เฉลยแบบฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ เลม่ ที่ 3 เรอื่ ง อนุพนั ธ์ของฟงั ก์ชัน 48
3) f (x) x4 2x3 9x2 27 บนชว่ ง [2, 4] 4) f (x) x3 5x 4 บนช่วง [3, 1]
วธิ ที า จาก f (x) x4 2x3 9x2 27 วธิ ีทา จาก f (x) x3 5x 4
จะได้ f (x) 4x3 6x2 18x จะได้ f (x) 3x2 5
เนอื่ งจาก f (x) 3x2 5 0
2x(2x2 3x 9) ทกุ x (3, 1)
ดงั นน้ั f ไมม่ คี า่ วิกฤตในช่วงเปิด (3,1)
2x(2x 3)(x 3) ตอ่ ไปคานวณหา f (3) และ f (1) จะได้
ดงั นนั้ f (x) 0 เม่ือ x 3 ,0 หรือ x 3 f (3) 46
2 f (1) 10
จะไดว้ ่าค่าวิกฤตของฟงั กช์ ัน f ในช่วงเปดิ สรปุ ไดว้ า่ f มคี า่ สูงสุดสัมบรู ณ์ที่ x 1
และค่าสงู สดุ สมั บรู ณ์ คือ f (1) 10
(2, 4) คือ 2 และ 2 และ f มคี า่ ตา่ สดุ สมั บรู ณท์ ่ี x 3
และคา่ ตา่ สุดสัมบรู ณค์ อื f (3)46
3
ตอ่ ไปคานวณหา f (2), f 3 , f (0),
2
f (3) และ f (4) จะได้
f (2) 23, f 3 297
2 16
f (0) 27, f (3) 27,
f (4) 1
สรปุ ไดว้ า่ f มีคา่ สงู สุดสมั บูรณ์ท่ี x 0
และคา่ สูงสุดสัมบูรณ์ คือ f (0) 27
และ f มคี า่ ตา่ สดุ สัมบรู ณ์ท่ี x 3
และค่าตา่ สดุ สมั บูรณค์ ือ f (3)27
7.3 โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับค่าสงู สดุ หรือคา่ ต่าสุด
ในชวี ิตจรงิ หรอื ในทางธรุ กิจ มักจะพบปัญหาท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการหาค่าสูงสุดและค่าต่าสุดเสมอเช่น ต้องการ
ให้รายรับหรือผลตอบแทนสูงสุด โดยที่รายจ่ายหรือต้นทุนต่าสุด ในการแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับค่าสูงสุดหรือค่า
ต่าสุดจะต้องสร้างสมการที่แสดงความสัมพันธ์ของปริมาณที่เก่ียวข้องกัน แล้วเขียนให้อยู่ในรูปของฟังก์ชันท่ีมีตัว
แปรต้นและตัวแปรตาม จากน้ันจึงพิจารณาเง่ือนไขของโจทย์ว่าฟังก์ชันนั้นมีโดเมนเป็นเซตใด และต้องการหา
คา่ สูงสดุ หรอื คา่ ตา่ สดุ บนโดเมนท่กี าหนด
ขน้ั ตอนในการแก้โจทย์ประยุกตเ์ ก่ยี วกับการหาคา่ สงู สุดหรอื คา่ ต่าสุด
1. ทาความเข้าใจปญั หาอย่างละเอยี ด พจิ ารณาโจทยป์ ญั หาวา่ ต้องการใหห้ าค่าสงู สุดหรือค่าต่าสุด ให้
กาหนดสิ่งนน้ั เปน็ ตัวแปร เชน่ y หรือตัวแปรอ่ืน ตามความเหมาะสม
2. พิจารณาค่า y ข้ึนอยู่กับค่าอะไร สมมติให้ x เป็นตัวแปรสาหรับค่าเหล่านี้ โดยที่ค่าของ y จะ
ข้ึนอยกู่ ับค่าของ x
3. เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร y กับตัวแปร x โดยเขียนค่า y ในรูปของ x
จะได้ y f (x)
4. หาค่า y f (x)
5. ให้ f (x) 0 แล้วแก้สมการหาคา่ x
6. นาคา่ วกิ ฤตในข้อ 5 มาทาการตรวจสอบวา่ ทาให้ y มคี า่ สงู สุดหรือตา่ สุดหรอื ไม่
