พระพุทธศาสนา
ม.๓ ส23106
หนว่ ยที่ ๑๗ การธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
ครูลดั ดา เทศศรเี มือง
กลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม โรงเรยี นสตรรี าชินทู ศิ อดุ รธานี
การธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา
การศกึ ษาเรียนรเู้ รอ่ื งองค์ประกอบของพระพทุ ธศาสนา
นาไปปฏบิ ตั แิ ละเผยแผต่ ามโอกาส
เรียนรู้เรื่ององคป์ ระกอบของศาสนา
ส่งิ ทนี่ บั เปน็ ศาสนาไดน้ นั้ แมจ้ ะเป็นศาสนาตามคติทางพระพุทธศาสนาหรอื ตามคติของ
ชาวตะวันตกกต็ าม มหี ลกั เกณฑ์ทน่ี กั ปราชญท์ างศาสนายอมรบั กนั ดังน้ี
๑. ตอ้ งเปน็ เรอื่ งเช่ือถือได้ โดยเป็นความศักดิส์ ิทธแ์ิ ละตอ้ งเคารพบชู า
๒. ตอ้ งมคี าสอนแสดงธรรมจรรยาและกฎเกณฑเ์ กยี่ วกบั การกระทา
๓. ต้องมีตัวผู้ประกาศ ผูส้ อนหรอื ผู้ตั้ง และยอมรับเปน็ ความจรงิ ตามประวัตศิ าสตร์
๔. ตอ้ งมีผู้สบื ตอ่ รบั คาสอนนน้ั ประพฤตติ ามกันมา สว่ นมากเรยี กกนั วา่
พระ นักพรต หรือนกั บวช เป็นผ้มู หี นา้ ท่ที าพธิ กี รรมในศาสนาน้นั ๆ
การธารงรักษาพระพุทธศาสนา
อกี ประการหนง่ึ ท่ีสาคญั ส่ิงทเ่ี รยี กวา่ ศาสนาไดน้ ้นั ต้องมอี งค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
๑. ศาสดา คือ ผตู้ ัง้ ศาสนาหรอื ผสู้ อนดงั้ เดมิ
๒. คมั ภีรศ์ าสนา คอื ขอ้ ความทอ่ งกนั ไว้ได้ แล้วจดจารกึ เปน็ ลายลักษณ์อักษร
๓. ศาสนบุคคล คือ สาวกผู้สืบต่อศาสนา หรือผู้แทนเป็นทางการของศาสนา
๔. ศาสนสถาน คือ สถานทีส่ าคัญในการประกอบศาสนพิธีตา่ ง ๆ
๕. สัญลกั ษณ์ คอื สิง่ ท่ีเปน็ เคร่อื งหมายหรือสิง่ แทนประจาศาสนา
การธารงรักษาพระพุทธศาสนา
การศึกษาการรวมตวั ขององค์กรชาวพุทธ
ยุวพุทธกิ สมาคมแห่งประเทศไทย
ในช่วง พ.ศ. ๒๔๘๙ หลังสงครามโลกสงบลง ทั้งเศรษฐกิจและจิตใจของคนในยุคน้ัน
เส่ือมลงไปมาก ประกอบกับลัทธิสังคมนิยมกาลังเข้ามามีอิทธิพลต่อจิตใจของประชาชน
โดยเฉพาะเยาวชนตกเป็นเป้าหมายหลักของลัทธิดังกล่าว เป็นที่วิตกกันในวงการผู้รับผิดชอบ
เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก เกรงว่าเยาวชนของชาติจะเหินห่างหรือละทิ้งศาสนาไป
ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงมีคณะบุคคลกลุ่มหนึ่ง เชน่ สุชีโว ภิกขุ (สุชีพ ปุญญานุภาพ) นายเสถียร
โพธนิ นั ทะ ซึ่งเป็นผู้รเิ ริ่มอย่างสาคญั ในการชกั ชวนผู้เก่ยี วข้องและสนใจในพระพทุ ธศาสนา
ใหม้ ารวมกลุ่มกันเป็น “คณะยุวพุทธกิ ะ” ณ วัดกันมาตุยาราม
แล้วขออนุญาตก่อตงั้ เปน็ “ยวุ พุทธกิ สมาคมแห่งประเทศไทย”
การธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา
องคก์ ารพทุ ธศาสนกิ สัมพันธ์แห่งโลก
องคก์ ารพทุ ธศาสนกิ สมั พันธ์แหง่ โลก มชี อ่ื ในภาษาองั กฤษวา่ The World Fellowship
of Buddhists มชี ื่อยอ่ ว่า W.F.B. มีชอื่ ย่อในภาษาไทยวา่ พ.ส.ล.
ปัจจุบันเป็นท่ีทราบกันอยู่แล้วว่า พระพุทธศาสนาน้ันถึงแม้จะเป็นคาส่ังสอนซึ่งเร่ิมต้น
จากศาสดาพระองค์เดียว คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่กาลเวลาและเหตุการณ์ความ
เปลี่ยนแปลงของโลกได้บันดาลให้เกิดความแตกต่างในทางปฏิบัติและความเข้าใจในพุทธธรรม
จนกระทั่งเกิดนิกายต่าง ๆ ข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนิกายมหายานซึ่งเป็นฝ่ายเหนือและ
นิกายเถรวาทซึ่งเป็นฝ่ายใต้ ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างยดึ ม่ันในความเข้าใจและความเช่ือมั่นของตน จนทาให้
เหนิ ห่างกันออกไปทกุ ที จึงตอ้ งมีการจดั ต้งั องคก์ ารพทุ ธศาสนิกชนสัมพนั ธ์แหง่ โลก
เพ่ือรวบรวมพทุ ธศาสนกิ ชนให้เปน็ อันหนง่ึ อนั เดียวกนั
การธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา
วตั ถุประสงค์ท่ีระบุไว้ในธรรมนญู ขององค์การพทุ ธศาสนิกสัมพนั ธ์แหง่ โลก มดี งั น้ี
๑. ส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ วลสมาชิกรกั ษาศีลและปฏบิ ัตธิ รรมตามคาสงั่ สอนของ
สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ โดยเคร่งครัด
๒. เสริมสร้างความสามคั คี ความเปน็ ปึกแผ่น และภราดรภาพในหมพู่ ุทธศาสนิกชน
๓. เผยแผ่หลกั ธรรมอนั บริสทุ ธ์ปิ ระเสริฐของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
๔. กอ่ ตง้ั และดาเนินกจิ กรรมทัง้ หลาย อันเป็นประโยชน์ในดา้ นสงั คม การศกึ ษา
วัฒนธรรมและมนษุ ยธรรม
๕. ดาเนินงานเพ่ือเสรมิ สร้างสันตภิ าพและความสามคั คกี ลมเกลยี วในหม่มู นษุ ย์ และ
ความผาสกุ ใหแ้ กม่ วลชน ตลอดจนให้ความรว่ มมือแกอ่ งค์การอ่ืน ๆ ซง่ึ ประกอบกจิ การทม่ี ี
ความมุ่งหมายอยา่ งเดยี วกัน ประการสาคญั คอื การละเว้นจากการเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งกับการเมือง
การธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
พุทธสมาคมแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์
พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ มวี ัตถปุ ระสงค์การจดั ตัง้ เพ่ือ
สนบั สนนุ กิจการเกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนาทั้งในและนอกประเทศ รวมทงั้ เพื่อเผยแผแ่ ละสง่ เสริม
หลักธรรมแหง่ พระพทุ ธศาสนา สง่ เสรมิ สามคั คีธรรมในการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ
นอกจากนยี้ ังมมี ูลนิธหิ รอื องคก์ รเพ่ือการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาอน่ื ๆ เชน่
มูลนิธพิ ุทธธรรม มลู นิธมิ หามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ เสถียรธรรมสถาน
ซึง่ มวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษา เผยแผ่พระพทุ ธศาสนา
การธารงรกั ษาพระพุทธศาสนา
การปลูกจติ สานกึ ในด้านการบารุงรกั ษาวัดและพทุ ธสถานใหเ้ กดิ ประโยชน์ มีดังน้ี
๑. สร้างความรู้สึกสานึกแก่ชุมชนในท้องถิ่นว่าวัดเป็นของตน มีความรู้สึกหวงแหน
รัก และช่วยกนั ดแู ลรกั ษา
๒. สร้างสภาพวัดและเสนาสนะ ถาวรวัตถุต่าง ๆ ให้มีความหมาย เป็นที่พักอาศัยของ
พระภิกษุสามเณรทีบ่ วชเรยี นศกึ ษา
๓. สรา้ งวัดเปน็ สถานที่ศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรม เป็นสถานท่ีที่ทาบุญบาเพ็ญกุศลของชาวบ้าน
เป็นที่ที่ชาวบ้านน้ันได้เข้ามาหาความสงบทางกายและใจ เป็นศูนย์กลางสาหรับทากิจกรรม
ทางสังคมรว่ มกันของชาวบา้ น
๔. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัดกับประชาชนในท้องถิ่น วัดต้องสะอาดร่มรื่น
มกี ารจัดกิจกรรมเพ่ือประชาชน มีความพร้อมที่จะให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนในท้องถิน่
การธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
๕. สรา้ งความเป็นอันหนึง่ อนั เดยี วกันระหว่างวดั กับประชาชนในทอ้ งถิ่น
๖. ใหเ้ กิดการยอมรับว่าวดั กับชมุ ชนเปน็ หน่วยเดยี วกนั ให้ความชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกนั