The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์-แผนที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 60.12249, 2021-03-21 09:43:13

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์-แผนที่_clone

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์-แผนที่

หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

เร่ือง เคร่ืองมอื ภูมิศาสตร์
จดั ทำโดย

นางสาว กันตฤ์ ทัย หมน่ สุ เลขท่ี 3
นางสาว กลั ยรัตน์ สขุ ประเสริฐ เลขที่ 4
นางสาว กานต์พชิ ชา รสานนท์ เลขที่ 5
นางสาว ชนกนันท์ เฟยธกิ า๋ เลขท่ี 7
นางสาว พิมพ์วภิ า ทาหมด เลขที่ 16
นางสาว วรัญญา สรุ นิ ธรรม เลขท่ี 20

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4/3
เสนอ

คณุ ครู วีณา ศรีสมั พันธ์
โรงเรยี นเวยี งเจดียว์ ทิ ยา
อำเภอลี้ จงั หวดั ลำพนู

ปกี ารศึกษา 2563

คำนำ

แผนการเรียนรู้รายวิชาดาราศาสตรร์ ะดับมธั ยมศึกษาตอนปลายจัดทำขน้ึ โดยมี
วัตถปุ ระสงค์เพือ่ ใช้ในการจัดการเรยี นรสู้ ำหรับนักเรียน กำหนดวตั ถุประสงค์การ
เรยี นรู้ มีทกั ษะ

แผนจดั การเรยี นรเู้ ล่มนปี้ ระกอบด้วยแผนจัดการเรยี นรูแ้ บบรายวิชา แบบบนั ทกึ
ความรู้ คณะผจู้ ัดทำหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชนต์ ่อผู้อ่าน หากมี
ขอ้ ผิดพลาดประการใดขอรบั คำเสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ และพัฒนาตอ่ ไป

คณะผจู้ ดั

นางสาว กันต์ฤทยั หมน่ สุ เลขที่ 3
นางสาว กลั ยรัตน์ สขุ ประเสริฐ เลขที่ 4
นางสาว กานตพ์ ิชชา รสานนท์ เลขที่ 5
นางสาว ชนกนันท์ เฟยธิกา๋ เลขท่ี 7
นางสาว พมิ พว์ ภิ า ทาหมด เลขที่ 16
นางสาว วรัญญา สุรินธรรม เลขที่ 20

สารบญั หนา้
เร่ือง 1-13
แผนท่ี 14-25
เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ

1

แผนที่

แผนท่ี คือ รูปภาพอย่างงา่ ยซ่งึ จำลองบริเวณบรเิ วณหนึง่ และมกี ารแสดง
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ เช่น วตั ถุ หรอื บรเิ วณยอ่ ย ๆ ทอ่ี ยใู่ นบรเิ วณ
น้ัน แผนทม่ี ักเป็นรปู สองมติ ิซงึ่ แสดงระยะห่างระหวา่ งจดุ สองจดุ ในบริเวณใดบริเวณ
หน่ึงไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักเรขาคณิต

ยกตวั อยา่ งเชน่ แผนท่ีทางภมู ิศาสตร์ นอกจากน้เี รายังสามารถวาดแผนท่ีแสดง
คณุ สมบตั ิของบรเิ วณตา่ ง ๆ บนพ้นื โลก เชน่ ความหนาแนน่ ของประชากร ความสงู
ของพนื้ ที่ ดัชนีการพฒั นาของ

2

องค์ประกอบ

องค์ประกอบของแผนท่ี สามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ ส่ิงท่ี
เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ เช่น ภูมปิ ระเทศแบบตา่ ง ๆ ปา่ ไม้ ปรมิ าณนำ้ ฝน และส่งิ ท่ี
มนุษย์สร้างขึน้ เช่น ท่ีตัง้ ของเมือง เสน้ ทางคมนาคม พ้นื ท่ีเพาะปลกู โดยมี
องคป์ ระกอบทีส่ ำคัญ

ชื่อแผนที่ เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นสำหรับให้ผู้ใช้ไดท้ ราบว่าเป็นแผนที่เรอ่ื งอะไร แสดง
รายละเอยี ดอะไรบา้ ง เพอื่ ใหผ้ ้ใู ชใ้ ช้ได้อย่างถกู ตอ้ ง และตรงความตอ้ งการ โดยปกติ
ชอ่ื แผนท่ีจะมคี ำอธิบายเพ่มิ เตมิ แสดงไวด้ ว้ ย เชน่ แผนทปี่ ระเทศไทยแสดงเนื้อที่ป่าไม้
แผนทปี่ ระเทศไทยแสดงการแบง่ ภาคและเขตจังหวดั เป็นตน้

ขอบระวาง แผนท่ที ุกชนดิ จะมีขอบระวาง ซึง่ เป็นขอบเขตของพืน้ ทใี่ นภูมปิ ระเทศท่ี
แสดงบนแผนท่แี ผน่ น้ัน มกั จะแสดงดว้ ยเสน้ ขนานเพอื่ แสดงตำแหน่งละติจดู กบั เส้นเม
รเิ ดยี นเพ่อื แสดง ตำแหนง่ ลองจจิ ูด และจะแสดงตวั เลขเพอ่ื บอกคา่ พกิ ดั ภมู ศิ าสตร์
ของตำแหนง่ ตา่ ง ๆ

ทิศทาง มคี วามสำคัญตอ่ การค้นหาตำแหน่งที่ตัง้ ของส่งิ ตา่ ง ๆ โดยในสมัยโบราณใชว้ ิธี
ดทู ศิ ทางตามการขนึ้ และตกของดวงอาทิตยใ์ นเวลากลางวนั และการดูทศิ ทางของดาว
เหนือในเวลากลางคืน ตอ่ มามกี ารประดิษฐ์เข็มทิศ ซึง่ เปน็ เครอ่ื งมอื ช่วยในการหาทิศ
ขึ้น เนอ่ื งจากเขม็ ของเข็มทิศจะช้ไี ปทางทศิ เหนือตลอดเวลา การใชท้ ศิ ทางในแผนที่
ประกอบกบั เข็มทศิ หรือการสังเกตดวงอาทิตย์และดาวเหนอื จงึ ช่วยใหเ้ ราสามารถ
เดนิ ทางไปยงั สถานท่ี ท่ีเราต้องการได้ ในแผนท่ีจะต้องมีภาพเขม็ ทิศหรือลูกศรชไ้ี ป
ทางทิศเหนือเสมอ ถ้าหากแผนท่ีใดไม่ได้กำหนดภาพเข็มทิศหรอื ลูกศรไว้ กใ็ หเ้ ข้าใจ
วา่ ด้านบนของแผนท่ีคือทศิ เหนือ

สญั ลกั ษณ์ เป็นเครอื่ งหมายทีใ่ ช้แทนส่งิ ต่าง ๆ ในภมู ิประเทศจรงิ เพื่อชว่ ยให้ผู้ใช้
สามารถอา่ นและแปลความหมายจากแผนทีไ่ ด้อยา่ งถกู ต้อง ท้ังนี้ในแผนที่จะต้องมี
คำอธิบายสัญลักษณ์ประกอบไว้ด้วยเสมอ

3

ประเภท

แผนทส่ี ามารถแบ่งออกตามลกั ษณะการแสดงผล เชน่ แผนทีก่ ายภาพ เปน็ แผนที่
แสดงลักษณะทางภมู ิศาสตรเ์ ป็นหลกั แผนทร่ี ัฐกจิ เปน็ แผนท่เี น้นการแสดงเขตการ
ปกครองเปน็ หลัก แผนทเ่ี ศรษฐกจิ แสดงเขตอตุ สาหกรรม การเกษตร การประมง
และทรพั ยากรธรรมชาติ แผนที่ธรณวี ทิ ยา (geologic map) แผนทีแ่ สดงชนั้ หนิ
ตา่ งๆ และลักษณะทางธรณวี ิทยาอน่ื ๆ แผนท่ีเฉพาะเรอื่ ง (thematic map) แสดง
ท่ีต้งั ของส่ิงหนึ่งสง่ิ ใดหรือกลมุ่ ใดเปน็ การเฉพาะ เชน่ แผนที่แสดงสถานท่ที อ่ งเท่ียว
แผนทแี่ สดงที่ตง้ั บรษิ ทั หา้ ง ร้าน เปน็ ตน้ แผนทเี่ ลม่ (atlas) เปน็ การรวบรวมแผนท่ี
ชนิดต่างๆมาไว้ในเล่มเดียวกัน3

4

แผนท่ีเฉพาะเรื่อง

แผนทเ่ี ฉพาะเรอ่ื ง (thematic map) เปน็ แผนท่ีทีแ่ สดงเฉพาะส่งิ ทสี่ นใจใน
บริเวณพื้นท่ีภมู ศิ าสตร์ท่ีสนใจ แผนทน่ี ้ีสามารถแสดงลกั ษณะตา่ งๆ เชน่ การเมือง
วัฒนธรรม เศรษฐกจิ การเกษตร หรอื ลักษณะเฉพาะของเมือง เช่น เขตการปกครอง

หรือความหนาแนน่ ของประชากร

ชื่อแผนที่ เป็นสงิ่ ท่ีมีความจำเปน็ สำหรบั ให้ผู้ใช้ไดท้ ราบวา่ เป็นแผนทเ่ี รอ่ื งอะไร แสดง
รายละเอียดอะไรบา้ ง เพ่อื ใหผ้ ูใ้ ช้ใช้ได้อย่างถกู ต้อง และตรงความต้องการ โดยปกตชิ ือ่ แผนทีจ่ ะ
มคี ำอธิบายเพิ่มเตมิ แสดงไวด้ ้วย เช่น แผนท่ีประเทศไทยแสดงเนอื้ ทป่ี า่ ไม้ แผนท่ีประเทศไทย
แสดงการแบง่ ภาคและเขตจังหวดั เป็นต้น

ขอบระหวา่ ง ขอบของทั้ง 4 ของพ้ืนท่ื และพนื้ ท่ีขอบระหวา่ ง สำหรับแสดงรายละเอยี ด
องค์ประกอบต่างๆของแผนท่ี

5

มาตราสว่ น

มาตราสว่ นคำพดู
ระยะทาง 1 เซนติเมตร บนแผนท่ีเทา่ กบั ระยะทางจรงิ 200 เมตร

มาตราส่วนสัดสว่ น
มาตราสว่ น 1:50,000

มาตราสว่ นเสน้

อัตราสว่ นระยะทางจรงิ กบั ระยะจริงบนแผนที่ มีทง้ั 3 รูปแบบ

6
สญั ญาลกั ษณแ์ ละคำอธิบายสัญญาลักษณ์

สญั ลักษณใ์ นแผนที่ เปน็ เคร่ืองหมายทใี่ ช้แทนสิ่งท่ีปรากฏพื้นท่โี ลกลงในแผนท่ี
สัญลกั ษณ์แบ่งได้ 3 ประเภท

1. สญั ลักษณ์ท่ีเปน็ จดุ point symbolใชท้ ดแทนอาคารสง่ิ ก่อสรา้ งหรอื
พ้ืนท่ีขนาดเลก็ เช่น วัด โรงเรยี น บ้าน ศาลา ท่ีต้ังของเมอื ง

2.สญั ลกั ษณท์ ่เี ปน็ เส้น line symbol ใช้ทดแทนสิง่ ทมี่ คี วามยาว เชน่
ถนน ทางรถไฟ เสน้ ทางการบนิ เส้นทางการเดินเรือ ท่อน้ำมัน แมน่ ำ้

3. สญั ลักษณท์ ี่เป็นพน้ื ท่ี area symbol ใช้ทดแทนพน้ื ทีท่ ีม่ ีบริเวณ
กวา้ งขวาง เชน่ ทุ่งหญา้ ป่าไม้ พน้ื ท่ีไร่ เขตทรี่ าบสูง

7

สีของสญั ญาลักษณ์

8

ทิศทาง

ทศิ เหนอื จรงิ (True North) ใชส้ ญั ลักษณ์คอื ดาวเหนอื คอื แนว
ทศิ เหนอื ภมู ศิ าสตร์ แนวทศิ ทางหรอื เสน้ ตรงทช่ี ไ้ี ปยงั ขวั้ โลก

เหนอื ของโลก
- ทศิ เหนอื กรดิ (Grid North) ใชส้ ญั ลกั ษณ์คอื กรดิ หรอื GN
ไดแ้ ก่ แนวทศิ เหนอื ตามเสน้ กรดิ ทางดง่ิ ของระบบ
เสน้ กรดิ ในแผนท่ี หรอื เรยี กวา่ ทศิ เหนอื แผนท่ี
- ทศิ เหนอื แมเ่ หลก็ (Magnetic North) ใชส้ ญั ลักษณ์คอื ครงึ่
ลกู ศร แนวทป่ี ลายเขม็ ของเข็มทศิ ชไี้ ปในทศิ ทางทเี่ ป็ นขวั้ เหนอื

ของแมเ่ หล็กโลกตลอดเวลา

9

เสน้ โครงแผนที่

เสน้ โครงแผนที่ คอื ระบบการเปลี่ยนตำแหน่งของละติจดู และลองจิจูดบนพืน้ ผิวทรงกลมซ่งึ
ในทน่ี ค้ี ือโลก ใหม้ าอยู่บนแผน่ กระดาษที่มีลกั ษณะเรียบ[1] ดงั นน้ั เส้นโครงแผนท่จี งึ เปน็ ส่งิ ท่ี
สำคัญสำหรับการทำแผนท่ี เส้นโครงแผนที่มอี ยดู่ ้วยกันหลายประเภท ซงึ่ ในแต่ละประเภทมี
ขอ้ จำกัดท่เี กิดจากการบิดเบี้ยว[2]อยู่ในตัว ซง่ึ การบิดเบ้ยี วนี้เกิดมาจากกระบวนการเปล่ียนแปลง
ตำแหนง่ จากทรงกลมให้มาอยบู่ นผิวเรียบ ยกตวั อย่างเชน่ การทำใหเ้ ปลือกส้มท้ังลกู ที่มีลักษณะ
กลมใหเ้ ปน็ แผ่นเรียบเพียงแผน่ เดยี วย่อมมกี ารบดิ เบ้ียวเกดิ ข้ึน

10

ระบบพกิ ัดภูมิศาสตร์

พิกัดภมู ศิ าสตร์ (องั กฤษ: geographic coordinate system) คอื ส่งิ ทบี่ อกให้
เราทราบถึงตำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ บนผวิ โลก โดยยดึ ตามระบบพกิ ดั ทรง
กลม (spherical coordinate system) ชาวบาบโิ ลเนียเปน็ ผคู้ ิดแนวคิดพกิ ัด
ภูมศิ าสตร์ขึ้น ต่อมาโตเลมี นกั ปราชญช์ าวกรีกเป็นผ้ปู รับปรุงแนวคดิ นีอ้ กี ครั้ง โดยใหห้ น่ึง
วงกลมมมี ุม 360 องศา

11

การอ่านแปลความแผนที่

การอ่านและแปลความหมายของแผนทีใ่ ห้เข้าใจ จำเปน็ ตอ้ งร้ขู ้อมลู เบือ้ งต้นที่เป็น
องค์ประกอบของแผนท่ี และทำความเขา้ ใจใหถ้ กู ตอ้ งเสียก่อน เพือ่ ทจ่ี ะแปล
ความหมายและใชป้ ระโยชน์จากแผนทีไ่ ดอ้ ย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะแผนทภี่ ูมิประเทศ
แบบลายเสน้ ซง่ึ เป็นแผนทพี่ นื้ ฐานท่ีใชอ้ ย่แู พร่หลายในโลก ปจั จบุ ันนกั วชิ าการได้คดิ
หาระบบและสญั ญลักษณ์ท่ีเปน็ สากล ในการกำหนดตำแหน่ง เช่น พิกดั ภูมศิ าสตร์
(Geographic Coordinates) เปน็ ระบบอา้ งอิงบนผิวพภิ พ ตำแหน่งของจุดใดๆ
บนพ้ืนผวิ พภิ พสามารถ กำหนดด้วยคา่ ละติจูด (Latitude) หรอื ทเี่ รียกวา่ เส้นขนาน
และเสน้ ลองจิจดู (Longitude) หรอื ทีเ่ รยี กว่า เสน้ เมอรเิ ดียน

แผนทีแ่ สดงลักษณะภมู ปิ ระเทศ นอกจากแสดงใหท้ ราบถงึ ตำแหนง่ ที่ตั้ง ระยะทาง
และทศิ ทาง สง่ิ สำคญั ของแผนท่ชี นดิ นคี้ ือ แสดงความสูงต่ำ และทรวดทรงแบบตา่ งๆ
ของภูมิประเทศ การแสดงลกั ษณะภมู ิประเทศบนแผนที่ มีหลายวิธี เช่น

1. แถบสี ใชแ้ ถบสแี สดงความสงู ตำ่ ของภูมปิ ระเทศทแ่ี ตกต่างกนั เช่น สเี ขยี วแสดง
พน้ื ทรี่ าบ สเี หลืองจนถงึ สสี ม้ แสดงบริเวณที่เป็นท่สี ูง สีน้ำตาลเปน็ บริเวณทเี่ ป็นภูเขา

2. เงา การเขียนเงานั้นตามธรรมดานั้น จะเขยี นในลกั ษณะทม่ี ีแสงสอ่ งมาจากทางดา้ น
หนึ่ง ถ้าเปน็ ทสี่ ูงชนั ลักษณะเงาจะเขม้ ถ้าเป็นทีล่ าดเงาจะบาง วธิ เี ขยี นเงาจะทำให้
จนิ ตนาการถึงความสงู ต่ำไดง้ ่ายขึ้น

3. เส้นลาดเขา เปน็ การเขยี นลายเส้นเพ่ือแสดงความสงู ต่ำของภมู ิประเทศ ลักษณะ
เส้นจะเป็น เสน้ สัน้ ๆ ลากขนานกัน ความหนาและช่วงห่างของเส้นมีความหมายต่อ
การแสดงพื้นที่ คอื ถา้ เสน้ หนาเรียงค่อนขา้ งชดิ แสดงภูมิประเทศที่สูงชนั ถา้ หา่ งกนั
แสดงวา่ เปน็ ที่ลาด

4. แผนที่ภาพนูน แผนทช่ี นิดนถ้ี ้าใช้ประกอบกับแถบสี จะทำให้เหน็ ลักษณะภมู ิ
ประเทศไดช้ ดั เจนยิ่งข้ึน

12

5. เสน้ ชนั้ ความสูง คอื เสน้ สมมุติทล่ี ากไปตามพ้นื ผิวโลกทค่ี วามสงู จากระดับนำ้ ทะเล
ปานกลาง เท่ากัน เสน้ ชัน้ ความสงู แตล่ ะเสน้ จงึ แสดงลักษณะและรปู ต่างของพืน้ ท่ี ณ
ระดับความสูงหน่ึงเทา่ น้นั

13

ประโยชน์ของแผนที่

ใช้ในชวี ิตประจำวนั เชน่ ใชแ้ สดงเสน้ ทางคมนาคมในการเดนิ ทาง เป็นต้น

ใชใ้ นการสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ ว แผนทม่ี ปี ระโยชน์ในการเดนิ ทางไปยังสถานท่ี
ทอ่ งเที่ยว การวางแผนการทอ่ งเท่ียว รวมถงึ การตดั สินใจเลือกสถานทีท่ ่องเที่ยวของ
นกั ท่องเท่ียว ใชใ้ นการรายงานปรากฏการณธ์ รรมชาติ เชน่ แผนท่ีแสดงอณุ หภมู ิ แผน
ท่ีแสดงการเคลอื่ นที่ของพายุ ซง่ึ ทำใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ยขนึ้ เป็นตน้

ใชเ้ ป็นข้อมูลพ้นื ฐานในการวางแผนสร้างระบบสาธารณูปโภค เชน่ วางแผนการตัด
ถนน วางระบบโทรคมนาคม วางสายไฟฟ้า วางทอ่ ประปา การสรา้ งเขอ่ื น เป็นตน้

ใชเ้ ปน็ ข้อมลู พนื้ ฐานในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม เช่น แผนท่แี สดงความ
หนาแน่นของประชากร แผนที่แสดงแหล่งปลกู พืชเศรษฐกจิ ซ่ึงช่วยทำให้ทราบ
ขอ้ มลู พืน้ ฐานเพือ่ นำไปวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตอ่ ไป เป็นต้น

ใชใ้ นกิจการทางทหาร โดยนำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนทางยุทธศาสตร์ เชน่ การ
เลือกตัง้ ที่คา่ ยทหาร การทงิ้ ระเบิดโจมตที างอากาศ เป็นตน้

ใช้ในด้านความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ เชน่ ใช้เปน็ ข้อมลู ในการสำรวจและปักปนั
เขตแดน เปน็ ต้น ใช้ศกึ ษาวิจยั เกย่ี วกับพื้นท่ี เชน่ ศึกษาชนิด คณุ ภาพ และการ
กระจายดิน ธรณวี ิทยา ปา่ ไม้ เปน็ ตน้

14

เทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ

เทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศ หมายถงึ การบูรณาการความร้แู ละเทคโนโลยีทางด้านการรับรจู้ าก
ระยะไกล(Remote Sensing : RS) ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (Geographic
Information System : GIS) และระบบดาวเทยี มนำทางโลก (Global
Navigation Satellite System : GNSS) เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้งานในดา้ นตา่ งๆ ให้
เปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยท่ีวทิ ยาการด้านการรบั รู้จากระยะไกลซง่ึ เป็นเทคโนโลยีท่ี
สำคญั ในการศึกษาองคป์ ระกอบตา่ งๆ บนพน้ื โลกและในชั้นบรรยากาศ เพอื่ ศกึ ษาและติดตาม
การเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตไิ ดโ้ ดยการเลือกใช้ขอ้ มลู จากดาวเทยี มทม่ี ีความ
ละเอียดของภาพและประเภทของดาวเทยี มหลากหลาย ข้ึนอยกู่ บั การประยกุ ต์ใช้ในแต่ละเรื่อง
นอกจากนี้ข้อมลู จากการสำรวจจากระยะไกลเปน็ ข้อมลู ที่ได้มาอยา่ งรวดเร็ว สามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการได้ทนั ทสี ำหรบั ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ สามารถจดั การขอ้ มูลเชงิ
พืน้ ท่ี วิเคราะห์ขอ้ มลู และประยุกต์ใชใ้ นการวางแผนจดั การทรัพยากรธรรมชาตติ า่ งๆ ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ นอกจากนรี้ ะบบดาวเทยี มนำทางโลกสามารถนำมาใชก้ ำหนดตำแหนง่ เชงิ พื้นที่
และติดตามการเคลอ่ื นทขี่ องคนและสง่ิ ของได้อยา่ งรวดเร็วและแมน่ ยำ เทคโนโลยีภมู ิ
สารสนเทศจึงเป็นวิทยาการทสี่ ำคัญทีห่ ลายหนว่ ยงานไดน้ ำมาพฒั นาประเทศในหลากหลาย
ด้าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เกษตร ผงั เมอื ง การจราจรและการขนสง่ ความ
มนั่ คงทางการทหาร ภัยธรรมชาติ และการคา้ เชิงธุรกจิ ผลการวิเคราะห์ด้วยเทคโนโลยภี ูมิ
สารสนเทศสามารถนำมาประกอบการวางแผนการตดั สนิ ใจในเร่ืองตา่ งๆ ได้อย่างถูกตอ้ งและ
รวดเรว็

