The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการนำนักเรียนเข้าร่วมโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๒

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2021-10-15 00:41:36

รายงานผลการนำนักเรียนเข้าร่วมโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๒

รายงานผลการนำนักเรียนเข้าร่วมโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๒

รายงานผลการดาเนนิ งาน

TEDET ๒๕๖๒

โครงการประเมนิ และพฒั นา
สู่ความเปน็ เลิศทางดา้ นคณติ ศาสตร์

และวทิ ยาศาสตร์ (TEDET)

ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นายครรชิต แซ่โฮ่
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ

โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑๕

กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานผลการดาเนินงาน

โครงการประเมนิ และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศทางดา้ น
คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (TEDET)
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา
สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๕
สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
ที่ วันท่ี ๑๓ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เร่ือง รายงานผลการนานักเรียนเข้าร่วมโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์

และวิทยาศาสตร์ (TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา

ตามท่ี นายครรชิต แซ่โฮ่ ครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา
ได้ส่งนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าร่วมโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์
และวทิ ยาศาสตร์ (TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ มรี ายละเอียดดังนี้

ด้วยศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ศูนย์
SEAMEO STEM-ED) ร่วมมือกับธนาคารออมสิน บริษัท เอดู พาร์ค จากัด และ CMS Education จากประเทศ
เกาหลีใต้ ดาเนินงานจัดโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพ่ือ
ยกระดับการเรียนรูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและช่วยครูจัดการเรียน
การสอนให้นักเรียนมที ักษะการใชเ้ ครื่องมือการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยจัดให้มีการสอบประเมินความสามารถ
ทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พร้อมทั้งได้จัดหาคลังข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์จากสาธารณรัฐเกาหลีทั้งระบบ อันประกอบด้วย การมอบหมายงาน online ทุกสังกัดได้แสดง
ความสามารถทางวิชาการอย่างเต็มตามศักยภาพ โดยผ่านกระบวนการแข่งขันทางวิชาการและได้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้สู่เวทีโลก เป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ตลอดจนการใช้เวทีการแข่งขันทางวิชาการ
สร้างบรรยากาศทางวิชากาขับเคล่ือนการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสให้นักเรียนฝึกฝน พร้อมมีเฉลยแนวคิดใน
การทาข้อสอบหรือแบบฝึกหัดไว้ให้ครูเตรียมการสอนครบทุกข้อ มีสาระต่าง ๆ ที่สอดคล้องตามหลักสูตร โจทย์
ปญั หาสาหรับนกั เรียนทีม่ ีความสามารถพิเศษ และแบบฝึกหัดที่แยกระดับความยากง่ายตามความแตกต่างระหว่าง
บุคคล เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้า online นอกจากนี้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะได้ลงนามความร่วมมือในการ
ยกระดบั การเรียนรู้โดยใช้เคร่ืองมือในศตวรรษท่ี ๒๑ กับ สสวท.แล้ว คุณครูทุกคนในโรงเรียนสามารถเข้าใช้ระบบ
TEDET เพื่อลดภาระงานของครูในการค้นคว้าข้อมูลในการเตรียมการสอนคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ นักเรียน
ทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการจะได้รบั Password เพอ่ื เข้าถึงระบบคลงั ความรู้ TEDET ได้ตลอดปี โรงเรียนจะได้รับรายงานผล
การประเมินของทุก ๆ ภาระงานที่นักเรียนเข้าใช้ระบบ TEDET เป็นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายภาคเรียนใน
รปู แบบกราฟชนิดต่าง ๆ

ซ่ึงศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ศูนย์
SEAMEO STEM-ED) ได้กาหนดการดาเนินงานจัดสอบโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้าน
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อยกระดับการเรียนรูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจาปี พ.ศ.
๒๕๖๒ ดังน้ี

กาหนดการดาเนนิ งานจัดสอบโครงการประเมินและพัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ ทาง
คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒

รายละเอยี ด กาหนดเวลา

รับสมคั รโรงเรยี นเข้าร่วมโครงการและเปน็ ศนู ยส์ อบ ตงั้ แตบ่ ัดนี้จนถึงวนั ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ทว่ั ประเทศ

การรบั สมัครนกั เรียนเข้ารว่ มโครงการฯ วนั นี้ – วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๒

โรงเรียนท่เี ขา้ ร่วมโครงการทั่วประเทศคนื ใบสมัครส่วน ภายในวนั ที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๒
ที่ ๒ ใหน้ ักเรียน

นกั เรยี นตรวจสอบข้อมลู ของตนเอง ผ่านทางเว็บไซต์ วนั ที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒
TEDET.ac.th เช่น เลขทน่ี ่งั สอบ สนามสอบ

Username และ Password ของนักเรียน ครู และ หลงั จากโรงเรียนสง่ ขอ้ มลู การสมัคร
โรงเรียน ท่เี ข้าร่วมโครงการท่ัวประเทศ

วนั สอบ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
วนั อาทิตย์ ท่ี ๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ วชิ าคณิตศาสตร์
เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๓.๐๐ น.

ลงทะเบยี นและแนะนาการสอบ
เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น.

ลงมือทาข้อสอบ
วิชาวทิ ยาศาสตร์
เวลา ๑๔.๓๐ – ๑๕.๐๐ น.

ลงทะเบียนและแนะนาการสอบ
เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.

ลงมือทาข้อสอบ

ประกาศรายช่ือผู้ท่ีได้รบั รางวัลระดับประเทศ และ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๒
รางวัลระดบั จงั หวัด

โรงเรยี นที่เข้ารว่ มโครงการและเปน็ ศนู ยจ์ ดั สอบประเมิน

ศนู ยส์ อบระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา จังหวดั ยะลา

รหสั ศนู ยส์ อบ ช่ือโรงเรียนท่เี ป็นศูนยส์ อบ ประเภทศูนย์สอบ
คณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
๕๖๐๐๑ ผู้ประสานงานโครงการฯ : อ.ครรชติ โทร ๐๗๓-๒๒๒-๘๐๑ สนามเปดิ
จงฝามูลนิธิ
๕๖๐๐๔ ถนอมศรีศึกษา สนามปดิ
๕๖๐๑๑ สตรียะลา สนามปดิ
๕๖๐๕๒ อนบุ าลเบตง สนามปิด
ผู้ประสานงานโครงการฯ : อ.ประดบั สาและ โทร
๕๖๐๕๙ สนามเปิด

โดยข้าพเจ้าไดป้ ระชาสมั พันธ์และรบั สมัครนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นเข้าร่วมโครงการประเมินและ

พัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ ทางดา้ นคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อยกระดับการเรียนรูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

(TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

ผลการรับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา เข้าร่วม

โครงการดังกล่าว มรี ายละเอียดดังนี้

นักเรยี นท่ีสมคั รสอบวิชาคณิตศาสตร์ ดงั ตาราง

ระดบั ช้นั จานวนนกั เรยี น
ชาย หญิง รวม

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๕๗ ๔๓ ๑๐๐

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๓๑ ๒๗ ๕๘

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒ ๑๒ ๑๔

รวม ๙๐ ๘๒ ๑๗๒

นักเรยี นท่ีสมัครสอบวชิ าวิทยาศาสตร์ ดังตาราง

ระดบั ชน้ั จานวนนักเรยี น
ชาย หญงิ รวม

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ๔๗ ๖๙ ๑๑๖

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๒๙ ๓๘ ๖๗

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๕ ๑๓ ๑๘

รวม ๘๑ ๑๒๐ ๒๐๑

ศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ศูนย์
SEAMEO STEM-ED) ร่วมมือกับธนาคารออมสิน บริษัท เอดู พาร์ค จากัด และ CMS Education จากประเทศ
เกาหลีใต้ ดาเนินงานจัดโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพ่ือ
ยกระดับการเรียนรูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) เป็นประจาทุกปี และในปี ๒๕๖๒ ได้ดาเนินการสอบ
ประเมนิ วิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น ไปเรียบร้อยแล้วนั้น

ศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยสะเต็มศึกษาขององค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ศูนย์
SEAMEO STEM-ED) ได้ประกาศผลผู้ได้รับรางวัลจากการสอบโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
ทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒
ดงั น้ี

๑. รายช่ือผู้ท่ีได้รับรางวัลโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ วิชาคณิตศาสตร์ ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้น มีดังนี้

รางวลั เหรียญเงนิ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ได้แก่
๑. เดก็ ชายพสั กร จิรรัตนโสภา

รางวัลชมเชย ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ได้แก่
๑. เดก็ ชายสิรวิชญ์ ชยั ชนากานต์

รางวัลชมเชย ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ได้แก่
๑. เดก็ ชายชยธร ศิริไชย

๒. รายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (TEDET) รอบ All Star Intelligent Contest ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้น มดี งั น้ี

รางวลั ชมเชย ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ไดแ้ ก่
๑. เด็กชายสริ วชิ ญ์ ชัยชนกานต์

รางวัลชมเชย ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ไดแ้ ก่
๑. เด็กหญิงขวัญชนก แซ่อ้งึ
๒. เด็กชายปรวฒั น์ ปรีชาวุฒิเดช

จงึ เรียนมาเพ่อื ทราบ

ลงชื่อ
(นายครรชิต แซโ่ ฮ่)

ครูโรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา

ความเห็นของรองผอู้ านวยการกล่มุ บริหารวิชาการ

ลงชอื่
(นางสาวเพริศพิศ คูหามขุ )

รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ความเหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรียน

ลงช่ือ
(นางสาวเสาวนติ ย์ ทวีสันทนีนกุ ูล)

ผ้อู านวยการโรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา

ภาคผนวก



-1-

บญั ชรี ายช่ือแนบท้ายประกาศ
เรือ่ ง รายชื่อผไู้ ด้รับรางวัลในโครงการประเมินและพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศ

ทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (TEDET) ประจาปี พ.ศ. 2562
วชิ าคณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ลงวันที่ 9 ธนั วาคม 2562

รางวลั เหรยี ญทอง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

ชือ่ นามสกลุ โรงเรียน จังหวัด
สาธติ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
เด็กชายกรชวลั ร์ ตนั ติวเิ ศษศักด์ิ วทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ปทุมธานี ปทมุ ธานี
กรุงเทพครสิ เตยี นวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร
เดก็ ชายกันตินันท์ ไหลประเสรฐิ แสงทองวิทยา สงขลา
กรงุ เทพครสิ เตียนวทิ ยาลัย กรุงเทพมหานคร
เดก็ ชายชยั นนั ท์ จีระศริ ิ

เดก็ ชายพิพิชชญะ ศรดี า

เด็กชายวชิรวิชญ์ กจิ คณุ าเสถยี ร

รางวลั เหรียญเงิน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1

ชอ่ื นามสกุล โรงเรยี น จังหวัด
สาธิตมหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทุมวนั กรงุ เทพมหานคร
เด็กหญงิ ธันยธร เจิ้ง นครสวรรค์ นครสวรรค์
สาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม กรงุ เทพมหานคร
เดก็ หญงิ นวยิ า ดีจักรวาล สวนกุหลาบวิทยาลยั กรุงเทพมหานคร
คณะราษฎรบารุง ยะลา ยะลา
เดก็ ชายปณั ณวิชญ์ สิริปกรณ์ชยั สาธติ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน กรงุ เทพมหานคร
ขจรเกียรตินานาชาตภิ ูเกต็ ภเู ก็ต
เดก็ ชายปิยพทั ธ์ โอปิลันธน์ แสงทองวิทยา สงขลา
สวนกุหลาบวทิ ยาลัย กรงุ เทพมหานคร
เด็กชายพัสกร จิรรตั นโสภา พรหมานสุ รณจ์ งั หวัดเพชรบุรี เพชรบุรี

เด็กชายภวู รณิ สชุ าติบญุ มาก

เด็กหญงิ รัชสรุ างค์ วงศ์กระแสมงคล

เดก็ ชายวริทธ์ิ สง่ ศรี

เด็กชายสิรวิชญ์ ยกยอ่ ง

เดก็ หญงิ อิสรยี ์ เกตทุ ะเล

ชื่อ นามสกลุ - 12 - โรงเรยี น จงั หวัด
เดก็ ชายชานน ฟองศรสี นิ ระดบั ภเู ก็ต
เด็กหญงิ ปพิชญา วายุพา มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ขจรเกยี รตินานาชาติภเู กต็ ภูเกต็
เดก็ ชายกฤตนิ ชินกาญจนโรจน ภเู ก็ต
เด็กหญงิ กิรณา วอ งนิตธิ รรม มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ภเู กต็ วทิ ยาลัย ภเู ก็ต
เด็กชายชารีฟ หมัดอาดัม ภเู ก็ต
เด็กชายกันตพงศ พนั ธศุ โิ รรตั น มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภูเก็ตวิทยาลัย ภเู ก็ต
เดก็ ชายชินดนยั ณ ตะกวั่ ทุง ภูเกต็
เด็กชายวสภะ รงุ ฤทยั วัฒน มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ขจรเกียรตศิ ึกษา ภูเกต็
เดก็ ชายธันยพงศ สงั ขวิเชียร มหาสารคาม
มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 ภเู กต็ วิทยาลยั
เด็กชายธีรภทั ร ขุมเงนิ มหาสารคาม
เด็กชายภรู ิณัฐ วันดี มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภเู กต็ วิทยาลัย มหาสารคาม
เด็กชายกฤตณัฐ กินะรี มกุ ดาหาร
มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภูเกต็ วทิ ยาลยั
เดก็ หญิงนนั ทชิ า สพั โส มุกดาหาร
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภเู กต็ วิทยาลัย
เดก็ ชายพงศกร แสงแกว มุกดาหาร
มธั ยมศึกษาปท่ี 1 สาธิตมหาวิทยาลยั มหาสารคาม
เดก็ ชายกวนิ ภพ จนั เจอื (ฝายมัธยม) มกุ ดาหาร

