บทท่ี 1
ความร้เู บอื้ งตน้ ในการผลติ เอกสาร
ชนิดของกระดาษ
(Type of paper)
กระดาษ (Paper)
กระดาษ เปน็ วัสดุทผ่ี ลติ ขึน้ มาสาหรับการจดบันทกึ มีประวัตศิ าสตรย์ าวนาน
เช่ือกันวา่ มีการใช้กระดาษคร้ังแรก ๆ โดยชาวอยี ิปต์และชาวจนี โบราณ แตก่ ระดาษใน
ยคุ แรก ๆ ลว้ นผลิตข้นึ เพื่อการจดบันทึกด้วยกันทงั้ ส้ิน จึงกล่าวได้ว่าระบบการเขียนคอื
แรงผลกั ดันให้เกิดการผลติ กระดาษข้นึ ในโลก [ต้องการอา้ งองิ ] ปจั จุบันกระดาษไม่ได้มี
ประโยชน์ในการใชจ้ ดบนั ทกึ ตวั หนังสือ หรือข้อความ เทา่ นน้ั ยังใชป้ ระโยชน์อ่ืน ๆ ได้
มากมาย เชน่ กระดาษชาระ กระดาษห่อของขวญั กระดาษลกู ฟกู สาหรบั ทากล่อง
เปน็ ต้น
1.กระดาษปอนด์ (Pond Paper)
เป็นกระดาษทนี่ ิยมหรอื ถา่ ยเอกสารท่ใี ช้เปน็ เนอื้ ในของหนังสือ เพราะตวั กระดาษเนอื้ แนน่
เรียบ จะมีสีขาวทงั้ 2 ด้าน นยิ มใชพ้ มิ พส์ เี ดียว หรือ 2 สี ถา้ เปน็ สงิ่ พิมพ์ 4 สีจะนยิ มพมิ พก์ ระดาษ
อารต์ จะสวยกว่ากระดาษปอนด์สามารถเขยี นจดบนั ทึกไดง้ ่าย ทั้งดินสอและปากกาเหมาะสาหรบั งาน :
เนอ้ื ในหนังสือต่าง ๆ เนอ้ื ในสมุดโน้ตหรอื สมุดบนั ทึก กระดาษหวั จดหมาย อน่ื ๆ ฯลฯ ความหนาของ
กระดาษ ทีน่ ยิ มใชพ้ มิ พ์ 70-100 แกรม
2. กระดาษกรนี รด้ี (Green Read Paper)
เปน็ กระดาษถนอมสายตา ดว้ ยเนื้อกระดาษสเี หลืองนวล ผิวกระดาษทีไ่ ม่เรียบเทา่ และขาว
เหมอื นกระดาษทัว่ ไป ความสวา่ งของสมี ีปริมาณนอ้ ย ช่วยดูดกลืนแสงไดด้ ี ทาให้ลดการสะทอ้ นของ
แสงเขา้ ตา ประมาณ 15% ซงึ่ ช่วยถนอมสายตา ทาใหร้ สู้ กึ สบายตา อ่านหนังสอื ไดน้ านข้ึน นอกจากน้นั
จดุ เดน่ คอื มนี ้าหนักเบา พกพาสะดวก และสกี ระดาษไมเ่ ปลีย่ นจนดเู ก่า เพราะสีกระดาษทนไม่เปลี่ยนสี
เหมาะสาหรับงาน : เน้อื ใน ตาราเรยี น หนังสือ นิตยสาร สมดุ ไดอาร่ี ออแกไนเซอร์ สมดุ บนั ทกึ สมุด
โนต้ ฯลฯ ความหนาของกระดาษ : 65,75 แกรม
3. กระดาษกรนี เปเปอร์ (Green Paper)
เปน็ กระดาษปอนด์รูปแบบหนึง่ แตผ่ วิ กระดาษ ไม่ละเอียดเท่า เน้อื กระดาษ
สคี รมี นวล ไมข่ าวเหมอื นกระดาษปอนด์ จะมีลักษณะทึบแสง จงึ ทาให้ถนอมสายตา
มนี ้าหนกั เบา พกพาสะดวก เหมือนกระดาษกรีนร้ีด เหมาะสาหรบั งาน : เนื้อใน
ตาราเรียน หนังสอื นิตยสาร สมุดไดอาร่ี ออแกไนเซอร์ สมดุ บันทกึ สมดุ โนต้ ฯลฯ
ความหนาของกระดาษ : 70 แกรม
4. กระดาษอาร์ต (Art Paper)
เปน็ กระดาษทนี่ ิยมใชใ้ นงานสงิ่ พมิ พป์ ระเภท เชน่ หนงั สอื ,
นติ ยสาร, โปสเตอรโ์ บรชัวร,์ ใบปลิว, ปกวารสาร ฯลฯ มคี วามหนาหลาย
ระดบั นยิ มพมิ พ์ 4 สี คุณสมบัตทิ ด่ี ี คอื เน้ือจะแน่น ผิวเรียบ แบ่งออกเปน็
อาร์ตมนั อารต์ ดา้ น อารต์ การด์ เปน็ ตน้
5. กระดาษอารต์ มนั (Gloss Coated Paper)
เป็นกระดาษผิวเรยี บ เป็นมันเงา พมิ พ์งานได้ใกลเ้ คยี งสีจริง สามารถเคลือบเงาไดด้ ีเหมาะ
สาหรบั งาน : หนงั สอื , วารสาร, นติ ยสาร, โบรชัวร,์ โปสเตอร,์ ใบปลวิ , อนื่ ๆ ฯลฯ
ความหนาของกระดาษ : 85,90,100,105,120,130,140,160
6. กระดาษอารต์ ดา้ น (Matt Coated Paper)
เปน็ กระดาษผวิ เรียบ ไม่มันเงา พมิ พง์ านสจี ะซดี ลงเล็กนอ้ ย แต่ทาให้งานพิมพ์ดหู รู
มคี วามสวยงาม เหมาะสาหรบั งาน : หนังสอื , วารสาร, นติ ยสาร, โบรชัวร,์ โปสเตอร์,
ใบปลิว, อ่นื ๆ ฯลฯ ความหนาของกระดาษ : 85,90,100,105,120,130,140,160
7. กระดาษอาร์ตการด์ (Art Card Paper)
เป็นกระดาษทีม่ ีความแกร่ง แบง่ ออกเป็นอาร์ตการ์ด 1 หน้า และอาร์ตการ์ด 2 หน้า กระดาษอาร์ต
การ์ด 1 หน้า จะมีความหนามากกวา่ กระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า มีความหนามากตงั้ แต่ 190 แกรมขนึ ้ ไป
เหมาะสาหรับงาน : สิง่ พิมพ์ที่ต้องการพมิ พ์หน้าเดียว เช่น ปกตา่ ง ๆ อาทิ หนงั สือ, นิยาย, แบบเรียน, นิตยสาร
อ่ืน ๆ เป็นต้น, โปสเตอร์, กลอ่ งบรรจภุ ณั ฑ์ สง่ิ พิมพ์ที่ต้องการความหนา ฯลฯ เหมาะสาหรับงาน : ส่ิงพิมพ์ที่
ต้องการพิมพ์ 2 หน้า เชน่ นามบตั ร, การ์ด, โปสการ์ด ฯลฯ ความหนาของกระดาษ : 210, 270, 300
8. กระดาษมาสเมลโล่ (Marsh Mallow Paper)
เปน็ กระดาษเรยี บ สขี าว
ไม่มัน มีความแกรง่ หนา เหมาะ
สาหรบั งาน : นามบัตร, การ์ด,
โปสการ์ด อนื่ ๆ ฯลฯ ความหนา
ของกระดาษ : 230 แกรม
9. กระดาษโนวาเจ็ท (Novajet Paper)
เป็นกระดาษ ฉกี ไม่ขาด
กันน้า พมิ พง์ านไดส้ วยงาม ทาให้
งานดูหรเู หมาะสาหรบั งาน :
นามบตั ร อ่นื ๆ ความหนาของ
กระดาษ : 250 แกรม
10. กระดาษสต๊ิกเกอร์ (Sticker)
เป็นสติกเกอร์กระดาษ สตก๊ิ เกอรพ์ พี ี
สติ๊กเกอรใ์ ส มแี บบขาวเงา ขาวด้านเหมาะสาหรับงาน
ฉลากสินค้า โลโก้ บรรจภุ ัณฑ์ เชน่ ฉลากยา ขวด
แชมพู ฝาพลาสตกิ ฝาขวด ถุงขนม ฯลฯ ติดกระจก
แกว้ เปน็ ต้น ความหนาของกระดาษ : 150 แกรม
หนังสอื อิเล็กทรอนิกสเ์ ล่มนี้
เปน็ สว่ นหน่งึ ของวชิ าการผลติ เอกสารเพอ่ื งานสานกั งาน
รหัสวิชา30216 - 2005
เสนอ
ครูปรยี า ปันธิยะ
จัดทาโดย
นางสาวศศปิ าง ชมุ ภูสบื
เลขท่ี 20 สบจ.63.1
สาขาวิชาการจัดการสานักงาน
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาลาปาง
ขอขอบคุณแหลง่ ที่มา
• http://www.flexiprint.in.th/15808184/
• https://www.printeasybkk.com/tip/business-logo-design/
• http://www.infinityprinting.co.th/main/