The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนา ม.3 หน่วยที่ 15

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ladda.ted, 2021-11-09 02:00:02

บทที่ 15วันสำคัญทางพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา ม.3 หน่วยที่ 15

พระพทุ ธศาสนา

ม.๓ ส 23106

หน่วยท่ี ๑๕ วนั สาคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

ครูลดั ดา เทศศรเี มือง
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นสตรรี าชินทู ศิ อดุ รธานี

วนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา

เ ป็ น วั น ที่ มี เ ห ตุ ก า ร ณ์ ส า คั ญ เ กี่ ย ว กั บ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
ถือเป็นวนั สาคัญต่อพทุ ธศาสนิกชนอยา่ งยิ่ง การปฏิบัติตน
ในวนั ดงั กลา่ วจงึ ควรปฏบิ ัตใิ ห้ถูกต้องเหมาะสม

วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วันมาฆบชู า

มาฆบูชา หมายถึง การบชู าในวนั เพ็ญเดือน ๓ หรอื ปใี ดมีเดือน ๘ สองหน

จะเลื่อนไปเปน็ วันเพญ็ เดอื น ๔ ในวันนี้มีเหตุการณส์ าคัญเกดิ ขน้ึ พร้อมกนั ๔ ประการ
จึงเรยี กวา่ วันจาตรุ งคสนั นบิ าต มเี หตกุ ารณส์ าคญั เกดิ ขน้ึ ดังนี้

๑. พระสงฆ์จานวน ๑,๒๕๐ องค์ มาประชมุ พร้อมกันโดยมไิ ดน้ ัดหมาย
๒. พระสงฆท์ งั้ หมดลว้ นเป็นเอหภิ กิ ขอุ ุปสมั ปทา คอื พระพทุ ธเจ้าเป็น
ผ้อู ปุ สมบทให้
๓. พระสงฆท์ ัง้ หมดล้วนเปน็ พระอรหนั ตผ์ ู้ทรงอภญิ ญา
๔. เปน็ วันที่พระจนั ทรเ์ สวยมาฆฤกษ์ คอื เป็นวันเพญ็ กลางเดอื น ๓

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วันมาฆบชู า

เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรม “โอวาทปาติโมกข์” แก่พระภิกษุที่ได้รับ

การบวชแบบเอหิภกิ ขอุ ุปสัมปทา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ รวมทั้งสิ้น ๑,๒๕๐ องค์ ท่ีมาประชุมกันโดย
มไิ ดน้ ัดหมาย ณ พระวหิ ารเวฬวุ ัน

หลักธรรมโอวาทปาตโิ มกข์ เปน็ คาสอนทเ่ี ปน็ หวั ใจของพระพุทธศาสนา ซงึ่ กล่าวรวมไว้
๓ ประการ คอื ละเวน้ ความชวั่ ทงั้ ปวง ทาแตค่ วามดที งั้ ปวง ทาจติ ใจใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิผ่องใส

วนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

วันวิสาขบชู า

วิสาขบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๖ หรือปีใดมีเดือน ๘ สองหน

จะเลอื่ นไปเปน็ วันเพ็ญเดอื น ๗ ในวนั นม้ี เี หตกุ ารณ์สาคัญซึ่งมคี วามเกย่ี วขอ้ งกับพระพทุ ธเจ้าโดยตรง
๓ ประการ คือ เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซ่ึงเหตุการณ์ทั้ง ๓ ประการน้ี
เ วี ย น ม า บ ร ร จ บ ใ น วั น เ ดี ย ว กั น คื อ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ท ร ง ต รั ส รู้ เ ป็ น พ ร ะ อ ร หั น ต -
สัมมาสมั พทุ ธเจา้ หลังจากประสตู ิ ๓๕ ปี และได้ทรงบาเพ็ญพุทธกิจทกุ วัน เป็นเวลา ๔๕ ปี หลังจาก
ประกาศพระศาสนา จนเม่อื พระชนมายุ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน

วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

พุทธกิจที่พระพทุ ธเจา้ ทรงบาเพ็ญตามชว่ งเวลาของทกุ วนั ๕ ประการ คอื

๑. เวลาเช้า เสด็จออกบิณฑบาตเพื่อโปรดสัตว์ เน่ืองจากพิจารณาเห็นแล้วว่ามีบุคคล
ใดบา้ งทคี่ วรเสด็จไปแสดงธรรมเพือ่ ใหล้ ะความเห็นผดิ และสง่ เสรมิ ให้ปฏบิ ัตดิ ปี ฏิบัตชิ อบย่งิ ๆ ขึ้นไป

๒. เวลาบา่ ย ทรงแสดงธรรมแกผ่ ู้ทม่ี าเฝา้ ซง่ึ ในทุก ๆ วนั จะมีผ้มู าเฝ้าพระพทุ ธเจ้า
เพ่อื ฟังพระธรรมเทศนามไิ ดข้ าด ไมว่ า่ พระพทุ ธองค์จะประทบั อยู่ ณ ท่ีแหง่ ใดก็ตาม

๓. เวลาเยน็ จวนค่า เป็นเวลาท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทแก่พระสงฆท์ ่ปี ระจาอยู่
ณ ทแ่ี หง่ น้ัน บางครัง้ อาจมพี ระสงฆจ์ ากทอ่ี ืน่ เดินทางมาสมทบดว้ ยเป็นจานวนมาก

๔. เวลาเทย่ี งคนื ทรงแกป้ ัญหาหรอื ตอบข้อธรรมของเทวดาหรอื กษตั รยิ ์ผเู้ ป็นสมมตเิ ทพ
๕. เวลาเช้ามดื จวนสวา่ ง พระพทุ ธเจา้ จะทรงใชเ้ วลาในชว่ งนี้ในการพิจารณาสตั วโลก
ท้งั หลายทส่ี ามารถเสดจ็ ไปโปรดได้ และจะเสดจ็ ไปโปรดในเวลาทีอ่ อกบิณฑบาต

วนั สาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วันวิสาขบูชาถือเป็นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา และได้รับการประกาศจากองค์การ
สหประชาชาติ ให้เป็นวันสาคัญสากลแห่งโลก ในการประชุมครั้งที่ ๔ ในวันท่ี ๑๕ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจา้ ภาพในการจัดกิจกรรมวันวิสาขบูชาโลก ตั้งแต่
พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นต้นมา เม่ือถึงวันดังกล่าว พุทธศาสนิกชนจะน้อมราลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ และร่วมกันประกอบพิธีกรรมเช่นเดียวกับในวันมาฆบูชา นอกจากน้ียังจัดให้มีการ
บรรพชาอปุ สมบทหมขู่ ้นึ อกี ด้วย

วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วนั อฐั มีบูชา

วันอัฐมีบูชา เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า ซึ่งตรง

กับวันแรม ๘ ค่า เดือน ๖ หากปีใดมีเดือน ๘ สองหน จะเล่ือนไปตามวันวิสาขบูชา คือ ถัดจาก
วันวิสาขบูชา ๗ วัน พุทธศาสนิกชนจะร่วมกันราลึกถึงพระพุทธเจ้า จึงพร้อมใจกันปฏิบัติศาสนกิจ
เพอื่ เป็นพทุ ธบูชา เชน่ บาเพญ็ ประโยชน์ รกั ษาศีล เจรญิ สมาธิภาวนา ถวายภัตตาหาร ให้ทาน

สาหรับประเทศไทยไม่มีหลักฐานแน่ชัดเกี่ยวกับการจัดงานวันอัฐมีบูชาว่าเร่ิมมีต้ังแต่
สมยั ใด สนั นษิ ฐานวา่ น่าจะมีมาตัง้ แต่อดตี แตไ่ ม่เปน็ ท่แี พร่หลายนกั นิยมจัดเฉพาะบางวัด เนื่องจาก
พุทธศาสนิกชนให้ความสาคัญกับวันวิสาขบูชามากกว่า จึงไม่ได้กาหนดให้เป็นวันหยุด
ราชการดงั เชน่ วนั สาคญั อน่ื ๆ

วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

วันอาสาฬหบูชา

อาสาฬหบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๘ ถ้าปีใดมีเดือน ๘

สองหน จะเลอ่ื นไปเปน็ เดอื น ๘ หลงั ในวันนีม้ ีเหตุการณ์สาคญั ทางพระพุทธศาสนา
หลายประการ ดังนี้

๑. เป็นวันที่พระพุทธเจ้าประกาศพระพุทธศาสนาโดยทรงแสดงปฐมเทศนา
ชื่อ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทายวัน มีเนื้อหาสาคัญ เรียกว่า
อรยิ สัจ ๔ คือ ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ และมรรค

วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

๒. เป็นวันท่มี ีพระอริยสาวกองคแ์ รก คือ พระโกณฑัญญะ หลังจากได้ฟังปฐมเทศนาแล้ว
พระโกณฑญั ญะกบ็ รรลโุ สดาปัตติผลเป็นพระโสดาบนั จึงเรียกชื่อทา่ นว่า พระอัญญาโกณฑัญญะ

๓. เป็นวันท่ีมีพระสงฆ์องค์แรก เม่ือพระอัญญาโกณฑัญญะเป็นพระโสดาบันแล้ว ได้ทูล
ขออุปสมบทจากพระพทุ ธเจ้า ซ่งึ พระพุทธเจ้าทรงประทานอุปสมบทโดยวธิ ีเอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา
โดยตรัสวา่ “เธอจงเป็นภิกษมุ าเถิด เพอื่ ทาให้สิน้ ทุกข์โดยชอบ”

๔. เปน็ วันที่มพี ระรตั นตรยั คอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ครบบรบิ รู ณ์

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วนั ธรรมสวนะ

วันธรรมสวนะ หรือท่เี รยี กกันว่า “วนั พระ” หมายถงึ วันสาหรับฟังธรรม หา
ความร้คู วามเข้าใจท่ีถูกต้อง ดว้ ยการศึกษาเลา่ เรยี น สดับตรับฟัง ในเดือนหนง่ึ ๆ จะ
กาหนดให้
มวี นั พระ ๔ วนั คอื วนั ข้นึ ๘ ค่า และ ๑๕ ค่า วนั แรม ๘ ค่า และ ๑๕ ค่า หากเดอื นใด
เปน็ เดือนขาด จะเปน็ ๑๔ ค่า ซึ่งพทุ ธศาสนิกชนมักนิยมเรยี กวันขึ้นหรือแรม ๘ ค่า ว่า
“วนั พระเล็ก” และเรยี กวนั ขน้ึ หรือแรม ๑๕ หรือ ๑๔ คา่ วา่ “วนั พระใหญ่”

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

ในสมัยพุทธกาล วันธรรมสวนะจะเป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์มาประชุมกัน เพื่อ
แสดงธรรม สนทนาและอภิปรายธรรมกัน ต่อมามีพุทธศาสนิกชนเข้าร่วมฟังและสนทนาธรรม
ในวนั ดังกล่าวดว้ ย ซ่งึ พระพทุ ธเจา้ ได้กลา่ วถงึ อานิสงส์แหง่ การฟงั ธรรม ๕ ประการ ดงั นี้

๑. ยอ่ มได้ฟังสิ่งทย่ี ังไมเ่ คยฟงั หรอื ไดเ้ รียนรสู้ ง่ิ ทีย่ ังไม่เคยเรียนรู้
๒. สิ่งที่เคยไดฟ้ ัง ก็ทาให้แจ่มแจ้ง เข้าใจชดั เจนยง่ิ ขึ้น
๓. แก้ขอ้ สงสยั หรือบรรเทาความสงสัยเสียได้
๔. ทาความเหน็ ให้ถูกตอ้ งได้
๕. จิตของผฟู้ งั ยอ่ มผอ่ งใส

วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

วนั เข้าพรรษา

การเข้าพรรษา คือ การท่ีพระภิกษุตั้งใจว่าจะอยู่ประจาท่ีวัดใดวัดหนึ่ง ไม่ไป
ค้างคืนที่ใดในชว่ งฤดูฝนตลอดเวลา ๓ เดอื น ซง่ึ ตรงกับวันแรม ๑ ค่าเดือน ๘ ถึงวันข้ึน ๑๕ คา่

เดือน ๑๑

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

มูลเหตุแห่งการอยู่จาพรรษาของพระภิกษุ ก็เนื่องด้วยในสมัยพุทธกาลยังไม่มี
ธรรมเนียมการอยู่จาพรรษา พระภิกษุยังจาริกไปตามสถานท่ีต่าง ๆ แต่เม่ือถึงฤดูฝน
การจาริกไปมาไม่สะดวก สมัยนั้นยังมีพระภิกษุจานวนไม่มาก รู้ว่ากาลใดควรหรือไม่ควร
จาริกไปมา จึงมิได้ทรงมีบัญญัติไว้ แต่เม่ือมีพระภิกษุมากขึ้น พระภิกษุบางพวกไม่รู้
กาลควรไม่ควร จาริกไปมาตลอดปี ทาให้ไปเหยียบพืชผล ทาลายข้าวกล้าของชาวบ้าน
จงึ เกิดการตาหนิติเตียนของชาวบ้าน เม่ือพระพุทธเจ้าทรงทราบจึงทรงบัญญัติให้พระภิกษุ
อยจู่ าพรรษาช่วงฤดฝู น เปน็ เวลา ๓ เดือน

วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

วันออกพรรษาและเทโวโรหณะ

วันออกพรรษา เป็นวันส้ินสุดของการอยู่จาพรรษาหรืออยู่ประจาท่ีของพระภิกษุ
ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน หลังจากนี้พระภิกษุสามารถจาริกไปท่ีใดก็ได้โดยไม่ผิดพุทธบัญญัติ
ซึง่ ตรงกับวนั ขน้ึ ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ ในวันนีจ้ ะมีการประกอบพิธีสงั ฆกรรมอยา่ งหน่ึง
เรยี กว่า “การปวารณา” หมายถึง อนุญาตหรอื ยอมให้ เปน็ การเปิดโอกาส
ให้พระภกิ ษวุ ่ากล่าวตกั เตือนกันด้วยเมตตาจติ

วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย

คาว่า “เทโว” ยอ่ มาจาก “เทโวโรหณะ” แปลว่า การหย่ังหรือเสด็จลงจากเทวโลก
หมายถงึ วนั ทพ่ี ระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากเทวโลก ซึ่งตามตานานเล่าว่า พระพุทธเจ้าเสด็จขึ้น
ไปโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ และอยู่จาพรรษา ณ ที่น้ัน เป็นเวลา ๓ เดือน
เมื่อถึงวันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ จึงเสด็จลงมา ชาวบ้านจึงพากันไปรอรับเสด็จ และได้นา
อาหารคาวหวาน พร้อมดว้ ยเครอื่ งบชู าไปถวาย อาหารที่นิยมนาไปถวาย คือ ข้าวต้มมัด หรือ
ข้าวต้มลูกโยนของทางภาคกลาง ซ่ึงเช่ือกันว่า เป็นเพราะสมัยน้ันมีผู้คนไปรับเสด็จจานวน
มาก ทาใหไ้ ม่สามารถเข้าไปใส่บาตรได้ จึงห่อข้าวแล้วโยนลงบาตร จึงกลายเป็นประเพณีการ
ถวายขา้ วต้มลูกโยนในการตักบาตรเทโว

วนั สาคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

หลกั ปฏิบตั ิตนในวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา

• การฟังพระธรรมเทศนา

การฟงั พระธรรมเทศนานี้จะกระทาหลังจากการบูชาพระรัตนตรยั และสมาทานศีล
แลว้ โดยมรรคนายกจะเป็นผกู้ ลา่ วอาราธนาธรรม ผไู้ ปรว่ มฟังพระธรรมเทศนาพึงนั่งประนมมือ
และตงั้ ใจฟงั ดว้ ยความเคารพ ฟังด้วยจิตที่สงบพร้อมท้ังคิดพิจารณา ไตร่ตรองถึงธรรมหรือสิ่งท่ี
พระภิกษกุ าลงั แสดง เพื่อให้ได้ความรู้ ความเขา้ ใจท่ถี ูกต้องชดั เจน

ปัจจุบันการฟังพระธรรมเทศนาไม่ได้มีข้อจากัดอยู่แต่เฉพาะจะต้องกระทาในวัน
สาคัญทางพระพุทธศาสนา หรือไปฟงั ท่ีวดั เทา่ นัน้ พุทธศาสนิกชนสามารถฟังธรรมได้ทุกโอกาส
และสามารถฟังอยู่ท่ีบ้านด้วยการฟังธรรมจากรายการธรรมะทางโทรทัศน์ ฟังบรรยายธรรม
ทางวทิ ยุ หรอื การฟงั จากแผ่นซดี ีบรรยายธรรมท่มี จี าหนา่ ยท่ัวไป

วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย

หลกั ปฏิบัติตนในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

• การแตง่ กายในการประกอบศาสนพิธที ีว่ ัด

การแต่งกายในการประกอบศาสนพิธีที่วัด มีหลักสาคัญ คือ เน้นความสะอาด
สุภาพ เรียบร้อย ไม่แต่งกายด้วยเส้ือผ้าสีฉูดฉาด ถ้ามีลายก็ควรเป็นลายเรียบ ๆ เน้ือผ้าไม่บาง
เกินไป สตรีไม่ควรใส่เส้ือผ้ารัดรูปและเผยหรือเน้นให้เห็นสัดส่วน รวมทั้งไม่นุ่งกระโปรงสั้น
จนเกนิ ไป การใสเ่ ครอ่ื งประดบั กค็ วรใส่แตพ่ องาม ไม่มากจนเกินไป

หลกั ปฏิบตั ติ นในวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา

• การงดเว้นอบายมุข

อบายมุข หมายถึง ทางแห่งความเสื่อม เหตทุ ีท่ าให้โภคทรพั ยเ์ สอื่ มหายหมดไป
มี ๖ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ตดิ สุราและของมนึ เมา ๒. ชอบเที่ยวกลางคืน ๓. ชอบเทย่ี วดู
การละเลน่ ๔. เลน่ การพนนั ๕. คบคนชว่ั เปน็ มิตร ๖. เกียจคร้านการงาน


Click to View FlipBook Version