ตารางวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดท าค าอธิบายรายวิชาศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดพระทรง (สุทธิวิเทศอุปถัมภ์) สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองเพชรบุรี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อจัดท าค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ความรู้ (k) ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ (P) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.๒/๑ อธิบายการบูร ณาการศิลปะแขนง อื่นๆ กับการแสดง ๑. การบูรณาการศิลปะแขนง อื่นๆ ให้เข้ากับการแสดง นาฏศิลป์จะช่วยให้ผู้ชมคล้อง ตามและเกิดสุนทรียภาพใน การชม ๑. อธิบายการประยุกต์ ศิลปะแขนงอื่นๆ กับ การแสดงละครร าได้ ๒. อธิบายการบูรณา การศิลปะแขนงอื่นๆ กับการแสดงนาฏศิลป์ ได้ ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. ศิลปะแขนงอื่นๆ กับ การแสดง - แสง สี เสียง - ฉาก - เครื่องแต่งกาย - อุปกรณ์ ม.๒/๒ สร้างสรรค์การ แสดงโดยใช้ องค์ประกอบนาฏศิลป์ และการละค ๑. นาฏศิลป์ไทยมาตรฐาน เป็นการแสดงที่ปรมาจารย์ นาฏศิลป์ไทยได้ก าหนดไว้ ๑. แสดงนาฏศิลป์ไทย มาตรฐานที่ก าหนดได้ ๒. แสดงร าวงมาตรฐาน เพลงคืนเดือนหงายได้ ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. หลักและวิธีการ สร้างสรรค์การแสดงโดย ใช้องค์ประกอบ นาฏศิลป์และการละคร ม.๒/๓ วิเคราะห์การ แสดงของตนเองและ ผู้อื่นโดยใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละคร ๑. การแสดงระบ า ร า ฟ้อน จะมีรูปแบบและเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่แตกต่างกันชมการ แสดงนาฏศิลป์ไทยจ าเป็นต้อง ๑. วิเคราะห์หลักการ และวิธีการสร้างสรรค์ การแสดงนาฏศิลป์ใน รูปแบบระบ า ร า ฟ้อน ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. หลักและวิธีการ วิเคราะห์การแสดง
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ความรู้ (k) ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ (P) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ที่เหมาะสม มีความรู้พื้นฐานทางด้าน นาฏศิลป์ไทยและหลักการ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ไทย เพื่อเพิ่มอรรถรสในการชมการ แสดงให้มากยิ่งขึ้น ได้ วิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์ไทยได้ ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ม. ๒/๔ เสนอ ข้อคิดเห็นในการ ปรับปรุงการแสดง ๑. การวิเคราะห์ วิจารณ์การ แสดงร าวงมาตรฐานเพื่อเสนอ ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการ แสดงให้เกิดความถูกต้อง ๑. วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอข้อคิดเห็นใน การปรับปรุงการแสดง ร าวงมาตรฐานได้อย่าง ถูกต้อง ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์และการละคร ๒. ร าวงมาตรฐาน ม.๒/๕ เชื่อมโยงการ เรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์ และการละครกับสาระ การเรียนรู้อื่นๆ ๑. กิจกรรมทางด้านนาฏศิลป์ สามารถน าไปผสมผสาน สอดแทรกกับสาระการเรียนรู้ อื่นๆ เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ๑. อธิบาย ความสัมพันธ์ของนาฏฺ ศิลป์กับสาระการเรียนรู้ อื่นได้ ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. ความสัมพันธ์ของ นาฏศิลป์หรือการละคร กับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจควาสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ความรู้ (k) ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ (P) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.๒/๑ เปรียบเทียบ ลักษณะเฉพาะของการ แสดงนาฏศิลป์จาก วัฒนธรรมต่างๆ ๑. การแสดงนาฏศิลป์ พื้นเมือง จะมีลักษณะเฉพาะ ของแต่ละท้องถิ่นจึงต้องมีการ เปรียบเทียบการแสดงที่มา จากวัฒนธรรมต่างๆ จึง สามารถระบุได้ว่าเป็นการ แสดงประเภทใด ๑. อธิบายความหมาย และที่มาของนาฏศิลป์ พื้นเมืองได้ ๒. อธิบายปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อนาฏศิลป์ พื้นเมืองได้ ๓. เปรียบเทียบ ลักษณะเฉพาะของการ แสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ในแต่ละภาคได้ ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. นาฏศิลป์พื้นเมือง - ความหมาย - ที่มา - วัฒนธรรม - ลักษณะเฉพาะ ม.๒/๒ ระบุหรือแสดง นาฏศิลป์ นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้านหรือ มหรสพอื่นที่เคยนิยม กันในอดีต ๑. การเรียนรู้เกี่ยวกับการ แสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง จะ ช่วยให้เข้าใจรูปแบบของการ แสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ ละภาค ๑. อธิบายรูปแบบการ แสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ในแต่ละภาคได้ ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. รูปแบบการแสดง ประเภทต่างๆ - นาฏศิลป์ - นาฏศิลป์พื้นเมือง - ละครไทย - ละครพื้นบ้าน ม.๒/๓ อธิบายอิทธิพล ของวัฒนธรรมที่ผลต่อ เนื้อหาของละคร ๑. เนื้อหาของละครในแต่ละ ยุคสมัยจะมีความแตกต่างกัน ไปตามวัฒนธรรมที่ได้รับมา ๑. อธิบายอิทธิพลของ วัฒนธรรมที่มีผลต่อ เนื้อหาของละครใน ๑. ความสามารถใน การคิด ๒. ความสามารถใน ๑. รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๑. การละครสมัยต่างๆ
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจควาสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ ความรู้ (k) ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ (P) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ แกนกลาง สมัยต่างๆ ได้ การสื่อสาร ๓. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ลงชื่อ ........................................................... ผู้วิเคราะห์หลักสูตร (นางสาวสินี กุลพงษ์) ครูวิทยฐานะ ครูช านาญการ