ชี อบวจิ ารณด าราแรง ๆ ระวังดว ยนา า

8. ละเมิดลขิ สิทธ์ผิ ูใด

- ไมทาํ การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ผิ ูใด ไมวา ขอ ความ เพลง รปู ภาพ หรือ
วิดีโอ เชน การเอาเพลง หรอื รปู ภาพมาใชโ ดยไมไดรับอนุญาต ก็
สามารถโดนฟอ งได

9. สงรปู ภาพ

- สงรปู ภาพแชรของผูอน่ื เชน สวัสดี อวยพร ไมผดิ ถาไมเอาภาพ
ไปใชใ นเชงิ พาณิชย หารายได

10. ฝากรา น

- การฝากรานถอื เปนรบกวนผูอืน่ การฝากรา นใน Facebook, IG
ถอื เปนสแปม ปรับ 200,000 บาท เพราะฉะนัน้ ควรฝากรานในพ้ืนท่ี
ที่ใหฝากเทา นนั้

11. สง Email ขายของ

- สง Email ขายของ ถอื เปน สแปม ปรบั 200,000 บาท

12. สง SาMS โฆษณ

- สง SMS โฆษณา โดยไมไ ดร ับความยนิ ยอม ใหผรู บั สามารถ
ปฏเิ สธขอมูลน้นั ได ไมเชน น้ันถือเปนสแปม ปรบั 200,000 บาท

13. พบขกฎหมายอมูลผดิ

- หากพบวา การแสดงความเหน็ ผดิ กฎหมายทเ่ี จา ของเครอื่ งไมไ ด
ทําเอง สามารถแจงไปท่ีหนวยงานทร่ี บั ผิดชอบเพ่อื ลบไดทันที
เจาของระบบเวบ็ ไซตจ ะไมมคี วามผิด



ทรพั ยสินทางปญญา

ทรัพยส นิ ทางปญญา (Intellectual Property) หมาย
ถงึ ผลงานอนั เกิดจากการประดิษฐ คดิ คน หรอื การ
สรางสรรคข องมนษุ ย ซ่ึงเนนท่ีผลผลิตของสติปญ ญา
และความช านาญ โดยไมจ ากัดชนดิ ของการ
สรางสรรค

1)ทรพั ยสินทางอุตสาหกรรม

2)สพั ยสิน

สําหรับสัพยส นิ ทางอุตสาหกรรมยงั แบง ออกไดอกี 6ประเภทไดแก

1)สทิ ะิบัตร
2)อบสุ ิทธิบัตร
3)เครื่องหมายการคา
4)ความรบั ทางการคา
5)ส่ิงบง สิทธิท์ างภมู มศิ าสตร
6)ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน

แนวทางปฎิบัตเิ มอ่ื เจาของสิทธิใน
ทรัพยสนิ ทางปญ ญาถูกละเมิด

ในหลายคร้งั ที่ผเู ปนเจา ของทรัพยสนิ ทางปญญา ไมวาจะ
เปน

● เจาของเครื่องหมายการคา เชน ตรา ย่ีหอ ช่อื สนิ คา
บรกิ าร หรือกิจการ

● ผสู รา งสรรคงานอนั มลี ิขสทิ ธิ์ เชน รปู ภาพ บทความ
เนื้อหา เสียงเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร วิดโี อภาพ
เคลื่อนไหว หรือสื่อผสมตางๆ

● ผทู รงสทิ ธิบตั ร/อนสุ ทิ ธิบตั ร เชน สง่ิ ประดิษฐ
ผลิตภัณฑ กรรมวิธี หรอื การออกแบบท่ขี ้นึ ทะเบยี น
สิทธิบตั ร/อนุสทิ ธิบัตรไวแ ลว

● เจาของความลับทางการคา เชน สตู รอาหาร สูตร
การผลติ ท่ีเปนความลบั

พบการกระทาํ ละเมดิ ตอ ทรัพยสินทางปญ ญาของตน แตก ไ็ มรูจะตน
เร่ิมอยางไร เพยี งแตร วู าจะตอ งดําเนนิ การใหบ ุคคลผลู ะเมิดนัน้ ยุติ
การละเมิดซึ่งกอใหเกิดความเสียหายใหได เชน

● การละเมดิ เครื่องหมายการคา เชน การลอกเลยี นแบบตรา
ยหี่ อ ชื่อสินคา บรกิ าร หรือกิจการ