15

การรับร้จู ากระยะไกล

การรบั รูจ้ ากระยะไกลเป็นเทคโนโลยที ใี่ ชบ้ ันทกึ คณุ ลักษณะของวัตถุต่าง ๆ จากการ
สะท้อนหรือการแผร่ งั สพี ลงั งานแม่เหลก็ ไฟฟา้ ซ่ึงการเกบ็ ขอ้ มลู โดยการรับรจู้ ากระยะไกลมี
องคป์ ระกอบท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้วัดค่าพลังงานแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ีสะท้อนมาจากวตั ถุ
ตา่ ง ๆ เรียกวา่ เคร่ืองวดั จากระยะไกล (remote sensor) หรอื เครือ่ งวดั (sensor) เชน่
กลอ้ งถ่ายรูป เครอ่ื งกราดภาพ (scanner) ยานพาหนะที่ใช้ติดตง้ั เคร่ืองวัด เรยี กว่า ยาน
สำรวจ (platform) เชน่ เคร่อื งบิน ดาวเทียม และผลติ ภณั ฑส์ ารสนเทศทไ่ี ด้จาก
กระบวนการรับรู้จากระยะไกล เชน่ รูปถา่ ยทางอากาศ ภาพถา่ ยจากดาวเทียม

16

1.ภาพถา่ ยทางอากาศ

ภาพถ่ายทางอากาศ หมายถึง ภาพของภมู ปิ ระเทศท่ีไดจ้ ากการถ่ายรูปทางอากาศด้วยวธิ ีนำ
กล้องถ่ายรูปตดิ กับอากาศยานทีบ่ นิ ไปเหนือภมู ิประเทศทจ่ี ะทำการถา่ ยรปู แล้วทำการถา่ ยรปู
ตามตำแหน่งทิศทางและความสูงของการบินที่ได้วางแผนไว้กอ่ นแล้ว หลังจากนน้ั นำฟลิ ม์ ไป
ลา้ งและอัดภาพ ก็จะไดร้ ปู ทม่ี ีรายละเอยี ดภูมปิ ระเทศในบรเิ วณทต่ี อ้ งการถ่ายปรากฏอยู่
ภาพถา่ ยทางอากาศแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื ภาพถา่ ยแนวดงิ่ และภาพถ่ายแนวเอียง

2.ภาพถ่ายดาวเทยี ม

ดาวเทียม คือ วัตถทุ มี่ นุษย์สรา้ งข้ึนเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพอ่ื ใหโ้ คจรรอบ
โลกมอี ปุ กรณ์สำหรบั เกบ็ รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายงั โลก
ดาวเทียมทโ่ี คจรรอบโลกใช้เป็นอปุ กรณ์โทรคมนาคมดว้ ย เช่น ถ่ายทอดคลืน่ วทิ ยแุ ละโทรทศั น์
ขา้ มทวีป หรอื ใชใ้ นการบันทึกทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ ทม่ี นุษย์สรา้ งขึ้นบนแผ่นดินและผนื นำ้

17

ระบบการทำงานของภาพจากดาวเทียม

ระบบการทำงานของการรบั รู้จากระยะไกล การบันทึกขอ้ มูลหรือรปู ภาพด้วยเครือ่ งบนิ
เรยี กว่า รูปถา่ ยทางอากาศ สว่ นดาวเทียมจะเรียกว่า ภาพจากดาวเทียม ซงึ่ มีระบบการ
ทำงาน ดังนี้

1.1) ระบบการทำงานของรูปถา่ ยทางอากาศ การถา่ ยรปู ทางอากาศจะตอ้ งมกี ารวาง
แผนการบินและมาตราส่วนของแผนทล่ี ่วงหน้า เม่อื ถ่ายรปู ทางอากาศแล้วจะมกี ารนำฟลิ ม์ ไป
ลา้ งและอดั เปน็ ภาพ ทัง้ ภาพสหี รือภาพขาว – ดำ ขนาดเท่าฟิล์ม เนอื่ งจากกล้องและฟลิ ม์ มี
คณุ ภาพสงู จงึ สามารถนำไปขยายไดห้ ลายเทา่ โดยไม่สญู เสยี รายละเอียดของขอ้ มูล รูปถา่ ย
ทางอากาศสามารถแปลความหมายสภาพพนื้ ที่ของผิวโลกไดด้ ้วยสายตาเปน็ ส่วน
ใหญ่ นอกจากน้ี การถ่ายรูปท่มี พี ื้นท่ซี ้อนกัน (overlap) สามารถนำมาศกึ ษาแสดงภาพ
สามมติ ไิ ด้ โดยบรเิ วณท่ีเป็นภเู ขาสูงขนึ้ มา บริเวณหบุ เหวจะลึกลงไป เป็นต้น

1.2ระบบการทำงานของภาพจากดาวเทียม การบันทกึ ข้อมูลของดาวเทยี ม แบ่งออกเป็น
2 ประเภท ไดแ้ ก่

(1) การบนั ทกึ ข้อมลู แบบพาสซีฟ (Passive) เปน็ ระบบท่ีบนั ทึกขอ้ มูลจากการสะทอ้ น
คลื่นแสงในเวลากลางวัน และคล่ืนความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ในเวลากลางคืน การบนั ทกึ
ขอ้ มูลดาวเทียมแบบน้สี ่วนใหญจ่ ะอาศยั ชว่ งคลนื่ แสงสายตา คล่ืนแสงอินฟราเรด หรอื คลื่น
แสงทย่ี าวกวา่ เลก็ น้อย ซึ่งไมส่ ามารถทะเลเมฆได้ จงึ บนั ทกึ ขอ้ มลู พนื้ ทใี่ นช่วงทีม่ ีเมฆปกคลุม
ไม่ได้

18

(2) การบนั ทึกข้อมูลแบบแอกทฟี (Active) เปน็ ระบบท่ีดาวเทยี มผลติ พลงั งานเองและสง่
สญั ญาณไปยังพ้ืนโลกแลว้ รับสญั ญาณทีส่ ะท้อนกลบั มายังเคร่อื งรับ การบันทึกขอ้ มูลของ
ดาวเทยี มแบบน้ีไม่ต้องอาศัยพลงั งานจากดวงอาทติ ยเ์ น่อื งจากใช้พลงั งานที่เกิดขนึ้ จากตวั
ดาวเทยี มที่เปน็ ชว่ งคล่ืนยาว เชน่ ชว่ งคลนื่ ไมโครเวฟ ซงึ่ ทะลุเมฆได้ จงึ สามารถส่ง
สญั ญาณคลนื่ ไปยงั พน้ื ผวิ โลกไดต้ ลอดเวลาข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากดาวเทยี มจะมคี ณุ ลกั ษณะแตกตา่ ง
กัน เช่น ขอ้ มูลเปน็ ตัวเลข (ส่วนมากมีค่า 0 – 255) ตอ้ งใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการแปล
ความหมาย ข้อมูลเปน็ ภาพพมิ พ์จะใช้วธิ แี ปลความหมายแบบเดียวกบั รปู ถ่ายทาง
อากาศ นอกจากนก้ี ารวเิ คราะห์ข้อมูลจากดาวเทยี มมีองคป์ ระกอบหลักในการ
วิเคราะห์ 8 ประการ ไดแ้ ก่ ความเข้มของสี สี ขนาด รปู ร่าง เน้ือภาพ รูปแบบ ความ
สูงและเงา ที่ตงั้ และความเกยี่ วพัน

2) ประโยชน์ของการรบั รู้จากระยะไกล การรบั รจู้ ากระยะไกลมีประโยชนใ์ นดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

2.1) การพยากรณอ์ ากาศ กรมอตุ ุนิยมวิทยาใช้ขอ้ มลู จากดาวเทยี มเพื่อพยากรณป์ ริมาณ
และการกระจายของฝนในแต่ละวัน โดยใช้ขอ้ มูลดาวเทยี มทีโ่ คจรรอบโลกดว้ ยความเรว็ เทา่ กบั
การหมนุ ของโลกในแนวตะวันออก-ตะวันตก ทำให้คลา้ ยกับเปน็ ดาวเทยี ม
คงที่ (Geostationary) เช่น ดาวเทียม GMS (Geostationary Meteor
ological Satellite) ส่วนดาวเทียมโนอา (NOAA) ทโ่ี คจรรอบโลกวัน
ละ 2 คร้ัง ในแนวเหนือ – ใต้ ทำใหท้ ราบอัตราความเร็ว ทิศทาง และความรนุ แรงของ
พายุท่จี ะเกิดข้ึนลว่ งหน้าหรือพยากรณค์ วามแห้งแล้งทีจ่ ะเกิดขึ้นได้

2.2) สำรวจการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน เน่อื งจากขอ้ มูลจากดาวเทยี มมีรายละเอยี ด
ภาคพนื้ ดนิ และชว่ งเวลาการบันทึกขอ้ มูลท่แี ตกต่างกัน จงึ ใชป้ ระโยชน์ในการทำแผนที่การใช้
ประโยชนจ์ ากทีด่ นิ และการเปลยี่ นแปลงไดเ้ ป็นอย่างดี เชน่ พนื้ ท่ีป่าไมถ้ กู ตดั ทำลาย แหลง่
นำ้ ท่ีเกดิ ข้นึ ใหม่ หรือชุมชนท่ีสร้างข้ึนใหม่ เปน็ ต้น ในบางกรณขี อ้ มลู ดาวเทียม ใช้จำแนก
ชนิดป่าไม้ พชื เกษตร ทำใหท้ ราบได้ว่าพืน้ ทป่ี ่าไม้เปน็ ปา่ ไม้แน่นทึบ โปร่ง หรือป่าถูก

19

ทำลาย พชื เกษตรกส็ ามารถแยกเปน็ ประเภทและความสมบูรณ์ของพชื ได้ เช่น ข้าว มัน
สำปะหลงั อ้อย สบั ปะรด ยางพารา ปาลม์ นำ้ มนั เป็นตน้ นอกจากนีย้ ังสามารถจำแนก
การเจริญเติบโตไดอ้ ีกดว้ ย

2.3)การสำรวจทรัพยากรดิน ขอ้ มูลจากดาวเทียมและรูปถ่ายทางอากาศเป็นอปุ กรณ์สำคัญ
ในการสำรวจและจำแนกดนิ ทำให้ทราบถงึ ชนิด การแพรก่ ระจาย และความอดุ มสมบรู ณ์
ของดิน จึงใชจ้ ัดลำดับความเหมาะสมของดนิ ได้ เช่น ความเหมาะสมสำหรบั การปลูกพืชแต่
ละชนดิ ความเหมาะสมด้านวศิ วกรรม เปน็ ต้น

2.4) การสำรวจด้านธรณีวิทยา และธรณสี ัณฐานวทิ ยา เนือ่ งจากข้อมลู ดาวเทยี ม
ครอบคลุมพน้ื ที่กวา้ ง มรี ายละเอียดภาคพ้ืนดนิ สูงและยงั มหี ลายชว่ งคลนื่ แสง จึงเป็น
ประโยชน์อย่างมากทใี่ ชใ้ นการสำรวจและทำแผนที่ธรณวี ทิ ยา ธรณีสัณฐานวิทยา แหลง่
แร่ แหลง่ น้ำมันและแกส๊ ธรรมชาติ และแหล่งน้ำใต้ดินไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยการใชล้ ักษณะ
โครงสร้างทางธรณีวิทยาช่วยทำใหก้ ารสำรวจและขดุ เจาะเพือ่ หาทรัพยากรใตด้ ินเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และลดคา่ ใช้จา่ ยการสำรวจในภาคสนามลงไดเ้ ป็นอนั มาก

2.5) การเตือนภัยจากธรรมชาติ ภยั ธรรมชาติท่ีเกดิ ขน้ึ บอ่ ย ไดแ้ ก่ อทุ กภัยแผ่นดนิ
ถลม่ ภยั แล้งวาตภยั ไฟปา่ ภยั ทางทะเล ภยั ธรรมชาติตา่ งๆ เหล่านี้ เมอ่ื นำเอาขอ้ มลู จาก
ดาวเทยี มรว่ มกบั ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ และระบบกำหนดตำแหนง่ บนพ้ืนโลกจะเป็น
ประโยชนใ์ นการเตอื นภยั ก่อนทจี่ ะเกดิ ภัย ขณะเกิดภยั และหลงั เกดิ ภัยธรรมชาตนิ อกจากที่
กล่าวมาขา้ งต้นแลว้ ประโยชน์ของการรับรู้จากระยะไกล ยังใช้ในการสำรวจดา้ น
อนื่ ๆ อีก เช่น ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ด้านการจราจร ด้านการทหาร ดา้ นสาธารณสขุ เปน็ ตน้

20

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพืน้ โลก

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System) หรอื จีพีเอส
(GPS) หมายถงึ เทคโนโลยที ีใ่ ชก้ ำหนดตำแหนง่ บนพน้ื โลก โดยอาศัยดาวเทียม สถานี
ภาคพนื้ ดนิ และเครือ่ งรบั จีพีเอส โดยเครอื่ งรับจพี ีเอสจะรับสญั ญาณมาคำนวณหาระยะ
เสมอื นจริงแต่ละระยะ และจะใช้ขอ้ มลู ดงั กลา่ วจากดาวเทียมอย่างนอ้ ย 4 ดวง มา
คำนวณหาตำบลทเี่ คร่อื งรบั พรอ้ มทง้ั แสดงใหผ้ ู้ใช้ทราบบนจอแอลซีดขี องเคร่ืองเป็นคา่ ละตจิ ูด
ลองจจิ ดู และค่าพิกัดยูทีเอ็ม รวมทงั้ คา่ ของระดับความสูงจากระดับทะเลปานกลางด้วย

1) หลักการทำงานของระบบกำหนดตำแหนง่ บนพื้นโลก การทำงานของระบบกำหนตำแหนง่
บนพน้ื โลกตอ้ งอาศัยสัญญาณจากดาวเทยี มกำหนดตำแหนง่ บนพ้ืนโลก ซ่ึงโคจรอยูร่ อบโลก
ประมาณ 24 ดวง แบง่ ออกเปน็ 6 วงโคจร วงโคจรละ 4 ดวง และยงั มีดาวเทียมสำรองไว้
หลายดวง ดาวเทียมแตล่ ะดวงจะอยู่สูงจากผวิ โลกประมาณ 20,200 กโิ ลเมตร และจะโคจร
รอบโลกภายใน 11 ช่ัวโมง 50 นาที และมสี ถานีควบคมุ ภาคพ้ืนดินทำหนา้ ที่คอยตรวจสอบ
การโคจรของดาวเทยี มแตล่ ะดวง โดยการส่ือสารผา่ นคลนื่ วิทยุที่มคี วามเร็วคลน่ื ประมาณ
186,000 ไมล์ต่อวินาที

21

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (อังกฤษ: geographic information system,
GIS) คอื กระบวนการทำงานเกี่ยวกบั ขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ี (spatial data) ดว้ ยระบบ
คอมพวิ เตอร์ โดยการกำหนดขอ้ มูลเชิงบรรยายหรือขอ้ มูลคณุ ลักษณะ (attribute data)
และสารสนเทศ เช่น ท่ีอยู่ บา้ นเลขที่ ท่มี ีความสมั พันธ์กบั ตำแหน่งในเชงิ พื้นท่ี (spatial
data) เชน่ ตำแหน่งบา้ น ถนน แม่นำ้ เปน็ ต้น ในรูปของ ตารางข้อมลู และ ฐานข้อมลู

ระบบ GIS ประกอบไปดว้ ยชดุ ของเครอ่ื งมอื ทีม่ คี วามสามารถในการเกบ็ รวบรวม ปรับปรงุ และ
การสืบค้นขอ้ มลู เพอื่ จัดเตรียม ปรบั แต่ง วเิ คราะห์และการแสดงผลขอ้ มูลเชงิ พืน้ ที่ เพอ่ื ให้
สอดคลอ้ งตามวัตถุประสงค์การใชง้ าน ซึ่งรูปแบบและความสัมพนั ธข์ องขอ้ มูลเชิงพ้นื ที่ทั้งหลาย
จะสามารถนำมาวเิ คราะหด์ ้วย GIS ให้ส่ือความหมายในเรอื่ งการเปล่ียนแปลงทส่ี ัมพนั ธก์ บั
ชว่ งเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนยา้ ยถ่ินฐาน การบุกรกุ ทำลาย

การเปลี่ยนแปลงของการใชพ้ นื้ ที่

22

องคป์ ระกอบหลกั ของระบบ GIS

องคป์ ระกอบของ GIS ( Components of GIS )

องค์ประกอบหลกั ของระบบ GIS จัดแบ่งออกเป็น 5 ส่วนใหญ่ ๆ คือ อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์
(Hardware) โปรแกรม (Software) ขน้ั ตอนการทำงาน (Methods) ข้อมูล
(Data) และบุคลากร (People) โดยมีรายละเอียดของแตล่ ะองคป์ ระกอบดงั ต่อไปนี้

1. อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ คือ เคร่อื งคอมพิวเตอร์รวมไปถงึ อุปกรณต์ ่อพ่วงตา่ ง ๆ เช่น
Digitizer, Scanner, Plotter, Printer หรอื อื่น ๆ เพือ่ ใช้ในการนำเข้าขอ้ มูล
ประมวลผล แสดงผล และผลิตผลลัพธ์ของการทำงาน

2. โปรแกรม คอื ชุดของคำสง่ั สำเร็จรปู เช่น โปรแกรม Arc/Info, MapInfo ฯลฯ ซึ่ง
ประกอบด้วยฟังกช์ ัน่ การทำงานและเครื่องมือที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับนำเข้าและปรับแต่งข้อมลู
, จัดการระบบฐานขอ้ มูล, เรยี กค้น, วเิ คราะห์ และ จำลองภาพ

3. ข้อมลู คอื ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่จะใชใ้ นระบบ GIS และถกู จดั เก็บในรปู แบบของฐานข้อมูลโดย
ได้รับการดแู ล จากระบบจดั การฐานขอ้ มูลหรือ DBMS ขอ้ มูลจะเปน็ องคป์ ระกอบทสี่ ำคญั
รองลงมาจากบุคลากร

4. บคุ ลากร คอื ผปู้ ฏบิ ัตงิ านซึง่ เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เช่น ผู้นำเขา้ ขอ้ มูล
ช่างเทคนิค ผู้ดูแลระบบฐานข้อมลู ผเู้ ชยี่ วชาญสำหรบั วเิ คราะห์ข้อมูล ผู้บรหิ ารซึ่งตอ้ งใช้ข้อมลู
ในการตดั สนิ ใจ บคุ ลากรจะเปน็ องคป์ ระกอบทีส่ ำคัญท่สี ดุ ในระบบ GIS เนอ่ื งจากถ้าขาด
บคุ ลากร ขอ้ มูลที่มอี ยูม่ ากมายมหาศาลนัน้ ก็จะเป็นเพียงขยะไม่มีคณุ ค่าใดเลยเพราะไม่ได้ถูก
นำไปใช้งาน อาจจะกลา่ วได้วา่ ถา้ ขาดบคุ ลากรก็จะไม่มีระบบ GIS

23

5. วิธีการหรือข้นั ตอนการทำงาน คอื วิธีการท่ีองค์กรน้ัน ๆ นำเอาระบบ GIS ไปใชง้ านโดยแต่
ละ ระบบแต่ละองค์กรย่อมีความแตกต่างกนั ออกไป ฉะนน้ั ผู้ปฏิบตั ิงานต้องเลอื กวิธีการในการ
จดั การกบั ปญั หาทเี่ หมาะสมท่สี ุดสำหรับของหน่วยงานนน้ั ๆ เอง

24

ประโยชน์ของ GIS

บบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร์เปน็ เคร่ืองมือทางภูมิศาสตรท์ ่มี ีประโยชน์อย่างยง่ิ ต่อการจัดเก็บ
ระบบขอ้ มูลซงึ่ มีอยู่มากมายในปจั จบุ นั ไดม้ ีการพัฒนาท้ังดา้ นฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ ทำให้
ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารนำ GIS มาใช้งานกนั อย่างแพร่หลาย ท้งั หน่วยงานของภาครฐั และเอกชน

การใชง้ านระบบสารสนเทศจะมีประโยชนม์ ากในการศึกษาวชิ าภมู ศิ าสตร์ ถ้ารจู้ กั การใชง้ าน
การใชง้ านระบบสารสนเทศภูมศิ าสตรจ์ ะตอ้ งมีเปา้ หมายชดั เจน รู้จักคดั เลือกขอ้ มูลมาวิเคราะห์
การใชง้ านจะต้องวางแผนงานในการกำหนดคุณภาพ มาตราสว่ นของขอ้ มูลและท่ีสำคัญคอื
ความสามารถในการวิเคราะหข์ อ้ มูลนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรงุ ข้อมลู ใหท้ นั สมยั
ตลอดเวลา การบรู ณาการข้อมูลหลายรปู แบบเขา้ ด้วยกัน และสามารถสร้างแบบจำลอง
ทดสอบเปรยี บเทียบข้อมูลกอ่ นที่มีการลงมอื ปฏิบัตจิ ริง การใชร้ ะบบสารสนเทศภูมศิ าสตรท์ ี่
สำคัญได้แก่

1. ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การกำหนดพนื้ ที่ปา่ ไม้ แหล่งนำ้ ทงั้ บนผวิ ดนิ และ
ใตด้ ิน ธรณีวทิ ยาหนิ และแร่ ชายฝงั่ ทะเลและภมู อิ ากาศ

2. ด้านการจัดการทรัพยากรเกษตร เช่น การแบง่ ช้ันคณุ ภาพพ้นื ทเ่ี กษตร ดินเค็มและดิน
ปัญหาอ่ืน ความเหมาะสมของพืชในแต่ละพ้ืนท่ี การจัดระบบนำ้ ชลประทาน การจัดการด้าน
ธาตอุ าหารพชื

3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เชน่ การแพรก่ ระจายของฝนุ่ และก๊าซ การกำหนดจุดเก็บ
ตวั อยา่ งจาก โรงงาน การป้องกนั ความเสียหายของโบราณสถานหรือสถานท่ีทอ่ งเที่ยว การ
ปอ้ งกันไฟไหม้ปา่ เป็นต้น

4. ด้านสงั คม เชน่ ความหนาแน่นของประชากร เพศ อายุ การศึกษา แรงงาน ตำแหนง่ ของ
โรงเรียนและการเดินทางของนกั เรียน เปน็ ต้น

25

5. ด้านเศรษฐกิจ เช่น รายได้ของประชากรของหม่บู ้าน ตำบล สินคา้ หลกั ตำแหน่งท่ตี ้ังของ
โรงงานประเภทต่างๆ เป็นต้น


Click to View FlipBook Version