7. นาคา่ y ท่ีไดจ้ ากข้อ 6 ไปแทนคา่ เพอื่ หาค่า y ซ่ึงเปน็ ค่าสูงสุดหรือต่าสดุ ตามต้องการ
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เลม่ ท่ี 3 เรอ่ื ง อนุพันธข์ องฟงั ก์ชัน 49
ตวั อยา่ งท่ี 1 ณเดชน์ต้องการทากล่องจากกระดาษแข็งรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสที่แต่ละด้านยาว 10 เซนติเมตร โดย
วิธที า
กระดาษเป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสท่ีแต่ละด้านยาว x เซนติเมตร ออกจากมุมท้ังส่ี แล้วพับด้าน
ข้างข้ึนเพ่ือทาเป็นกล่องไม่มีฝาปิด จงหาว่ากล่องจะมีความจุมากท่ีสุด เม่ือ x เป็นเท่าใด และ
กลอ่ งจะมคี วามจุมากทสี่ ุดเท่าใด
ให้ V (x) แทนความจุของกล่อง เม่ือ x เป็นความยาวของด้านของรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัสท่ีถูกตัด
ออก ดังรปู จะได้ x(0,5) x 10 – 2x
ดังนั้น V (x) = (10 2x)2 x
= 4x3 40x2 100x
จะได้ V (x) =12x2 80x 100
ถ้า V(x) 0 จะได้
3x2 20x 25 0
(3x 5)(x 5) 0
นนั่ คอื x = 5 หรือ x =5
3
แต่ x(0,5) จะไดว้ า่ คา่ วกิ ฤตของฟงั ก์ชันในช่วงเปดิ (0,5) คอื 5
3
ตอ่ ไปหาอนุพันธอ์ นั ดบั ที่ 2 ของฟงั ก์ชนั V จะได้ V(x) = 24x 80
เนอ่ื งจาก V 5 40 ซง่ึ 40 0
3
ดังน้นั V มีค่าสงู สดุ สมั พัทธ์ที่ x = 5 เพยี งคา่ เดียวบนช่วง (0,5)
3
สรุปไดว้ ่า V มคี ่าสูงสดุ สัมบูรณ์ที่ x = 5 บนช่วง (0,5) และค่าสงู สุดสมั บูรณค์ ือ
3
V 5 2000
3 27
ดังน้นั กล่องจะมีความจุมากที่สุด เมื่อ x = 5 เซนตเิ มตร
3
ตัวอย่างท่ี 2 และกล่องจะมีความจุมากทีส่ ุด 2000 ลกู บาศก์เซนติเมตร
วธิ ีทา
27
ชายคนหน่ึงมีลวดหนามยาว 1,000 เมตร เขาต้องการนาลวดหนามนี้มากั้นเป็นรูปสี่เหล่ียมมุม
ฉากสาหรับเป็นคอกวัว โดยท่ีพ้ืนท่ีด้านหน่ึงอยู่ติดริมร้ัวบ้านจึงไม่ต้องขึงลวดหนาม จงหาขนาด
ของรูปสีเ่ หล่ยี มดงั กลา่ วที่ทาให้พ้นื ทีค่ อกวัวมากท่สี ดุ และจะไดพ้ น้ื ทีท่ ีม่ ากทีส่ ุดเปน็ เทา่ ใด
ให้ x แทนความกวา้ งของรูปสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก
รวั้ บ้าน
xx
1000 – 2x
ดงั นั้น ความยาวของรปู สเ่ี หลยี่ มมุมฉาก คอื 1,000 2x เมตร
และ พ้นื ที่ของรูปสี่เหลีย่ มมุมฉาก คอื x(1,000 2x) ตารางเมตร
เนือ่ งจากความกวา้ งและความยาวของรูปส่ีเหล่ยี มมมุ ฉากเป็นจานวนจริงบวก
ครูครรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
เฉลยแบบฝกึ ทักษะคณติ ศาสตร์ เล่มที่ 3 เร่อื ง อนุพนั ธ์ของฟงั ก์ชัน 50
น่นั คือ x (0,500)