เดก็ หญงิ ญาณภัทร วงศส รุ เกยี รติ มัธยมศึกษาปท่ี 2 สารคามพิทยาคม มุกดาหาร

เด็กชายธนวิชญ จนั ปุม มธั ยมศึกษาปท่ี 2 วาปป ทุม มุกดาหาร

เดก็ ชายธนกฤต ลีลาด มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 วทิ ยาศาสตรจุฬาภรณราชวิทยาลัย ยโสธร
เด็กชายปวริศ คําสขุ มกุ ดาหาร ยโสธร
เดก็ หญิงศศิรัศม์ิ ยศเรืองสา ยโสธร
เดก็ ชายสริ วชิ ญ ชัยชนากานต มัธยมศึกษาปท ่ี 1 วทิ ยาศาสตรจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ยะลา
เด็กชายชยธร ศิริไชย มกุ ดาหาร ยะลา
เดก็ หญงิ มงิ่ กมล ครองศรทั ธา รอยเอ็ด
เดก็ ชายธรี ภัทร ชลศิ ราพงศ มธั ยมศึกษาปที่ 1 วทิ ยาศาสตรจ ฬุ าภรณราชวิทยาลัย ระนอง
เด็กชายปภังกร ธีรปต ิกลุ มุกดาหาร ระยอง
เด็กชายศริ สิทธ์ิ หวงั ผล ระยอง
เด็กชายสนุ ิรุตต์ิ ภาวงศกาฬสนิ ธุ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 วิทยาศาสตรจ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ระยอง
เดก็ ชายกฤตวรี  ชยั ประเสริฐสุด มุกดาหาร ระยอง
เด็กชายณฐั ปภสั ร เอกอัครพรพล ระยอง
เดก็ หญิงปรยี ากรณ เอกอจั ฉริยกุล มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 วิทยาศาสตรจฬุ าภรณราชวิทยาลัย ระยอง
มุกดาหาร

มัธยมศึกษาปท ่ี 2 วิทยาศาสตรจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย
มกุ ดาหาร

มธั ยมศึกษาปท่ี 3 ยโสธรพทิ ยาคม

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ยโสธรพิทยาคม

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ยโสธรพิทยาคม

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 คณะราษฎรบํารงุ จังหวดั ยะลา

มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 คณะราษฎรบํารงุ จังหวดั ยะลา

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 รอ ยเอ็ดวิทยาลัย

มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 พิชัยรตั นาคาร

มัธยมศึกษาปที่ 1 ระยองวิทยาคม

มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ระยองวทิ ยาคม

มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ระยองวิทยาคม

มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ระยองวิทยาคม

มัธยมศึกษาปที่ 2 ระยองวิทยาคม

มธั ยมศึกษาปที่ 2 ระยองวทิ ยาคม



ชือ่ นามสกุล - 13 - จังหวดั
เดก็ ชายกนธี เนติวงศานนท ระดับ โรงเรยี น ภูเก็ต
เด็กหญิงยายกิ า ตนิ เนอร มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภเู ก็ตวทิ ยาลัย ภเู กต็
โซเฟย มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 ขจรเกียรตศิ ึกษา
เด็กชายวรวชิ
เดก็ ชายกันตพัฒน เทยี รพสิ ุทธ์ิ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภูเก็ตวทิ ยาลัย ภเู ก็ต
เดก็ หญิงชิสา นสิ ภัครกุล มธั ยมศึกษาปที่ 3 ภูเกต็ วิทยาลยั ภเู ก็ต
เด็กชายภบู ดินทร เพชรขจี มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภูเกต็ วิทยาลยั ภูเก็ต
เดก็ ชายธนั ยพงศ บอ ทอง มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภูเกต็ วทิ ยาลัย ภเู ก็ต
สังขวิเชียร มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 สาธติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม
เดก็ หญิงธฤดี
เด็กชายธีรภัทร อตุ วัฒน (ฝา ยมธั ยม) มหาสารคาม
เด็กชายภูริณฐั ขุมเงิน มหาสารคาม
เด็กหญงิ วรวรรณี วนั ดี มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 สารคามพิทยาคม มหาสารคาม
เด็กหญิงณัฐธดิ า พลศรี มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 สารคามพิทยาคม มหาสารคาม
เดก็ ชายณัฐภัทร สีทาเลิศ มธั ยมศึกษาปที่ 2 วาปป ทมุ มกุ ดาหาร
ต้งั ดาํ รงวฒั น มธั ยมศึกษาปที่ 3 สารคามพทิ ยาคม มุกดาหาร
เด็กชายพงศกร มัธยมศึกษาปท่ี 1 มกุ ดาหาร
แสงแกว มุกดาหาร
เด็กชายกวนิ ภพ มัธยมศึกษาปท ี่ 1 วทิ ยาศาสตรจฬุ าภรณราชวิทยาลัย
จนั เจือ มุกดาหาร มกุ ดาหาร
เดก็ หญิงแพรวา
ดวงตา มธั ยมศึกษาปท่ี 1 วทิ ยาศาสตรจ ฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย มกุ ดาหาร
เดก็ ชายวรดล มกุ ดาหาร
หวยทราย มุกดาหาร
เดก็ ชายพฒั นา มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 วทิ ยาศาสตรจฬุ าภรณราชวิทยาลัย
เดก็ หญงิ ชญั ญา หวยสาม มุกดาหาร แมฮองสอน
เดก็ หญงิ ญาวดี ไชยราช แมฮอ งสอน
เดก็ หญิงณัฐกฤตา เหลาดี มัธยมศึกษาปท ี่ 2 วทิ ยาศาสตรจ ฬุ าภรณราชวิทยาลยั แมฮองสอน
เดก็ หญิงอลนี า วังวเิ ศษ มกุ ดาหาร แมฮ องสอน
เดก็ ชายธนพงศ แซเตยี ยโสธร
เด็กชายสิรวิชญ สุรางคกุล มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 วิทยาศาสตรจ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัย ยโสธร
เด็กหญงิ ขวญั ชนก ชัยชนากานต มกุ ดาหาร ยะลา
เด็กชายปรวัฒน แซอ ้งึ ยะลา
เด็กหญิงชญานศิ ปรีชาวุฒเิ ดช มัธยมศกึ ษาปที่ 1 หอ งสอนศึกษา ในพระอปุ ถมั ภฯ ยะลา
เดก็ ชายธรี ภัทร ศรีสงั ข มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 หอ งสอนศึกษา ในพระอปุ ถมั ภฯ ระนอง
เด็กชายสุวจิ ักขณ ชลิศราพงศ มัธยมศกึ ษาปที่ 2 หองสอนศึกษา ในพระอปุ ถมั ภฯ ระนอง
อคั รจติ ตานนท มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 หองสอนศึกษา ในพระอุปถมั ภฯ ระนอง
มธั ยมศึกษาปท่ี 1 ยโสธรพิทยาคม
มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ยโสธรพทิ ยาคม
มธั ยมศึกษาปท่ี 1 คณะราษฎรบํารงุ จงั หวดั ยะลา
มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 คณะราษฎรบํารงุ จงั หวดั ยะลา
มัธยมศึกษาปท ่ี 2 คณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวัดยะลา
มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 พิชัยรตั นาคาร
มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 พชิ ัยรตั นาคาร
มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 พชิ ัยรตั นาคาร

รายงานผล

วชิ าคณิตศาสตร์

รายงานผลการประเมินโครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET)
วชิ าคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น ประจาปี พ.ศ. 2562

โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา

ระดบั ชั้น จานวนนักเรยี น คะแนนเฉล่ยี ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั ความยาก (%)
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
มัธยมฯ 1 57 43 100 36.2 22.7 30.4 26.5 16.3 23.6 I II III
มัธยมฯ 2 31 27 58 34.5 25.4 30.3 27.8 18.8 24.5 32.6 13.2 15.0
มัธยมฯ 3 2 12 14 15.0 17.1 16.8 5.0 12.8 12.0 30.3 20.2 10.0
รวมทุกช้ัน 90 82 172 28.6 21.7 25.8 19.8 16.0 20.0 13.6 8.6 11.4
25.5 14.0 12.1

ระดบั ช้ัน A ทักษะการเรียนรู้ (%) F สาระการเรยี นรู้ (%)
BCDE NGS

มัธยมฯ 1 19.0 21.2 21.0 15.2 22.3 23.5 23.4 16.9 16.0

มัธยมฯ 2 12.9 23.8 7.6 25.9 30.0 14.2 22.6 18.2 6.0

มัธยมฯ 3 14.3 15.7 16.1 5.1 11.9 9.8 12.8 10.0 7.1
รวมทุกชั้น 15.4 20.2 14.9 15.4 21.4 15.8 19.6 15.0 9.7

I : ระดับ 1 (พ้ืนฐาน) II : ระดับ 2 (กลาง) III : ระดับ 3 (ประยุกต)์ A : การวเิ คราะห์และใช้ข้อมูล B : การให้เหตุผล C : การจาลองปญั หา

D : ความเข้าใจและการนึกภาพเชิงปรภิ มู ิ E : การแก้ปัญหาอย่างมีแบบแผน F : ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการเช่ือมโยงความรู้
N : จานวนและพชี คณิต G : การวดั และเรขาคณิต S : สถิตแิ ละความน่าจะเปน็

อนั ดับคะแนนระดบั ภมู ิภาค อยู่ในกลุ่มที่ 4 q
(ภาคใต้) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

อนั ดับคะแนนระดับประเทศ อยู่ในกลุ่มท่ี 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

p

จัดอนั ดบั เป็นกลมุ่ คะแนนโดยใช้คะแนนเฉลี่ยรวมทุกระดบั ช้ัน แยกเปน็ 10 กลมุ่ เรยี งตามคะแนนเฉลี่ยรวมมากสุดไปหาน้อยสุด

เปรียบเทียบคะแนนเฉลย่ี ผลการประเมนิ โครงการ TEDET ครั้งที่ 1 ถึง ครั้งท่ี 6

คะแนน TEDET คร้ังที่ 1 TEDET คร้งั ท่ี 2 TEDET คร้ังที่ 3 TEDET ครง้ั ที่ 4 TEDET ครงั้ ที่ 5 TEDET คร้ังท่ี 6
มัธยมฯ 1 มธั ยมฯ 2 มธั ยมฯ 3 รวมทกุ ชนั้
150
140
130
120
110
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10

0

เปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียผลการประเมินโครงการ TEDET ครั้งที่ 1 ถึง คร้ังที่ 6 จาแนกตามเพศ

คะแนน มธั ยมฯ 1
150
TEDET ครั้งที่ 1
120 TEDET ครัง้ ท่ี 2

90 TEDET ครั้งท่ี 3

60 TEDET ครง้ั ท่ี 4

30 TEDET ครั้งที่ 5
0 TEDET ครั้งท่ี 6

ชาย หญิง รวม

คะแนน มัธยมฯ 2
150
TEDET ครงั้ ท่ี 1
120 TEDET ครง้ั ท่ี 2

90 TEDET ครง้ั ที่ 3

60 TEDET ครั้งท่ี 4

30 TEDET ครง้ั ท่ี 5
0 TEDET ครั้งที่ 6

ชาย หญงิ รวม

คะแนน มธั ยมฯ 3
150
TEDET คร้ังท่ี 1
120 TEDET ครง้ั ท่ี 2

90 TEDET ครั้งท่ี 3

60 TEDET ครง้ั ที่ 4

30 TEDET ครั้งที่ 5
0 TEDET ครั้งที่ 6

ชาย หญงิ รวม

คะแนน รวมทุกช้ัน

150
TEDET ครัง้ ที่ 1

120 TEDET ครง้ั ท่ี 2
90 TEDET ครง้ั ที่ 3

60 TEDET ครั้งท่ี 4

30 TEDET คร้ังท่ี 5
0 TEDET ครั้งที่ 6

ชาย หญิง รวม

คะแนนเฉลีย่ จาแนกตามขอบเขตมาตรฐาน

I : ระดบั 1 (พื้นฐาน) II : ระดบั 2 (กลาง) III : ระดบั 3 (ประยุกต)์

รอ้ ยละ มัธยมฯ 2 มัธยมฯ 3 I II III
รวมทกุ ช้นั
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

มัธยมฯ 1

รอ้ ยละ I มธั ยมฯ 1 รอ้ ยละ I มธั ยมฯ 2
35 35
30 II 30 II
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0

III III

ร้อยละ I มัธยมฯ 3 รอ้ ยละ I รวมทกุ ชัน้
14 30
12 II 25 II
10 20
8 15
6 10
4 5
2 0
0

III III

คะแนนเฉลี่ยจาแนกตามทักษะการเรียนรู้

A : การวิเคราะหแ์ ละใช้ข้อมูล B : การให้เหตผุ ล C : การจาลองปญั หา D : ความเข้าใจและการนกึ ภาพเชิงปรภิ ูมิ
E : การแก้ปญั หาอย่างมแี บบแผน F : ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการเช่ือมโยงความรู้

ร้อยละ ABCDEF

100 มธั ยมฯ 2 มธั ยมฯ 3 รวมทกุ ชนั้
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

มัธยมฯ 1

ร้อยละ A มัธยมฯ 1 รอ้ ยละ A มัธยมฯ 2
25 30
F 20 B F 25 B
15 20
10 15
5 10
0 5
0

E CE C

D D

ร้อยละ A มัธยมฯ 3 รอ้ ยละ A รวมทุกช้ัน
20 25
F B F 20 B
15 15
C 10 C
10 5
0
5

0

E E

DD

คะแนนเฉลย่ี จาแนกตามสาระการเรียนรู้

N : จานวนและพีชคณิต G : การวัดและเรขาคณิต S : สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น

รอ้ ยละ NGS

100 มัธยมฯ 2 มัธยมฯ 3 รวมทกุ ช้นั
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

มธั ยมฯ 1

ร้อยละ N มัธยมฯ 1 รอ้ ยละ N มัธยมฯ 2
25 25
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0

S GS G

ร้อยละ N มธั ยมฯ 3 ร้อยละ N รวมทกุ ช้นั
14 20
12 G G
10 15
8
6 10
4
2 5
0
0

S S

ตารางแสดงร้อยละของคะแนนสะสม

คะแนน มัธยมฯ 1 มัธยมฯ 2 มัธยมฯ 3

150 จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ
145 นักเรียน สะสม นักเรียน สะสม สะสม
140 สะสม นกั เรียน สะสม สะสม
135 7.1
130 11 1.0 11 7.1
1 1.0 1 7.1
125 1 1.0 1 21.4
120 1 1.0 28.6
115 23 42.9
110 1 1.0 1 1 1.7 57.1
105 1 1.0 1 1.7 14 71.4
1 1.0 1 1.7 26 92.9
100 12 2.0 1 1.7 28 100.0
95 2 2.0 1 2 3.4 2 10
90 3 13
85 2 2.0 2 3.4
80 13 3.0 2 3.4 1 14
3.0 2 3.4
75 3 4.0 1 3 5.2
70 14 5.0 1 4 6.9
65 15
60 5.0 4 6.9
55 5 6.0 1 5 8.6
16 6.0 5 8.6
50 8.0 1 6 10.3
45 6 12.0 1 7 12.1
40 28
35 4 12 19.0 5 12 20.7
30 26.0 12 20.7
7 19 30.0 2 14 24.1
25 7 26 37.0 6 20 34.5
20 4 30 44.0 4 24 41.4
15 7 37
10 7 44 55.0 6 30 51.7
5 69.0 7 37 63.8
11 55 73.0 9 46 79.3
0 14 69 91.0 8 54 93.1
4 73 99.0 2 56 96.6
18 91
8 99 100.0 2 58 100.0

1 100

ผลการประเมนิ นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1

ผลการประเมินแยกตามทักษะการเรียนรู้

การวิเคราะหแ์ ละ จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการใช้ข้อมลู ในเร่ืองเส้นรอบวงของวงกลม การอ่าน
ใชข้ อ้ มลู ข้อมลู การแปลความหมายข้อมูล อัตราส่วน ร้อยละ ดอกเบย้ี ความสามารถในการแก้ปัญหา และตอ้ ง
ศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละใช้ข้อมูลเพ่ือแกป้ ญั หา
ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมกี ลยุทธ์

การใหเ้ หตุผล จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความเข้าใจในการให้เหตผุ ล ในเร่ืองจานวนและตวั เลข เศษส่วน เส้นขนานและเส้นตดั
ขนาดของมุม ความสัมพันธ์ของจานวนและแบบรูป และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนา
ความสามารถในการสรา้ งข้อความคาดการณ์อย่างมรี ะบบ โดยอาศยั การใหเ้ หตผุ ลแบบนิรนัยและอปุ นยั

การจาลองปัญหา จาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการจาลองปัญหา ในเรื่องดอกเบ้ยี สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว เลขยก
กาลังและสมบัตขิ องเลขยกกาลงั และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถใน
การแปลงสถานการณ์ปญั หา โดยใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์ สญั ลักษณ์ รูปภาพ ท่ีเหมาะสม

ความเขา้ ใจและ จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความเข้าใจและการนึกภาพเชิงปรภิ มู ิ ในเรื่องรูปสเี่ หลยี่ มคางหมู พ้ืนท่ีวงกลม รูป
การนกึ ภาพเชงิ เรขาคณิตสามมิติ ลูกบาศก์ ปริมาตรของทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก ความรู้สกึ เชิงปริภูมิ และตอ้ งศกึ ษาเพิ่มเตมิ

ปริภมู ิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการนึกภาพจากข้อมูลท่ีกาหนดให้

การแกป้ ัญหา จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างมีแบบแผน ในเรื่องจานวนเฉพาะ ตวั หารร่วมมาก การ
อยา่ งมีแบบแผน แก้สมการ สมการเชิงเส้น เส้นขนานและเสน้ ตดั พ้ืนท่ีวงกลมและรูปสามเหลยี่ มมมุ ฉาก และตอ้ งศกึ ษา

เพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการวางแผนและมีกลยุทธ์ในการแกป้ ัญหา

ความคิด จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการเชือ่ มโยงความรู้ ในเร่ืองเลขยกกาลัง
สร้างสรรค์และ สมบัตขิ องจานวนจรงิ แบบรปู ของเศษสว่ น ความสามารถในการแก้ปัญหา และตอ้ งศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในสาระ
การเชือ่ มโยง ข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการเปลย่ี นมุมมองและเชือ่ มโยงความรู้ระหว่างเนอ้ื หาตา่ ง ๆ ทาง

ความรู้ คณิตศาสตรแ์ ละศาสตรอ์ ืน่ ๆ

ผลการประเมินจากระดบั ความยากของข้อสอบ

นักเรยี นเปน็ ผมู้ คี วามเข้าใจในหลักการทางคณิตศาสตร์ขน้ั พ้ืนฐานอยบู่ ้างแลว้ มีความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาอย่าง
งา่ ย แตค่ วรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ และทาความเข้าใจเกย่ี วกบั ความคดิ รวบยอดและหลกั การทางคณิตศาสตรต์ า่ ง ๆ ใหช้ ัดเจน
พยายามทาความเข้าใจสูตรและศกึ ษาการนาสตู รนน้ั ไปใช้ในการแก้โจทย์ปญั หา โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การนาไปใช้แกโ้ จทย์
ปญั หาพื้นฐานตามหนงั สอื เรยี น และควรเพ่ิมความกระตอื รือรน้ และความเอาใจใส่เกีย่ วกับคณิตศาสตร์ ในส่วนของการ
แก้โจทย์ปัญหาที่มคี วามยากเทียบเท่าระดบั ตน้ ของการประเมนิ หรอื โจทย์รปู แบบ STEAM และ PISA ใหม้ ากขึ้น จะช่วย
เพ่ิมความสามารถทางคณิตศาสตรใ์ หค้ อ่ ย ๆ สงู ขึ้นอย่างตอ่ เน่อื งได้

ผลการประเมินนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2

ผลการประเมนิ แยกตามทักษะการเรียนรู้

การวิเคราะหแ์ ละ จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการใช้ข้อมูล ในเร่ืองการแยกตวั ประกอบ เลขยกกาลงั
ใช้ขอ้ มูล พ้ืนที่ผวิ ของปรซิ ึม ฮิสโตแกรม การอา่ นข้อมูล การแปลความหมายข้อมลู และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระ
ข้างตน้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละใช้ข้อมูลเพื่อแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมกี ลยุทธ์

การให้เหตุผล จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความเข้าใจในการให้เหตผุ ล ในเร่ืองจานวนเตม็ จานวนตรรกยะและจานวนอตรรกยะ
แบบรปู ของความสัมพันธ์ ตวั ประกอบของพหนุ าม รปู สามเหลย่ี มท่ีเท่ากันทุกประการ และตอ้ งศกึ ษา
เพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการสรา้ งข้อความคาดการณอ์ ย่างมรี ะบบ โดย
อาศยั การให้เหตผุ ลแบบนริ นัยและอุปนยั

การจาลองปัญหา จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการจาลองปญั หา ในเรื่องความยาวดา้ นของรปู สามเหลย่ี ม พื้นที่รปู
สเ่ี หลย่ี มคางหมู ดอกเบย้ี คา่ เฉลยี่ ขนั้ ตอนวิธี และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนา
ความสามารถในการแปลงสถานการณ์ปัญหา โดยใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์ สญั ลักษณ์ รปู ภาพ ท่ี
เหมาะสม

ความเข้าใจและ จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความเข้าใจและการนกึ ภาพเชิงปรภิ มู ิ ในเร่ืองรปู สามเหลย่ี ม การแปลงทางเรขาคณติ ทรง
การนกึ ภาพเชิง สเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกระบอก พื้นที่ผวิ และปรมิ าตร ความรู้สกึ เชิงปรภิ มู ิ และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระ

ปริภมู ิ ข้างตน้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการนึกภาพจากข้อมลู ที่กาหนดให้

การแกป้ ัญหา จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการแกป้ ัญหาอย่างมแี บบแผน ในเร่ืองรากท่ีสอง สมการเชิงเสน้ การ
อย่างมีแบบแผน แยกตวั ประกอบ เลขยกกาลงั พหุนามกาลังสอง สมการกาลังสอง สามารถประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปญั หาได้

และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการวางแผนและมีกลยุทธ์ในการ
แกป้ ัญหา

ความคิด จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการเช่ือมโยงความรู้ ในเร่ืองรากท่ีสอง เลขยก
สร้างสรรค์และ กาลัง การแยกตวั ประกอบ อตั ราสว่ น ความสามารถในการแกป้ ญั หา และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระ
การเช่อื มโยง ข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการเปลย่ี นมมุ มองและเชือ่ มโยงความรู้ระหว่างเนอ้ื หาตา่ ง ๆ ทาง

ความรู้ คณิตศาสตรแ์ ละศาสตรอ์ น่ื ๆ

ผลการประเมนิ จากระดับความยากของข้อสอบ

นกั เรียนเปน็ ผมู้ ีความเข้าใจในหลักการทางคณติ ศาสตร์ขน้ั พื้นฐานอยบู่ า้ งแล้ว มีความสามารถในการแกโ้ จทย์ปญั หาอย่าง
ง่าย แตค่ วรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ และทาความเข้าใจเก่ียวกบั ความคดิ รวบยอด และหลักการทางคณติ ศาสตร์ตา่ ง ๆ ให้ชัดเจน
พยายามทาความเข้าใจสตู รและศกึ ษาการนาสูตรน้ันไปใช้ในการแก้โจทย์ปญั หา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การนาไปใช้แก้โจทย์
ปัญหาพื้นฐานตามหนังสอื เรยี น และควรเพ่ิมความกระตอื รือรน้ และความเอาใจใสเ่ กี่ยวกับคณติ ศาสตร์ในส่วนของการแก้
โจทย์ปัญหาที่มีความยากเทียบเท่าระดบั ตน้ ของการประเมนิ หรอื โจทย์รปู แบบ STEAM และ PISA ใหม้ ากขน้ึ จะช่วย
เพ่ิมความสามารถทางคณิตศาสตรใ์ ห้คอ่ ย ๆ สงู ขึ้นอย่างตอ่ เนอ่ื งได้

ผลการประเมนิ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ผลการประเมนิ แยกตามทักษะการเรียนรู้

การวิเคราะห์และ จาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละการใช้ข้อมลู ในเรื่องการอ่านข้อมูล การแปล
ใช้ขอ้ มลู ความหมายข้อมูล กราฟเส้นตรง ปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีสัมพันธ์กับกราฟ มัธยฐาน และตอ้ ง
ศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละใช้ข้อมลู เพื่อแก้ปญั หา
ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีกลยุทธ์

การให้เหตุผล จาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมความเข้าใจในการให้เหตผุ ล ในเรื่องรูปสามเหลย่ี มคล้าย สมการกาลงั สอง กราฟของ
สมการกาลังสอง กราฟพาราโบลา และตอ้ งศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถใน
การสร้างข้อความคาดการณอ์ ย่างมีระบบ โดยอาศยั การให้เหตผุ ลแบบนิรนยั และอุปนัย

การจาลองปัญหา จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการจาลองปัญหา ในเรื่องสมการกาลังสอง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส มุมบน
เส้นขนาน ปริมาตรกรวย และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการแปลง
สถานการณป์ ญั หา โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ รูปภาพ ท่ีเหมาะสม

ความเขา้ ใจและ จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความเข้าใจและการนึกภาพเชิงปรภิ ูมิ ในเรื่องกราฟเส้นตรง รูปสามเหลยี่ มคลา้ ย รูปคล่ี
การนกึ ภาพเชงิ และรปู คลา้ ย พื้นท่ีผิวของพีระมิด พื้นท่ีผวิ กรวย พื้นท่ีผิวทรงกลม ปริมาตรทรงกลม ความรู้สกึ เชิงปริภมู ิ

ปริภมู ิ และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถในการนึกภาพจากข้อมูลท่ีกาหนดให้

การแกป้ ัญหา จาเปน็ ตอ้ งเพิ่มความสามารถในการแก้ปญั หาอย่างมแี บบแผน ในเรื่องจานวนเตม็ รากท่ีสอง คา่ สมั บูรณ์
อย่างมแี บบแผน สมการกาลงั สอง ปริมาตรทรงกระบอกและทรงกลม และตอ้ งศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมท้ังพัฒนา

ความสามารถในการวางแผนและมีกลยุทธ์ในการแก้ปญั หา

ความคดิ จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในดา้ นความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการเช่ือมโยงความรู้ ในเรื่องสมการเสน้ ตรง
สร้างสรรค์และ พหนุ ามกาลงั สอง สมการกาลงั สอง การเลอื่ นขนาน กราฟพาราโบลา พ้ืนท่ี รปู สามเหลยี่ มคล้าย ปรมิ าตร
การเชือ่ มโยง ของรูปคลา้ ย เซกเตอร์ของวงกลม และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนาความสามารถใน

ความรู้ การเปลย่ี นมมุ มองและเชอื่ มโยงความรู้ระหว่างเนอ้ื หาตา่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์และศาสตรอ์ น่ื ๆ

ผลการประเมนิ จากระดบั ความยากของข้อสอบ

นักเรยี นจาเป็นตอ้ งทบทวน และทาความเข้าใจเน้อื หาพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรท์ ่ีไดเ้ รยี นมากอ่ นหน้าเกีย่ วกับความคดิ รวบ
ยอด และหลกั การทางคณิตศาสตร์ใหช้ ัดเจน ทาความเข้าใจสตู ร และศกึ ษาการนาสตู รนั้นไปใช้ในการแกโ้ จทย์ปญั หา
โดยกอ่ นอน่ื ตอ้ งเพิ่มความสามารถในการคานวณใหแ้ มน่ ยาและรวดเรว็ ให้มงุ่ เนน้ การทาความเข้าใจในความคดิ รวบยอด
ทางคณติ ศาสตร์ และคาดหวังให้นักเรียนฝกึ แก้โจทย์ปญั หาท่ีมีความยากเทียบเท่าระดบั ตน้ ของการประเมนิ ซา้ หลาย ๆ
คร้ังจนเกดิ ความชานาญ เม่อื นกั เรยี นมีความม่นั ใจ และให้ความสนใจในการเรียนคณติ ศาสตรม์ ากขน้ึ หรอื โจทย์รปู แบบ
STEAM และ PISA จะช่วยเพิ่มความสามารถทางคณิตศาสตรใ์ ห้คอ่ ย ๆ สงู ข้ึนอย่างตอ่ เน่ืองได้

รายงานผล

วชิ าวทิ ยาศาสตร์

รายงานผลการประเมินโครงการประเมนิ และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลิศทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (TEDET)
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ประจาปี พ.ศ. 2562

โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา

ระดบั ชั้น จานวนนักเรียน คะแนนเฉลย่ี คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
มัธยมฯ 1 47 69 116 29.5 28.6 29.0 14.2 11.6 12.7
มัธยมฯ 2 29 38 67 29.3 30.7 30.1 13.9 14.2 14.1
มัธยมฯ 3 5 13 18 40.0 35.8 36.9 7.1 14.0 12.6
รวมทุกช้ัน 81 120 201 32.9 31.7 32.0 11.7 13.3 13.1

ระดบั ช้นั ทักษะการเรียนรู้ (%) L เน้ือหา (%) Eu
KU I A ME

มัธยมฯ 1 17.1 26.9 18.8 17.1 13.9 19.2 33.6 15.4

มัธยมฯ 2 18.5 25.6 17.2 22.1 25.2 22.0 15.8 15.8

มัธยมฯ 3 21.3 28.6 29.3 14.8 25.0 20.1 24.4 33.3

รวมทุกชั้น 19.0 27.0 21.8 18.0 21.4 20.4 24.6 21.5

K : ความรู้ แนวความคิดหลกั ทางวิทยาศาสตร์ U : ความเข้าใจ การอธิบาย I : ทักษะการสืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต การสารวจ
การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ การเลอื กใช้เคร่อื งมือ การสรุปผล A : การนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิต
L : สงิ่ มีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต และชีวิตกับสงิ่ แวดลอ้ ม M : สารและสมบัติของสาร E : แรง การเคลอื่ นทแ่ี ละพลังงาน Eu : โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

อนั ดับคะแนนระดับภูมิภาค อยใู่ นกลุ่มท่ี 5 q
(ภาคใต้) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

อันดับคะแนนระดับประเทศ อยู่ในกลุ่มที่ 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

p

จัดอันดบั เป็นกลมุ่ คะแนนโดยใช้คะแนนเฉลยี่ รวมทุกระดบั ชั้น แยกเป็น 10 กลมุ่ เรียงตามคะแนนเฉลย่ี รวมมากสุดไปหาน้อยสุด

คะแนนเฉลย่ี ผลการประเมินโครงการ TEDET คร้ังที่ 1 ถงึ คร้ังท่ี 6

คะแนน TEDET ครง้ั ท่ี 1 TEDET คร้งั ท่ี 2 TEDET คร้งั ท่ี 3 TEDET ครงั้ ท่ี 4 TEDET ครั้งท่ี 5 TEDET คร้งั ท่ี 6

150
140
130
120
110
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10

0

มธั ยมฯ 1 มัธยมฯ 2 มัธยมฯ 3 รวมทุกชน้ั

คะแนนเฉล่ียผลการประเมินโครงการ TEDET คร้ังท่ี 1 ถึง ครง้ั ท่ี 6 จาแนกตามเพศ

คะแนน มัธยมฯ 1

150 TEDET ครัง้ ที่ 1
120 TEDET ครั้งที่ 2
90 TEDET ครงั้ ท่ี 3
60 TEDET ครง้ั ท่ี 4
30 TEDET คร้งั ท่ี 5

0 TEDET ครั้งท่ี 6
ชาย หญงิ รวม

คะแนน มธั ยมฯ 2

150 TEDET ครงั้ ที่ 1
120 TEDET ครัง้ ท่ี 2
90 TEDET ครั้งที่ 3
60 TEDET ครั้งที่ 4
30 TEDET ครั้งที่ 5

0 TEDET คร้ังที่ 6
ชาย หญงิ รวม

คะแนน มัธยมฯ 3

150 TEDET ครง้ั ที่ 1
120 TEDET ครง้ั ที่ 2
90 TEDET ครง้ั ท่ี 3
60 TEDET คร้ังท่ี 4
30 TEDET คร้งั ที่ 5

0 TEDET ครั้งที่ 6
ชาย หญงิ รวม

คะแนน รวมทุกชัน้

150 TEDET ครง้ั ท่ี 1
120 TEDET ครั้งท่ี 2
90 TEDET ครง้ั ที่ 3
60 TEDET ครั้งท่ี 4
30 TEDET ครั้งท่ี 5

0 TEDET ครั้งท่ี 6
ชาย หญงิ รวม

คะแนนเฉลีย่ จาแนกตามทักษะการเรียนรู้

K : ความรู้ แนวความคิดหลักทางวทิ ยาศาสตร์ U : ความเข้าใจ การอธบิ าย I : ทักษะการสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ การทดลอง
การสงั เกต การสารวจ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ การเลอื กใช้เครื่องมือ การสรุปผล

A : การนาความรวู้ ิทยาศาสตรไ์ ปใช้ในชีวติ

รอ้ ยละ K U I A
100

80

60

40

20

0 มธั ยมฯ 2 มธั ยมฯ 3 รวมทกุ ชัน้
มธั ยมฯ 1

ร้อยละ K มธั ยมฯ 1 ร้อยละ K มัธยมฯ 2
30 30
A 25 U A 25 U
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0

I I

รอ้ ยละ K มธั ยมฯ 3 ร้อยละ K รวมทกุ ช้ัน
30 30
A 25 U A 25 U
20 20
15 15
10 10
5 5
0 0

II

คะแนนเฉลย่ี จาแนกตามเนื้อหา

L : สงิ่ มีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต และชีวิตกับสงิ่ แวดลอ้ ม M : สารและสมบัติของสาร E : แรง การเคลอ่ื นที่ และพลังงาน
Eu : โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

รอ้ ยละ L M E Eu
100
มธั ยมฯ 2 มธั ยมฯ 3 รวมทุกชั้น
80

60

40

20

0
มธั ยมฯ 1

รอ้ ยละ L มธั ยมฯ 1 ร้อยละ L มธั ยมฯ 2
40 30
Eu M Eu 25 M
30 20
15
20 10
5
10 0

0

E E

ร้อยละ L มธั ยมฯ 3 ร้อยละ L รวมทกุ ชัน้
40 25
Eu M Eu 20 M
30 15
10
20 5
0
10

0

EE

ตารางแสดงร้อยละของคะแนนสะสม

คะแนน มัธยมฯ 1 มัธยมฯ 2 มัธยมฯ 3

150 จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ
145 นกั เรียน สะสม นกั เรียน สะสม สะสม
140 สะสม นกั เรียน สะสม สะสม
135 5.6
130 11 0.9 11 16.7
1 0.9 23 27.8
125 33.3
120 1 0.9 1 1 1.5 25 38.9
115 1 0.9 1 1.5 16 55.6
110 12 1.7 1 2 3.0 17 77.8
105 2 1.7 1 3 4.5 3 10 88.9
2 1.7 1 4 6.0 4 14 94.4
100 100.0
95 46 5.2 3 7 10.4 2 16 100.0
90 11 17 14.7 5 12 17.9 1 17 100.0
85 11 28 24.1 6 18 26.9 1 18 100.0
80 14 42 36.2 7 25 37.3
17 59 50.9 9 34 50.7 18
75 18
70 19 78 67.2 14 48 71.6
65 19 97 83.6 9 57 85.1 18
60 9 106 91.4 4 61 91.0
55 7 113 97.4 2 63 94.0
3 116 100.0 4 67 100.0
50
45 116 100.0 67 100.0
40
35
30

25
20
15
10
5

0

ผลการประเมินนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

ผลการประเมินแยกตามทักษะการเรียนรู้

K จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความเข้าใจในความรู้ แนวความคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ในเรื่องเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์
(Knowledge) การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศยั เพศของพืช การเปล่ียนสถานะของสาร สมบัติ
ของวัตถุ แสง ความกดอากาศกบั การเกิดลม ภูมิอากาศโลก กระแสลมและกระแสนา้ และตอ้ งศึกษา
เพิ่มเตมิ ในสาระขา้ งต้น รวมทั้งพัฒนาความสามารถเช่ือมโยงสิ่งตา่ ง ๆ กบั วิทยาศาสตร์และแนวคดิ ทาง
วิทยาศาสตร์อย่างไตร่ตรอง

U จาเป็นต้องเพิ่มความเขา้ ใจและการอธิบาย ในเร่ืองการเปลี่ยนสถานะของสาร คล่ืน แสงและสมบัติของ
(Understanding) แสง เสียงและสมบัติของเสยี ง แรงเสียดทาน และต้องศกึ ษาเพ่ิมเติมในสาระข้างต้น รวมท้ังพัฒนา

ความสามารถนาความรู้วิทยาศาสตร์มาสร้างคาอธิบายที่สมเหตุสมผล

I จาเป็นต้องเพ่ิมความสามารถในทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต
(Inquiry Skill การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคดิ วิเคราะห์ การเลอื กใช้

and เคร่ืองมือ การสรุปผล ในเรื่องการหายใจของพืช การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช การศกึ ษาเซลลพ์ ืช
Investigation) สมบัตขิ องสาร องค์ประกอบของสาร การเปลี่ยนสถานะของสาร ความร้อนจาเพาะ ช้ันบรรยากาศของ

โลก ภูมิอากาศ และต้องศึกษาเพ่ิมเติมในสาระขา้ งต้น

A จาเป็นตอ้ งเพิ่มความสามารถในการนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ในเรื่องพลงั งานชีวมวล
(Application) สมบัติของสาร การเปล่ียนสถานะของสาร การดูดความร้อนแฝง และคายความร้อนแฝง การป้องกนั และ

รับมือกับภัยพิบัตติ ามธรรมชาติ ภาวะโลกร้อน และต้องศึกษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างต้น รวมทั้งในเรื่อง
ความรู้วิทยาศาสตร์และการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง

ทักษะการเรียนรู้ K : ความรู้ แนวความคิดหลักทางวทิ ยาศาสตร์ U : ความเข้าใจ การอธบิ าย
I : ทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต การสารวจ
การสารวจตรวจสอบ การสืบคน้ การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์
การเลือกใช้เครื่องมือ การสรุปผล
A : การนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิต

ผลการประเมินนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

ผลการประเมินแยกตามทักษะการเรียนรู้

K จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความเข้าใจในความรู้ แนวความคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ ในเร่ืองการทางานของระบบ
(Knowledge) ต่าง ๆ ภายในร่างกาย ไดแ้ ก่ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขับถ่ายของเสยี
เป็นตน้ สิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิต ฮอร์โมนในร่างกายของมนุษย์ อปุ กรณไ์ ฟฟ้า การศึกษาโครงสร้างของ
โลก องค์ประกอบของโลก ชนิดและลกั ษณะของหิน และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระข้างตน้ รวมทั้งพัฒนา
ความสามารถเช่ือมโยงสิ่งต่าง ๆ กับวิทยาศาสตร์และแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์อยา่ งไตร่ตรอง

U จาเป็นตอ้ งเพิ่มความเข้าใจและการอธิบาย ในเร่ืองสารเสพติด เซลล์ประสาทรับความรู้สกึ การกล่ัน
(Understanding) นา้ มันดบิ งาน เลนส์และสมบัตขิ องเลนส์ องค์ประกอบของโลก ธรณภี าค อุทกภาค บรรยากาศภาค ชีว

ภาค และต้องศกึ ษาเพิ่มเติมในสาระข้างต้น รวมทั้งพัฒนาความสามารถนาความรู้วิทยาศาสตร์มาสร้าง
คาอธิบายที่สมเหตสุ มผล

I จาเป็นตอ้ งเพิ่มความสามารถในทักษะการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสงั เกต
(Inquiry Skill การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ การเลือกใช้

and เครื่องมือ การสรุปผล ในเรื่องสารอาหาร ฮอร์โมนในร่างกายของมนุษย์ ความหนาแน่นของสาร การ
Investigation) เคลื่อนท่ีของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร แรงพยงุ แรงเสียดทาน แสงและคล่ืนแสง การเปล่ียนแปลง

ของโลก แร่ชนิดตา่ ง ๆ และตอ้ งศึกษาเพิ่มเตมิ ในสาระข้างต้น

A จาเป็นตอ้ งเพิ่มความสามารถในการนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ในเร่ืองธรรมชาติและ
(Application) สิ่งแวดลอ้ ม ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน สารละลายน้าและไม่ละลายน้า การเกิดปฏิกิริยาเคมีกบั การ

เปลี่ยนแปลงของสาร สมบัตขิ องแสง และการสะท้อนของแสง และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระขา้ งตน้
รวมท้ังในเร่ืองความรู้วิทยาศาสตร์และการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง

ทักษะการเรียนรู้ K : ความรู้ แนวความคดิ หลักทางวทิ ยาศาสตร์ U : ความเข้าใจ การอธิบาย
I : ทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต การสารวจ
การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคดิ วิเคราะห์
การเลือกใช้เคร่ืองมือ การสรุปผล
A : การนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิต

ผลการประเมินนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

ผลการประเมินแยกตามทักษะการเรียนรู้

K จาเป็นตอ้ งเพ่ิมความสามารถในการนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ในเร่ืองสารพันธุกรรม
(Knowledge) เซลล์ของสิ่งมีชีวิต ปฏิกริ ิยาฟิชชันและปฏิกิริยาฟิวชัน ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะ ดาวฤกษ์

และต้องศกึ ษาเพิ่มเตมิ ในสาระขา้ งต้น รวมทั้งพัฒนาความสามารถเชื่อมโยงสิ่งตา่ ง ๆ กบั วิทยาศาสตร์
และแนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์อยา่ งไตร่ตรอง

U จาเป็นต้องเพิ่มความเขา้ ใจและการอธิบาย ในเร่ืองชีวิตประจาวัน วัฏจกั รคาร์บอน สารเนื้อเดียวและสาร
(Understanding) ผสม แรงกิริยาและแรงปฏิกริ ิยา พลังงานทดแทน แรงพยุงและแรงโน้มถ่วง โลก และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเตมิ

ในสาระขา้ งตน้ รวมท้ังพัฒนาความสามารถนาความรู้วิทยาศาสตร์มาสร้างคาอธิบายที่สมเหตุสมผล

I จาเป็นต้องเพิ่มความสามารถในทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต
(Inquiry Skill การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคดิ วิเคราะห์ การเลือกใช้

and เครื่องมือ การสรุปผล ในเร่ืองสารพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การสงั เคราะห์ด้วยแสง
Investigation) สมบัติของสาร การละลาย วงจรไฟฟ้า พลงั งานไฟฟ้า การคานวณคา่ ทางไฟฟ้า แรงแม่เหลก็ แรงต้าน

อากาศ แรงและการเคลื่อนท่ี และต้องศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในสาระขา้ งต้น

A จาเป็นตอ้ งเพิ่มความสามารถในการนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ในเร่ืองสมบัติของสาร
(Application) การถ่ายโอนความร้อน อุณหภูมิและจดุ เดอื ด การเปล่ียนแปลงทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

ปริมาณกระแสไฟฟ้า แรงและการเคล่ือนท่ี และตอ้ งศกึ ษาเพ่ิมเติมในสาระข้างตน้ รวมท้ังในเรื่องความรู้
วิทยาศาสตร์และการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง

ทักษะการเรียนรู้ K : ความรู้ แนวความคิดหลักทางวทิ ยาศาสตร์ U : ความเข้าใจ การอธบิ าย
I : ทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ การทดลอง การสังเกต การสารวจ
การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น การแปลความหมายทางวิทยาศาสตร์ การคดิ วิเคราะห์
การเลือกใช้เคร่ืองมือ การสรุปผล
A : การนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิต

12

เกียรติบัตร




Click to View FlipBook Version