● การละเมิดลิขสิทธ์ิ เชน การนํารูปภาพ บทความ เนอ้ื หา เสยี ง
เพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร วิดีโอภาพเคล่อื นไหว หรือสอื่
ผสมตางๆ ไปใชโ ดยไมไ ดรับอนญุ าต หรือนาํ ไปใชนอกเหนอื
จากวตั ถุประสงคทีอ่ นุญาต

● การละเมิดสทิ ธบิ ัตร/อนสุ ทิ ธิบตั ร เชน การลอกเลียนแบบสิ่ง
ประดิษฐ ผลติ ภณั ฑ กรรมวธิ ี หรือการออกแบบท่ขี ึน้ ทะเบียน
สทิ ธบิ ตั รไวแ ลว หรือสนิ คาปลอม

● การละเมิดความลบั ทางการคา เชน การนําสูตรอาหาร สูตร
การผลิตที่เปน ความลับไปใช หรอื เปด เผยโดยไมไดรับ
อนญุ าต

ในคูมอื ทางกฎหมายฉบบั นี้ จะแนะนาํ ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การตา งๆ
ตามลําดบั เมอื่ พบเห็นหรือทราบวาทรัพยส นิ ทางปญญาของตนถูก
ละเมิด โดยผเู ปน เจา ของทรพั ยสินทางปญ ญาอาจพจิ ารณาดาํ เนิน
การตามแนวทาง ดงั ตอ ไปนี้

การใชเทคโนโลยสี ื่อสารและ
สารสนเทศกับการเผยแพร

การเผยแพรสารสนเทศ

การเผยแพรส ารสนเทศ (Information

dissemination) เปนชอ งทางสาํ คัญในการส่อื เพ่อื

เผยแพรส ารสนเทศจากแหลง หนงึ่ ไปยังอกี แหลง หนงึ่

เชน จากผเู ขียนไปยังผอู า น จากสถาบันบรกิ าร

สารสนเทศไปยงั ผูใ ช เปนตน สารสนเทศท่เี ผยแพรอาจ

อยใู นรูปของขอ ความ ตวั เลข เสยี ง ภาพ มัลตมิ ิเดยี และ

อาจบนั ทกึ ไวบนกระดาษ สื่อโสตทศั น สื่อแมเ หล็ก หรอื

ส่ือออปติก เปนกจิ กรรมสําคัญของสถาบันบรกิ าร

สารสนเทศ เกี่ยวของกับงานประชาสัมพันธกจิ กรรม

และภารกิจของสถาบัน และการเผยแพรส ารสนเทศใน

รปู แบบท่สี ะดวกแกผูใชใหมากที่สดุ การเผยแพร

สารสนเทศท่สี ําคัญ คอื เปนการจัดสง สารสนเทศไปยงั

ผใู ช โดยอาจเปน การจดั สงไปยังผูใ ชที่สถาบนั คาดวา

จะใชป ระโยชนจ ากสารสนเทศนนั้ หรอื จัดสงไปยงั ผใู ช

ตามท่ีรอ งขอ ทัง้ น้สี ารสนเทศทีจ่ ดั สงอาจอยใู นรปู

เอกสาร บทความ จดหมายขา ว เอกสารเวียน และทั้งท่ี

เปนกระดาษ หรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส

การเผยแพรสารสนเทศ หมายถงึ การจัดสง สารนิเทศใหแ กผ ใู ช

ตามท่ีผใู ชตองการ หรอื เปด โอกาสใหผูใ ชเ ขา มาใชส ารนเิ ทศตางๆ

ดวยตนเอง ความหมายของการเผยแพรสารนิเทศที่แทจ รงิ กค็ ือไม

เพียงแตนาํ เสนอสารนิเทศเร่ืองหน่งึ เร่ืองใดออกไปเทา นน้ั แตจะตอง

ตดิ ตามผลดวยวาผูใ ชนาํ สารนิเทศเรื่องนน้ั ๆ ไปใชใหเ กิดประโยชน

ไดอยา งแทจรงิ หรอื ไม

การเผยแพรส ารสนเทศโดยท่วั ไปมีการเผยแพรอยางไม

เปนทางการและไมเปนทางการ การเผยแพรส ารสนเทศอยา งไมเปน

ทางการ อาจมลี กั ษณะของการพดู คุยในระหวางการประชุมสัมมนา

การตดิ ตอทางโทรศัพท การตี ิดตอ ทางไปรษณยี อเิ ลก็ ทรอนิกส การ

รวมในกลุมสนทนาอิเลก็ ทรอนกิ ส (listserv)ในหัวขอ ตา งๆ เปนตน

สว นการเผยแพรส ารสนเทศอยางเปนทางการ น้นั มกี ารบนั ทกึ

สารสนเทศไวเปนหลกั ฐานในรูปลักษณตางๆ เชน เอกสารการ

บรรยายทางวชิ าการ หนงั สอื ตํารา รายงานการประชุมทางประชุม

วชิ าการ เอกสารทางวชิ าการ วารสาร เปนตน ซงึ่ นยิ มเรียกสงิ่ พมิ พ

เหลา น้ีอยา งกวา งๆวา ส่งิ พมิ พว ิชาการ โดยถอื เปนส่ือที่สําคัญยิ่งใน

การเผยแพรค วามรูและสารสนเทศใหมแ ละเปนประโยชนต อ

สาธารณะ ยง่ิ กวา น้นั สิง่ พมิ พทางวชิ าการที่มีคณุ ภาพจะมกี ระบวนการ

พจิ ารณาคณุ ภาพโดยผูทรงคุณวฒุ ซิ ง่ึ เปนผรู วมวิชาชีพหรอื นัก

วชิ าการแขนงเดยี วกัน (peer-review process)สถาบนั บริการ

สารสนเทศประเภทตางๆลว นมีภารกจิ สาํ คัญในการจดั บรกิ ารเผยแพร

นัน้ มุงเนนสารสนเทศท่ีไดร บั การบนั ทึกไวเ ปนหลกั ฐานสําคญั

องคประกอบขัน้ พืน้ ฐานของระบบสอื่ สาร

องคประกอบหลักของระบบสอ่ื สารขอมลู มีอยู 5
อยาง ไดแ ก ผูสง (sender) ผูรบั (receiver)
ขา วสาร(message) ส่ือกลาง(media) และโพรโท
คอล(protocol)

รูปองคประกอบการสอ่ื สาร

1. ผูสง หรอื อุปกรณสงขอมลู (Sender) เปน แหลงตน ทางของ
การสอ่ื สารโดยมหี นา ท่ใี นการใหกาํ เนิดขอ มลู หรอื เตรยี มขอ มูล
เชน ผูพ ดู คอมพวิ เตอรตนทาง เปนตน

2. ผรู บั หรืออปุ กรณร ับขอ มูล (Receiver) เปนแหลง ปลายทาง
ของการสอื่ สาร หรอื เปน อุปกรณส ําหรบั ขอมลู ที่จะนาํ ขอ มูลนัน้
ไปใชด ําเนินการตอ ไป เชน ผรู บั คอมพวิ เตอรปลายทาง เครื่อง
พมิ พ

3. ขาวสาร (Massage) เปน ตวั เน้อื หาของขอมูล ซึ่งมีไดห ลาย
รูปแบบดงั นี้ คือ

- ขอ ความ (Text) ขอ มูลที่อยใู นรปู อักขระ หรือเอกสาร เชน
ขอ ความในหนังสอื เปน ตน

- เสยี ง (Voice) ขอ มูลเสยี งทีแ่ หลงตนทางสรา งขึ้นมา ซงึ่ อาจจะ
เปนเสยี งทีม่ นุษยหรอื อปุ กรณบ างอยางเปนตวั สรา งกไ็ ด

- รปู ภาพ (Image) เปนขอมลู ที่ไมเหมือนขอความตัว
อกั ษรท่ีเรียงติดตอกนั แตจะมลี กั ษณะเหมือนรปู ภาพ
เชน การสแกนภาพเขาคอมพวิ เตอร เปน ตน เมอื่
เปรียบเทียบขอมลู รูปภาพกับขอมลู ขอความ แลว
รูปภาพจะมีขนาดใหญก วา

- สือ่ ผสม (Multimedia) ขอมลู ที่ผสมลกั ษณะของทงั้
รปู ภาพ เสยี งและขอความเขาดว ยกนั โดยสามารถ
เคลอ่ื นไหวได เชน การเรยี นผา นระบบ VDO
conference เปนตน โดยขอมลู จะมขี นาดใหญมาก

4. สอ่ื กลางหรอื ตวั กลางในการนําสง ขอ มูล (Medium)
เปน สอ่ื หรือชองทางที่ใชใ นการนําขอมลู จากตนทางไป
ยงั ปลายทาง ซ่งึ อาจเปน ตัวกลางท่ีมีสายสัญญาณ เชน
สายไฟ หรอื ตัวกลางทไ่ี มใ ชส ายสญั ญาณ เชน อากาศ
เปนตน

5. โปรโตคอล (Protocol) เปน ขอกําหนดหรือขอ ตกลง
ถึงกฎระเบียบและวิธกี ารท่ใี ชใ นการสื่อสารเพอื่ ใหผ สู ง
และผูร ับมคี วามเขาใจตรงกัน

การทาํ ธรุ กจิ ออนไลน การทาํ ธรุ กรรม
ออนไลนและความปลอดภยั ในการใช
งานสําหรบั ผูเ รยี กใช

การเขารหสั เพือ่ ทําธรุ กรรมการเงนิ ออนไลนใน
ปจจุบัน กม็ คี วามรดั กมุ และปลอดภยั มากข้ึน ซงึ่
คณุ สามารถเลือกการเขา รหสั ใชง านไดถ งึ 3
วธิ ดี วยกัน
1.การเขา รหัสตวั เลขหกหลัก

แตก อ น หลายๆ คนคงจาํ กนั ได วา ธนาคารจะให
เรากรอกรหัสเปน ตวั เลขเพียง 4 ตัวเทาน้ัน แต
เด๋ยี วน้ี ธนาคารจะใหเราตงั้ รหัส 6 ตัว ในการ
ยืนยนั ตัวตนเขา ใชบ รกิ าร เพิ่มความปลอดภัยมาก
ขึน้ กวา เดิม

อยา งไรกต็ าม รหัสตัวเลขนนั้ มีทั้งขอ ดขี อ เสยี ขอ ดี
คอื สามารถจําไดงา ย และขอเสียกเ็ ชน เดยี วกัน
คนอน่ื ก็เดาไดงาย ขอ หา ม คอื หา มใชต ัวเลขเรยี ง
กนั หรือเปนขอ มลู ทเี่ กี่ยวกบั เรา เชน วนั /เดือน/ป
เกดิ หลายเลขโทรศพั ท หรือขอมลู อ่ืนๆ ทผี่ อู ่ืนรู

2.การเขารหัสสวนบคุ คล

รหัสสว นบุคคล หรอื รหสั ทีเ่ ราคิดเองโดยทไี่ มจ าํ กดั วา
ตองเปนตัวเลขเทานน้ั แมห ลายคนจะไมค อ ยคนุ เคย
เทา ไร แตจรงิ ๆ ยงั มีการใชก ันอยใู นการทาํ ธรุ กรรม
การเงินออนไลนป ระเภทตดั บตั รเครดิตออนไลน

ขอ ดีของรหัสประเภทน้ี คอื คณุ สามารถต้ังรหัสทีย่ าก
ขึน้ กวา แคตัวเลขได โดยประสมตวั อักษร ตัวเลข และ
เคร่อื งหมายตา งๆ ไวดวยกนั ได เชน “GHB.1234” แต
เพราะความซบั ซอน ก็อาจทาํ ใหจ าํ รหสั คลาดเคล่อื นได
เหมอื นกัน จะต้งั รหสั อะไรจงึ ตอ งแนใ จวา เราจะจาํ ได
จรงิ ๆ
3.การใชล ายนวิ้ มือ

จากเทคโนโลยี Touch ID ของสมารท โฟน สูการยืนยัน
ตัวตนเขา ใชแ อปพลเิ คชนั การธนาคารดวยลายนวิ้ มือ
เปนวิธเี ขายนื ยันตัวตนทรี่ ดั กุม ปลอดภัย ดวย
อัตลักษณลายน้วิ มอื เพยี งหนึง่ เดียวของแตละคน หาก
โทรศัพทใ ครมีระบบ Touch ID กน็ า จะไดเ คยใชกนั มา
บา ง ทง้ั นี้ ระบบน้ีกย็ งั ตองการการยนื ยนั ดวยการ
เขารหัสตวั เลขอกี คร้งั เม่ือตอ งการทําธุรกรรม
ประโยชนห ลกั ของระบบนีจ้ ึงเปนการเพมิ่ ความ
ปลอดภยั ใหก ับบัญชขี องเรา