ให้ A(x) แทนฟงั กช์ นั แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งพื้นท่ีและความกว้างของรปู สี่เหลยี่ มมมุ ฉาก
จะได้วา่
A(x) = x(1,000 2x) เมื่อ x (0,500)
=1, 000x 2x2
ดังนน้ั A(x) =1,000 4x
ถา้ A(x) 0 แล้วจะได้ 1,000 4x 0 หรือ x 250
ดงั นั้น ค่าวกิ ฤตของฟงั กช์ นั ในช่วงเปิด (0,500) คือ 250
ตอ่ ไปหาอนพุ นั ธ์อนั ดบั ที่ 2 ของฟงั ก์ชัน A จะได้ A(x) = 4
เนื่องจาก A(250) 4 ซง่ึ 4 0
ดังนน้ั A มีค่าสงู สุดสัมพทั ธท์ ่ี x = 250 เพยี งคา่ เดยี วบนช่วง (0,500)
สรปุ ไดว้ ่า A มคี ่าสงู สดุ สัมบูรณ์ท่ี x = 250 บนชว่ ง (0,500)
และค่าสูงสดุ สัมบรู ณ์คือ A(250) 125,000
ดังนน้ั ต้องก้นั พื้นทเี่ ป็นรปู สเ่ี หล่ยี มมุมฉากท่ีมีความกว้าง x 250 เมตร และความยาว 500
เมตร จึงจะทาใหไ้ ด้พ้ืนท่ีมากทสี่ ดุ และพ้ืนท่ที ีม่ ากทสี่ ดุ เปน็ 125,000 ตารางเมตร
ตวั อยา่ งที่ 3 จงหาจานวนจริงสองจานวน ซึ่งมผี ลคณู เป็น 9 และผลบวกของกาลงั สองของแต่ละจานวนมีค่า
วธิ ีทา นอ้ ยท่สี ุด
ให้ x และ y เป็นจานวนจรงิ สองจานวนที่คูณกันได้ 9 โดยท่ี x 0 และ y 0
ดงั น้ัน y 9
x
ให้ f (x) x2 y2 จะได้ f (x) x2 9 2 x2 81 เมือ่ x (0,)
x x2
ดังนน้ั f (x) = 2x 162 2(x4 81)
x3 x3
ถ้า f (x) 0 แล้วจะได้ 2(x4 81) 0
x3
น่นั คือ x = 3 หรือ x = 3
แต่ x(0,) จะไดว้ า่ คา่ วกิ ฤตของฟงั ก์ชนั ในช่วงเปิด (0,) คอื 3
เนอ่ื งจาก f (x) 0 เมอ่ื 0 x 3 และ f (x) 0 เม่อื x 3
จะได้ f เปน็ ฟงั กช์ ันลดบนชว่ ง (0,3) และ f เป็นฟังกช์ นั เพม่ิ บนช่วง (3,)
ดังนน้ั f มีค่าตา่ สดุ สัมพัทธท์ ี่ x =3 เพยี งคา่ เดียวบนชว่ ง (0,)
สรุปได้วา่ f มคี า่ ตา่ สุดสมั บรู ณ์ท่ี x =3
จะไดว้ า่ จานวนจริงสองจานวน ซ่ึงมีผลคณู เปน็ 9 และผลบวกของกาลงั สองของแตล่ ะจานวนมี
ค่าน้อยทส่ี ุด คอื x = 3 และ y 9 = 3
x
ครูครรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
เฉลยแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เลม่ ท่ี 3 เร่ือง อนุพันธ์ของฟงั ก์ชนั 51
ตัวอย่างที่ 4 โรงแรมแห่งหนึง่ มีห้องพกั 40 ห้อง เจ้าของโรงแรมพบว่าในช่วงเวลาปกติถ้าเขาคิดค่าห้อง 500
วิธที า บาทต่อวนั จะมผี เู้ ขา้ พกั เต็มทุกห้อง แต่ถ้าเขาขึ้นราคาค่าห้องต่อวัน พบว่าทุก 50 บาทท่ีเพิ่มขึ้น
จะมหี อ้ งว่างเพ่ิมขึ้น 2 ห้อง จงหาว่าเจ้าของโรงแรมควรตั้งราคาค่าห้องวันละเท่าใด จึงจะทาให้
มรี ายได้มากท่ีสุด โดยโรงแรมจะมผี เู้ ข้าพักทั้งหมดกี่ห้อง และเจ้าของโรงแรมจะมีรายได้มากท่ีสุด
เทา่ ใด
ให้ f (x) แทนรายได้ต่อวันของเจ้าของโรงแรม เม่ือ x แทนจานวนครั้งท่ีเจ้าของโรงแรมข้ึน