ประเภทของขอ มูลท่ีมีการแชรห รอื
แบง ปน ในสังคมออนไลน

ประเภทของสื่อสงั คมออนไลน

ประเภทของสอื่ สงั คมออนไลน มดี ว ยกนั หลายชนิด ขน้ึ อยูก บั ลักษณะของการนาํ มาใชโดย
สามารถแบงเปน กลุม หลักดงั นี้
1. Weblogs หรือเรยี กสนั้ ๆ วา Blogs คอื สอื่ สว นบคุ คลบนอินเทอรเนต็ ทีใ่ ชเผยแพรข อมูล
ขา วสาร ความรู ขอ คิดเห็น บนั ทึกสวนตัว โดยสามารถแบง ปน ใหบุคคลอื่นๆ โดยผรู ับสาร
สามารถเขา ไปอาน หรือแสดงความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ ได ซ่งึ การแสดงเนอ้ื หาของบล็อกนั้นจะเรยี ง
ลําดบั จากเน้อื หาใหมไ ปสูเน้อื หาเกา ผูเ ขยี นและผูอานสามารถคนหาเนอ้ื หายอนหลังเพ่อื อา น
และแกไขเพม่ิ เตมิ ไดตลอดเวลา เชน Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation

2. Social Networking หรือเครอื ขายทางสงั คมในอินเทอรเนต็ ซึ่งเปนเครือขา ยทางสังคมที่ใช
สําหรับเช่อื มตอระหวา งบุคคล กลุมบุคคล เพ่อื ใหเกิดเปน กลุม สังคม (Social Community) เพอื่
รวมกนั แลกเปลย่ี นและแบงปนขอมูลระหวางกันท้ังดานธุรกิจ การเมอื ง การศกึ ษา เชน Facebook,
Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste

3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือทเี่ รยี กกนั วา “บล็อกจ๋ิว” ซ่งึ เปนเวบ็ เซอรว สิ หรือเวบ็
ไซตท ใ่ี หบ ริการแกบุคคลทั่วไป สาํ หรับใหผใู ชบรกิ ารเขียนขอความสัน้ ๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ท่ี
เรียกวา “Status” หรอื “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองวากาํ ลงั ทาํ อะไรอยู หรอื แจง ขา วสาร
ตา งๆ แกก ลุมเพ่ือนในสังคมออนไลน (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทั้งน้ีการ
กําหนดใหใชขอมูลในรูปขอความสัน้ ๆ กเ็ พือ่ ใหผ ใู ชทเี่ ปนทั้งผูเขยี นและผูอา นเขา ใจงาย ทน่ี ิยมใชก ัน
อยางแพรหลายคือ Twitter
4. Online Video เปน เว็บไซตท ใี่ หบรกิ ารวิดีโอออนไลนโดยไมเสยี คา ใชจ า ย ซ่งึ ปจ จบุ ันไดรบั ความ
นยิ มอยา งแพรหลายและขยายตวั อยา งรวดเรว็ เนื่องจากเนือ้ หาที่นาํ เสนอในวิดโี อออนไลนไ มถกู
จาํ กัดโดยผังรายการท่ีแนน อนและตายตัว ทาํ ใหผ ูใชบรกิ ารสามารถตดิ ตามชมไดอ ยางตอเน่อื ง
เพราะไมมีโฆษณาคนั่ รวมทัง้ ผใู ชสามารถเลือกชมเนื้อหาไดต ามความตองการและยังสามารถเช่อื ม
โยงไปยงั เว็บวิดโี ออน่ื ๆ ทเี่ กี่ยวขอ งไดจาํ นวนมากอีกดว ย เชน Youtube, MSN, Yahoo
5. Poto Sharing เปนเวบ็ ไซตท่ีเนน ใหบ ริการฝากรูปภาพโดยผใู ชบ รกิ ารสามารถอพั โหลด
และดาวนโหลดรูปภาพเพ่ือนาํ มาใชง านได ทส่ี ําคัญนอกเหนอื จากผูใชบ รกิ ารจะมโี อกาส
แบง ปน รปู ภาพแลว ยงั สามารถใชเปนพนื้ ท่เี พือ่ เสนอขายภาพที่ตนเองนําเขา ไปฝากไดอีก
ดวย เชน Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom

6. Wikis เปนเวบ็ ไซตท ่มี ีลกั ษณะเปน แหลง ขอมูลหรือความรู (Data/Knowledge) ซึ่งผูเ ขยี นสว น
ใหญอาจจะเปนนกั วิชาการ นกั วิชาชพี หรือผูเชีย่ วชาญเฉพาะทางดานตางๆ ท้งั การเมือง เศรษฐกิจ
สงั คม วฒั นธรรม ซึง่ ผใู ชส ามารถเขียนหรอื แกไ ขขอมลู ไดอ ยา งอิสระ เชน Wikipedia, Google
Earth,diggZy Favorites Online
7. Virtual Worlds คือการสรางโลกจินตนาการโดยจําลองสวนหนง่ึ ของชีวติ ลงไป จดั เปน
ส่อื สังคมออนไลนท ีบ่ รรดาผทู องโลกไซเบอรใ ชเ พอ่ื สื่อสารระหวางกันบนอนิ เทอรเ นต็ ใน
ลกั ษณะโลกเสมอื นจริง (Virtual Reality) ซง่ึ ผูทจี่ ะเขาไปใชบริการอาจจะบริษัทหรือ
องคก ารดา นธุรกจิ ดานการศึกษา รวมถงึ องคก ารดา นส่อื เชน สาํ นกั ขา วรอยเตอร สาํ นกั
ขาวซีเอน็ เอน็ ตอ งเสยี คา ใชจา ยในการซอ้ื พ้นื ทีเ่ พ่อื ใหบ คุ คลในบริษัทหรอื องคก รไดมชี อ ง
ทางในการนาํ เสนอเรอ่ื งราวตา งๆ ไปยงั กลมุ เครอื ขายผูใ ชส ือ่ ออนไลน ซ่งึ อาจจะเปนกลุม
ลูกคาทงั้ หลกั และรองหรอื ผทู ่ีเกี่ยวของกับธุรกจิ ของบรษิ ัท หรอื องคก ารก็ได ปจจบุ นั เว็บ
ไซตทใ่ี ชห ลกั Virtual Worlds ที่ประสบผลสําเรจ็ และมชี ่อื เสยี ง คือ Second life

8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาํ สองคําคือ Crowd และ Outsourcing เปน หลกั การ
ขอความรว มมอื จากบคุ คลในเครอื ขา ยสงั คมออนไลน โดยสามารถจัดทาํ ในรูปของเวบ็ ไซตที่มีวัตถุ
ประสงคหลักเพอ่ื คน หาคาํ ตอบและวธิ กี ารแกปญหาตา งๆทงั้ ทางธรุ กจิ การศกึ ษา รวมทง้ั การ
สื่อสาร โดยอาจจะเปน การดงึ ความรว มมือจากเครอื ขา ยทางสงั คมมาชว ยตรวจสอบขอ มลู เสนอ
ความคดิ เห็นหรอื ใหขอ เสนอแนะ กลุมคนที่เขามาใหข อ มูลอาจจะเปนประชาชนทัว่ ไปหรอื ผูมีค
วามเชยี่ วชาญเฉพาะดานท่ีอยูใ นภาคธุรกิจหรอื แมแตใ นสงั คมนักขาว ขอ ดขี องการใชหลกั
Crowd souring คอื ทําใหเกดิ ความหลากหลายทางความคิดเพือ่ นํา ไปสูการแกป ญ หาทมี่ ี
ประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนชว ยตรวจสอบหรอื คดั กรองขอมูลซง่ึ เปนปญหาสาธารณะรวมกนั ได เชน
Idea storm, Mystarbucks Idea

9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตวั ของสองคาํ คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง
“POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงคหรือความตองการสวนบคุ คล สวน
“Broadcasting” เปน การนาํ สอื่ ตา งๆ มารวมกันในรปู ของภาพและเสียง หรอื อาจกลาวงายๆ
Podcast คอื การบนั ทกึ ภาพและเสยี งแลวนํามาไวใ นเว็บเพจ (Web Page) เพ่อื เผยแพรใหบคุ คล
ภายนอก (The public in general) ทีส่ นใจดาวนโ หลดเพ่อื นาํ ไปใชง าน เชน Dual Geek Podcast,
Wiggly Podcast
10. Discuss / Review/ Opinion เปน เวบ็ บอรด ที่ผใู ชอนิ เทอรเ นต็ สามารถแสดงความคดิ เห็น โดย
อาจจะเก่ยี วกบั สนิ คา หรอื บริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม เชน Epinions,
Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp




Click to View FlipBook Version