ราคาค่าห้องครั้งละ 50 บาท
เนอื่ งจากโรงแรมแหง่ นมี้ หี อ้ งพัก 40 ห้อง และในแต่ละคร้ังที่เจ้าของโรงแรมข้ึนราคาค่าห้อง จะ
มหี ้องว่างเพิ่มข้ึน 2 หอ้ ง ดังน้ัน x[0,20] และจะได้
f (x) = (500 50x)(40 2x)
= 20,000 1,000x 100x2
ดังนนั้ f (x) =1,000 200x
ถ้า f (x) 0 แลว้ จะได้ 1,000 200x 0
น่นั คอื x = 5
จะไดว้ ่า คา่ วกิ ฤตของฟังกช์ นั ในชว่ งเปดิ (0,20) คือ 5
ตอ่ ไปคานวณหา f (0), f (5) และ f (20) จะได้
f (0) 20, 000
f (5) 22,500
f (20) 0
สรุปได้ว่า f มีคา่ สูงสดุ สมั บรู ณ์ท่ี x =5 และค่าสงู สดุ สัมบูรณ์คือ f (5) 22,500
ดังนั้น เจ้าของโรงแรมควรตั้งราคาค่าห้องวันละ 500 50(5) 750 บาท จึงจะทาให้รายได้
มากท่สี ดุ โดยโรงแรมจะมีผู้เขา้ พักท้ังหมด 40 2(5) 30 ห้อง และเจ้าของโรงแรมจะมีรายได้
มากทีส่ ุด 22,500 บาท
ครคู รรชิต แซโ่ ฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
เฉลยแบบฝกึ ทักษะคณติ ศาสตร์ เลม่ ท่ี 3 เรอื่ ง อนุพันธข์ องฟงั ก์ชัน 52
แบบฝกึ หดั
โจทย์ปญั หาเก่ียวกับคา่ สูงสุด
หรือคา่ ต่าสดุ
1. ตอ้ งการนาลวดหนามยาว 200 เมตร มาลอ้ มทด่ี ินรูปสีเ่ หลยี่ มมมุ ฉากที่มขี นาดเทา่ กัน 3 ดังรปู จงหาว่าจะล้อม
พน้ื ทไ่ี ดม้ ากทสี่ ดุ เท่าใด
วธิ ที า ให้ x แทนความกว้างของรปู สีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก และ y แทนความยาวของรูปสเี่ หลยี่ มมมุ ฉาก
จากโจทยจ์ ะได้ 6x 4y 200 นน่ั คือ y 50 3 x
2
เน่อื งจากความยาวและความกวา้ งของรปู สีเ่ หล่ียมมุมฉากเปน็ จานวนจรงิ บวก ฉะน้นั x 0, 100
3
ให้ A(x) แทนพน้ื ทข่ี องทดี่ ินที่ล้อมดว้ ยลวดหนาม
จะไดว้ า่ A(x) 3xy 3x 50 3 x 150x 9 x2 เมือ่ x 0, 100
2 2 3
ดงั นน้ั A(x) 150 9x และ A(x) 9
ถา้ A(x) 0 แลว้ จะได้ 150 9x 0 หรอื x 50
3
ดงั นั้น คา่ วกิ ฤตของฟังก์ชนั ในช่วงเปดิ 0, 100 คือ 50 เนอ่ื งจาก A 50 9 ซง่ึ 9 0
3 3 3
ดังน้นั A มีค่าสูงสดุ สัมพทั ธท์ ่ี x 50 เพียงค่าเดยี วบนชว่ ง 0, 100
3 3
สรุปได้ว่า A มีค่าสงู สดุ สัมบรู ณ์ท่ี x 50 บนชว่ ง 0, 100
3 3
และค่าสูงสุดสมั บรู ณค์ อื A 50 1, 250 ดงั น้ัน จะล้อมพนื้ ท่ีได้มากท่สี ดุ 1, 250 ตารางเมตร
3
2. จงหาจานวนจริงทเ่ี ม่อื นาจานวนดงั กล่าวมาลบด้วยกาลังสองของจานวนจริงน้ัน แลว้ ได้ผลลบมีค่ามากทส่ี ุด
วิธีทา ให้ f (x) แทนผลของการลบจานวนจริง x ดว้ ยกาลังสองของ x
จากโจทย์จะได้ f (x) x x2 เม่ือ x (,) ดังนั้น f (x) 1 2x
ถา้ f (x) 0 แลว้ จะได้ 1 2x 0 หรือ x 1 ดังนัน้ คา่ วกิ ฤตของฟังกช์ ัน คอื 1
22
ต่อไปหาอนพุ นั ธอ์ นั ดับท่ี 2 ของฟงั กช์ นั f จะได้ f (x) 2
เนอื่ งจาก f 1 2 ซึง่ 2 0
2
ดังนัน้ f มคี ่าสงู สดุ สมั พทั ธท์ ่ี x 1 เพียงคา่ เดยี วบนชว่ ง (,) สรปุ ไดว้ า่ f มคี ่าสูงสุดสมั บูรณ์ท่ี x 1
22
ดงั นั้น จานวนจริงท่เี มื่อนาจานวนดังกลา่ วมาลบด้วยกาลงั สองของจานวนจรงิ น้นั แล้วได้ผลลบมีค่ามากท่ีสดุ
คอื 1
2
ครคู รรชิต แซ่โฮ่ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา
เฉลยแบบฝึกทักษะคณติ ศาสตร์ เลม่ ที่ 3 เรอ่ื ง อนุพันธ์ของฟงั ก์ชัน 53
3. จงหาจานวนจรงิ สองจานวนซง่ึ มผี ลบวกเปน็ 10 และผลคูณของสองจานวนนี้มคี ่ามากท่ีสุด
วธิ ีทา ให้ x แทนจานวนจรงิ จานวนหนึง่ จะได้ จานวนอีกจานวนหนึง่ มคี ่าเป็น 10 x
ให้ f (x) แทนผลคูณของสองจานวนดงั กล่าว
จากโจทย์จะได้ f (x) x(10 x) 10x x2 เมอ่ื x (,)
ดงั นั้น f (x) 10 2x
ถ้า f (x) 0 แลว้ จะได้ 10 2x 0 หรอื x 5 ดังนั้น ค่าวิกฤตของฟงั ก์ชัน คือ 5
ต่อไปหาอนุพันธอ์ ันดบั ท่ี 2 ของฟังกช์ ัน f จะได้ f (x) 2
เนอ่ื งจาก f (5) 2 ซง่ึ 2 0
ดงั นนั้ f มคี า่ สงู สุดสมั พัทธท์ ี่ x 5 เพียงค่าเดียวบนช่วง (,)
สรปุ ไดว้ ่า f มคี ่าสงู สุดสัมบูรณท์ ี่ x 5
ดังนน้ั จานวนจรงิ สองจานวนทม่ี ผี ลบวกเปน็ 10 และผลคูณของสองจานวนน้ีมีค่ามากที่สดุ
คอื 5 และ 10 5 5
4. ถา้ ราคาต่อชิน้ และจานวนสนิ ค้าท่ีแมค่ ้าคนหนงึ่ ขายได้ใน 1สัปดาห์ มีความสัมพันธ์ดังสมการ p 100 0.04x
เม่ือ p แทนราคาสินค้าต่อช้ิน (มีหน่วยเป็นบาท) และ x แทนจานวนสินค้าท่ีขายได้ใน 1 (มีหน่วยเป็นชิ้น)
และต้นทนุ ในการผลติ สินคา้ x ชนิ้ เป็น 600 22x บาท จงหาว่าแม่ค้าจะต้องผลิตสินค้าออกขายสัปดาห์ละ
กี่ชน้ิ จึงจะไดก้ าไรมากทส่ี ดุ
วิธีทา จาก p 100 0.04x และเนอื่ งจาก ราคาสินคา้ p เปน็ จานวนจรงิ ที่มากกว่า 0
ดังนน้ั x [0,2500]
ให้ f (x) แทนกาไรทไ่ี ดจ้ ากการผลิตสนิ ค้า x ชิ้น เมือ่ x[0,2500]
และจะได้ f (x) px (600 22x)
(100 0.04x)x (600 22x)
0.04x2 78x 600
ดังนั้น f (x) 0.08x 78
ถ้า f (x) 0 แล้วจะได้ 0.08x 78 0 นั่นคือ x 975
จะได้วา่ คา่ วิกฤตของฟงั กช์ ันในช่วงเปิด (0,2500) คอื 975
ต่อไปคานวณหา f (0), f (975) และ f (2500) จะได้
f (0) 600
f (975) 37, 425
f (2500) 55, 600
สรปุ ได้วา่ f มีค่าสูงสุดสมั บรู ณ์ที่ x 975 และคา่ สงู สดุ สมั บรู ณค์ ือ f (975) 37,425
ดงั นน้ั แม่คา้ จะตอ้ งผลติ สินค้าออกขายสปั ดาหล์ ะ 975 ช้ิน จงึ จะไดก้ าไรมากที่สุด
ครคู รรชติ แซโ่ ฮ่ โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา