The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มหลักสูตร2565โพธิ์ทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-29 05:39:49

รวมเล่มหลักสูตร2565โพธิ์ทอง

รวมเล่มหลักสูตร2565โพธิ์ทอง

หลกั สตู รการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโพธ์ิทอง
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั อา่ งทอง

การอนมุ ัตหิ ลกั สตู รการจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโพธ์ทิ อง
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอ่างทอง

ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5

เพ่อื ใหก้ ารจัดการศึกษาต่อเนื่องบรรลุเป้าประสงคต์ ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด สถานศกึ ษาไดจ้ ัดทาหลกั สตู ร
การจัดการศึกษาต่อเน่ืองประจาปีงบประมาณ ๒๕๖5 ประกอบด้วย กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพ
อุตสาหกรรม กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรมและบริการ กลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
จานวน 52 หลักสูตร ซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษาได้พิจารณา หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่องประจาปี
งบประมาณ ๒๕๖5 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโพธิ์ทอง เห็นชอบหลักสูตร
การจดั การศึกษาต่อเน่ือง ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖5 ดงั กลา่ ว

ลงชื่อ.................................................ผ้เู หน็ ชอบ
(นายสมควร สงิ หค์ ะ)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

ลงช่อื .................................................ผู้อนมุ ตั ิ
(นางสาวกหุ ลาบ ออ่ นระทวย)

ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอโพธทิ์ อง
วนั ที่ 28 เดอื นตุลาคม พ.ศ. 2564

คานา

การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ของสานักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ท้ังด้านการพัฒนาอา ชีพ
การพัฒนาทักษะชีวิต การพัฒนาสังคมและชุมชน การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการใช้
เทคโนโลยี ซึ่งจาเป็นต้องใช้วิธีการและรูปแบบท่ีหลากหลาย เพ่ือให้สนองตามความต้องการและความสนใจของ
ประชาชนทุกลุ่มวยั โดยเนน้ กระบวนการคิดเป็นเพ่อื แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโพธ์ิทอง จึงได้พัฒนาหลักสูตรการจัด
การศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนามาพัฒนาเนื้อหาสาระให้ครบถ้วนสมบูรณ์และกาหนด
ระยะเวลาในการเรียนให้เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน และขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษา วิทยากร
ภมู ปิ ัญญา และผู้ท่ีเก่ียวข้อง ท่ีทาให้การดาเนนิ งานการพฒั นาหลักสตู รการจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งของสถานศึกษาใน
ครง้ั น้ีสาเร็จไปดว้ ยดี

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอโพธิท์ อง

เดือน ตลุ าคม พ.ศ.2565

สารบัญ หนา้

คานา 1
สารบัญ 39
108
หลักสตู ร กจิ กรรมชัน้ เรียนวิชาชพี (31 ชั่วโมงข้ึนไป)
กล่มุ อาชีพพาณชิ กรรมและบริการ 115
กล่มุ อาชีพความคิดสรา้ งสรรค์ 210
กลมุ่ อาชพี เฉพาะทาง
หลกั สูตร กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (ไม่เกิน 30 ช่ัวโมง) 249
กลมุ่ อาชีพพาณิชกรรมและบริการ 264
กลุ่มอาชีพความคิดสรา้ งสรรค์ 306
หลักสูตร กจิ กรรม 1 อาเภอ 1 อาชีพ 325
กลมุ่ อาชีพพาณิชกรรมและบริการ
หลักสตู ร กิจกรรม พฒั นาทักษะชีวติ 341
หลักสูตร กิจกรรม พฒั นาสังคมและชุมชน
หลกั สูตร กจิ กรรม กาเรยี นรู้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลกั สูตร กจิ กรรม จัดและส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ

เพอ่ื คงพัฒนาทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ

หลกั สตู ร กจิ กรรมชนั้ เรยี นวชิ าชพี (31 ช่วั โมงขนึ้ ไป)

หน้า

กลุ่มอาชพี พาณชิ กรรมและบรกิ าร

1.หลกั สูตร นานาน้าพริก 40 ชัว่ โมง 1

2. หลักสตู ร การถนอมอาหาร 1 (แหนมหมู,แหนมปลา,แหนมไก่,แหนมเห็ด, 11

แหนมซีโ่ ครงหม,ู แหนมเอ็นไก,่ หมูส้ม,ปลาส้ม) 40 ชั่วโมง 20
28
3. หลกั สตู ร การถนอมอาหาร 2 (แหนมหม,ู แหนมซโี่ ครงหม,ู แหนมปลา,แหนมเอน็ ไก,่

หมูแดดเดียว, ปลาส้ม,ปลาสลดิ แดดเดียว,ปลาช่อนแดดเดียว) 40 ช่ัวโมง

4. หลกั สูตร ขนมหอ่ ใบตอง 40 ชว่ั โมง

กล่มุ อาชีพความคิดสรา้ งสรรค์

1. หลกั สูตร การทาเปลถัก 40 ชัว่ โมง 39
2. หลกั สูตร จักสานหวาย 40 ชั่วโมง 48
3. หลักสูตร ตะกร้าลายไทยจากเสน้ พลาสตกิ 40 ชว่ั โมง 59
3. หลกั สตู ร ที่ใสแ่ กว้ เยติลายไทย 40 ชวั่ โมง 68
4. หลกั สตู ร ตะกรา้ ลายไทยทรงเหล่ยี มจากเส้นพลาสตกิ 40 ชว่ั โมง 76
5. หลกั สูตร ตะกร้าจากเสน้ หลายเทียมทรงสเ่ี หลยี่ ม ทรงรี 40 ชั่วโมง 83
6. หลกั สูตร ผลติ ภัณฑจ์ ากหวาย 40 ชว่ั โมง 88
7. หลักสูตร ถุงแกว้ เยตจิ ากไม้ไผ่ 40 ช่ัวโมง 93
8. จกั สานไมไ้ ผ่ 40 ชั่วโมง 100

กลุม่ อาชีพเฉพาะทาง

1. หลักสตู ร ชา่ งซ่อมเครือ่ งมือการเกษตร 40 ชั่วโมง 108

หลกั สตู ร กจิ กรรมชนั้ เรียนวิชาชีพ (31 ชว่ั โมงข้ึนไป)
หน้า

กลุ่มอาชพี พาณชิ กรรมและบรกิ าร

1.หลักสูตร นานาน้าพริก 40 ชว่ั โมง 1

2. หลักสตู ร การถนอมอาหาร 1 (แหนมหม,ู แหนมปลา,แหนมไก,่ แหนมเห็ด, 11

แหนมซโี่ ครงหมู,แหนมเอ็นไก่,หมูส้ม,ปลาส้ม) 40 ชว่ั โมง 20
28
3. หลกั สตู ร การถนอมอาหาร 2 (แหนมหม,ู แหนมซ่ีโครงหมู,แหนมปลา,แหนมเอน็ ไก,่

หมแู ดดเดียว, ปลาสม้ ,ปลาสลดิ แดดเดียว,ปลาชอ่ นแดดเดียว) 40 ชัว่ โมง

4. หลกั สูตร ขนมหอ่ ใบตอง 40 ชวั่ โมง

หลักสูตร กิจกรรมช้ันเรยี นวชิ าชีพ (31 ชว่ั โมงขน้ึ ไป)

หนา้

กลุ่มอาชพี พาณชิ กรรมและบรกิ าร

กลุ่มอาชพี ความคดิ สรา้ งสรรค์

1. หลกั สตู ร การทาเปลถกั 40 ชว่ั โมง 39
2. หลักสตู ร จักสานหวาย 40 ช่ัวโมง 48
3. หลักสตู ร ตะกรา้ ลายไทยจากเสน้ พลาสตกิ 40 ชวั่ โมง 59
3. หลกั สูตร ทใ่ี สแ่ ก้วเยตลิ ายไทย 40 ชัว่ โมง 68
4. หลกั สูตร ตะกรา้ ลายไทยทรงเหลยี่ มจากเส้นพลาสตกิ 40 ช่วั โมง 76
5. หลกั สตู ร ตะกรา้ จากเสน้ หลายเทียมทรงสเ่ี หลีย่ ม ทรงรี 40 ชว่ั โมง 83
6. หลกั สูตร ผลติ ภัณฑจ์ ากหวาย 40 ชั่วโมง 88
7. หลกั สตู ร ถุงแกว้ เยติจากไมไ้ ผ่ 40 ชั่วโมง 93
8. จักสานไมไ้ ผ่ 40 ชว่ั โมง 100

หลกั สูตร กิจกรรมชั้นเรยี นวชิ าชพี (31 ชั่วโมงขึ้นไป)
หนา้

กลุม่ อาชพี พาณิชกรรมและบรกิ าร

กลุ่มอาชพี เฉพาะทาง 108

1. หลักสตู ร ช่างซอ่ มเครอ่ื งมือการเกษตร 40 ชว่ั โมง

หลกั สูตร กิจกรรม พฒั นาอาชพี ระยะสั้น (ไมเ่ กนิ 30 ช่วั โมง)
จานวน 20 ชว่ั โมง
หนา้

กลุ่มอาชพี พาณิชกรรมและบรกิ าร

1.หลกั สูตร การแปรรปู อาหาร (กลว้ ยฉาบ,เผอื กฉาบ,มนั ฉาบ,ฟกั ทองฉาบ) 115

2. หลกั สตู ร แปรรูปกลว้ ย (กลว้ ยฉาบ,กล้วยเบรกแตก,กล้วยเชอื่ ม,กลว้ ยแขก 122

3. หลกั สตู ร ขนมไทย (ขนมต้ม,ขนมถว้ ย,ขนมตะโก,้ ขนมถั่วแปบ) 129

4. หลักสูตร นานาน้าพรกิ 1 (น้าพรกิ แกงเผด็ ,นา้ พริกแกงส้ม,นา้ พรกิ เผา,นา้ พริกตาแดง) 136

5. หลกั สูตร นานาน้าพริก 2 (นา้ พริกแกงเขียวหวาน,น้าพริกแกงเผ็ด,น้าพรกิ เผา,นา้ พรกิ ตาแดง 142

6. หลกั สูตร นา้ พรกิ สมนุ ไพร (น้าพริกกากหมสู มุนไพร,นา้ พรกิ ข่า,

น้าพรกิ ตระไคร้,นา้ พรกิ หนังไก่กรอบสมนุ ไพร) 148

7. หลักสูตร ถนอมอาหาร 1 (หมสู ้ม,ปลาส้ม,แหนมหมู,แหนมปลา) 155

8. หลักสตู ร ถนอมอาหาร ๒ (ไข่เค็มดองเกลือ,ไขเ่ คม็ สมุนไพร,ไขเ่ คม็ ดินสอพอง,ไขเ่ คม็ แดง) 162

9. หลกั สูตร ถนอมอาหาร ๓ (ไขเ่ คม็ ตะไคร้,ไข่เค็มใบมะกรูด,ไขเ่ คม็ ใบเตย,ไขเ่ ค็มขมิน้ ) 170

10 หลักสูตร ถนอมอาหาร ๔ (แหนมหมู,แหนมซ่ีโครงหมู,แหนมปลา,แหนมเอน็ ไก่) 177

11. หลกั สูตร ขนมหอ่ ใบตอง (ขนมเทียน,ขา้ วต้มมดั ,ขนมเข่ง,ข้าวเหนียวปงิ้ ) 183

12. หลกั สูตร อาหารว่าง 1 (แชนวิชโบราณ,ขนมจบี หมู,สาคูไสห้ มู,ขนมปังหนา้ หมู) 191
13. หลกั สตู ร อาหารวา่ ง ๒ (หมก่ี รอบ,ครองแครงกรอบ,ขนมดอกจอก,ขนมไขน่ กกระทา) 198
14. หลกั สูตร เบเกอร่ี ( โดนัทจว๋ิ , วาฟเฟิล , เคก้ กลว้ ยหอม, บราวน)่ี 203

กลุ่มอาชพี ความคดิ สร้างสรรค์ 210
217
1. การทาพรมเช็ดเทา้ 223
2. หลกั สูตร การทาไมก้ วาดดอกหญา้ 229
3. หลกั สูตร การทาไมก้ วาดทางมะพร้าว 235
4. หลกั สตู ร การทาเปลจากเศษผ้า 243
5. หลักสูตร ตะกรา้ จากไสห้ วายติดเดคูพาจ
6. หลกั สูตร ตะกรา้ ลายขัดจากเส้นหวายเทียม

หลักสูตร กิจกรรม พฒั นาอาชีพระยะส้ัน (ไมเ่ กนิ 30 ชัว่ โมง)
จานวน 20 ชว่ั โมง
หน้า

กลุ่มอาชีพพาณชิ กรรมและบริการ

1.หลักสูตร การแปรรูปอาหาร (กล้วยฉาบ,เผือกฉาบ,มันฉาบ,ฟกั ทองฉาบ) 115

2. หลักสตู ร แปรรปู กลว้ ย (กล้วยฉาบ,กลว้ ยเบรกแตก,กล้วยเชือ่ ม,กล้วยแขก 122

3. หลกั สตู ร ขนมไทย (ขนมต้ม,ขนมถว้ ย,ขนมตะโก้,ขนมถว่ั แปบ) 129

4. หลกั สูตร นานาน้าพริก 1 (น้าพรกิ แกงเผด็ ,นา้ พริกแกงส้ม,น้าพริกเผา,นา้ พริกตาแดง) 136

5. หลกั สูตร นานาน้าพริก 2 (น้าพรกิ แกงเขียวหวาน,น้าพริกแกงเผด็ ,น้าพริกเผา,น้าพริกตาแดง 142

6. หลกั สูตร น้าพริกสมุนไพร (นา้ พรกิ กากหมสู มนุ ไพร,น้าพริกขา่ ,

น้าพรกิ ตระไคร้,นา้ พริกหนงั ไก่กรอบสมุนไพร) 148

7. หลกั สตู ร ถนอมอาหาร 1 (หมูสม้ ,ปลาส้ม,แหนมหมู,แหนมปลา) 155

8. หลักสูตร ถนอมอาหาร ๒ (ไขเ่ ค็มดองเกลือ,ไขเ่ ค็มสมุนไพร,ไขเ่ ค็มดนิ สอพอง,ไขเ่ ค็มแดง) 162

9. หลักสูตร ถนอมอาหาร ๓ (ไขเ่ คม็ ตะไคร้,ไข่เคม็ ใบมะกรูด,ไข่เค็มใบเตย,ไขเ่ ค็มขมิ้น) 170

10 หลกั สตู ร ถนอมอาหาร ๔ (แหนมหมู,แหนมซี่โครงหมู,แหนมปลา,แหนมเอน็ ไก)่ 177

11. หลักสตู ร ขนมหอ่ ใบตอง (ขนมเทียน,ขา้ วต้มมดั ,ขนมเข่ง,ข้าวเหนยี วปิง้ ) 183

12. หลักสตู ร อาหารว่าง 1 (แชนวิชโบราณ,ขนมจีบหมู,สาคไู สห้ ม,ู ขนมปังหนา้ หม)ู 191
13. หลักสตู ร อาหารว่าง ๒ (หม่กี รอบ,ครองแครงกรอบ,ขนมดอกจอก,ขนมไขน่ กกระทา) 198
14. หลักสูตร เบเกอรี่ ( โดนัทจ๋วิ , วาฟเฟลิ , เค้กกลว้ ยหอม, บราวน)ี่ 203

หลกั สูตร กิจกรรม พฒั นาอาชพี ระยะสนั้ (ไมเ่ กนิ 30 ช่ัวโมง)
จานวน 20 ชว่ั โมง
หน้า

กลุ่มอาชพี ความคดิ สรา้ งสรรค์ 210
217
1. การทาพรมเช็ดเทา้ 223
2. หลกั สตู ร การทาไมก้ วาดดอกหญา้ 229
3. หลกั สูตร การทาไม้กวาดทางมะพรา้ ว 235
4. หลกั สตู ร การทาเปลจากเศษผา้ 243
5. หลักสูตร ตะกรา้ จากไสห้ วายติดเดคูพาจ
6. หลักสตู ร ตะกร้าลายขดั จากเสน้ หวายเทียม

หลกั สตู ร กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชพี หนา้
จานวน 40 ช่วั โมง
249
กลุ่มอาชีพพาณิชกรรมและบรกิ าร 258

1.หลกั สูตร นา้ พริกไข่เคม็
2. หลักสูตร บรรจุผลิตภัณฑน์ า้ พริก ไข่เค็ม

หลกั สตู ร กจิ กรรม พัฒนาทกั ษะชีวิต
รปู แบบอบรมประชาชน จานวน 6 ชัว่ โมง

หน้า

1. หลักสตู ร การป้องกนั และควบคุมไวรสั โคโรนา่ (COVID-1๙) (การทาเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ) 264
2. หลักสูตร การทาสายคล้องแมส 272
3. หลักสูตร การดแู ลสุขภาพกาย – จิต (สมุนไพรพอกเขา่ ) 278
4. หลักสตู ร การดแู ลสขุ ภาพกาย – จติ (การทายาสฟี ันสมนุ ไพร 285
5. หลักสูตร ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สิน(อัคคีภยั ) 292
6. หลักสตู ร การจัดการกบั ความเครียด 299

หลกั สตู ร กจิ กรรม พฒั นาสังคมและชมุ ชน หนา้
รูปแบบอบรมประชาชน จานวน 6 ชว่ั โมง
309
1. หลกั สตู ร การกาจัดขยะดว้ ยจุลนิ ทรีย์ 313
2. หลกั สตู ร การปลกู พืชสมนุ ไพรปอ้ งกันโควดิ 19 320
3. หลักสตู ร การปลกู ผกั ปลอดสารพิษ

หลกั สูตร กจิ กรรม กาเรียนร้หู ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง หนา้
รูปแบบอบรมประชาชน จานวน 6 ช่ัวโมง
325
1. การเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (โคก หนอง นา) 333
2. การเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (พอมี พออยู่ พอกิน)

หลกั สตู ร กจิ กรรม จดั และส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ
เพื่อคงพัฒนาทางกาย จติ และสมองของผสู้ งู อายุ
รปู แบบอบรมประชาชน จานวน 3 ช่ัวโมง

หนา้ 341
346
1. หลักสูตร อาหารสูงวยั ใส่ใจสขุ ภาพ (การทานา้ ขิง) 353
2. หลกั สูตร เครื่องดื่มรักสขุ ภาพผสู้ งู วยั (การทาน้าดมื่ สมุนไพรน้ากระชาย) 360
3. หลกั สตู ร เครื่องดื่มรักสขุ ภาพผู้สงู วัย (การทานา้ ดื่มสมุนไพรนา้ ขงิ ) 367
4. หลักสูตร อาหารสูงวยั ใสใ่ จสุขภาพ (การทาก๋วยเต๋ียวลยุ สวน) 371
5. หลกั สตู ร สลัดโรลเพอ่ื สุขภาพ
6. หลักสูตร อาหารสูงวยั ใสใ่ จสุขภาพ(แซนวชิ เพื่อสขุ ภาพ)

1

หลักสูตร นานาน้าพริก จ้านวน 40 ช่วั โมง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อา้ เภอโพธิ์ทอง
ส้านกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั อา่ งทอง



ความเป็นมา

การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศ
ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ
เขม้ แข็งใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชน ซึง่ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดยุทธศาสตร์ ให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้าง
รายได้ท่ีม่ันคง ให้พัฒนาบุคคลไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพละการมีงานทาอย่างมีคุณภาพอย่างท่ัวถึง
ประชาชนมีงานทาและมีรายได้อยา่ งม่นั คง

ในสภาพปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างอย่างมาก เมื่อจานวนประชากรเพิ่มข้ึนแต่ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไป
อย่างรวดเร็ว และไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงจาเป็นอย่างย่ิง ท่ีมนุษย์จะต้องสร้างขึ้นหรือทดแทนโดยใช้
วิธีการต่างๆ เพื่อการอยู่รอด กศน.อาเภอโพธ์ิทอง จึงได้นานโยบาย ยุทธศาสตร์ และความจาเป็นดังกล่าวสู่
การปฏิบตั ิ เพอื่ การพฒั นาหลักสูตรอาชีพให้กบั กลุม่ เป้าหมายและประชาชนมรี ายได้มีอาชีพเสริม
หลกั การของหลักสูตร

หลกั สูตรการประกอบอาชีพ การทานานาน้าพรกิ มหี ลักการดงั นี้
1. เปน็ หลักสูตรอาชพี ทีส่ ่งเสริม และอนรุ ักษ์ความรู้ของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ
2. เป็นหลกั สตู รอาชพี ทเ่ี น้นการนาความรจู้ ากภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน และการนาวสั ดจุ ากท้องถ่ิน
มาบูรณาการเพื่อลดรายจา่ ยในการประกอบอาชพี มาสรา้ งมูลคา่ เพิ่มเพื่อใหป้ ระชาชนเกิดรายได้
3. เป็นหลักสตู รการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทาของประชาชน
จุดมุ่งหมาย
หลักสูตรการประกอบอาชพี นานาน้าพรกิ มจี ดุ ม่งุ หมาย ดงั น้ี

1. เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้และมีทักษะในการทานานานา้ พริกได้
2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั การทานานาน้าพริกได้
3. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถนาความรทู้ ไี่ ด้ไปใชป้ ระกอบอาชพี และสร้างรายได้ที่ย่งั ยืน

ระยะเวลา จ้านวน 40 ชว่ั โมง
1. ภาคทฤษฎี 10 ชว่ั โมง
2. ภาคปฏิบัติ 30 ช่ัวโมง

2

โครงสรา้ งหลกั สูตร จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื หา การจัดกระบวน จา้ นวนช่วั โมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
ที่ เรอ่ื ง
1 ผ้เู รยี นสามารถ 1 ความสาคญั ในการ 1 วทิ ยากรบรรยาย 3
1. 1 ช่องทางการประกอบ
อาชีพนานาน้าพริก บอกความเปน็ ไปได้ ทานานาน้าพริก ให้ความรู้

ในการประกอบ 2 แหล่งเรียนรู้ การศึกษาจากใบ

อาชีพนานานา้ พริก เกีย่ วกบั การทานานา ความรเู้ รอื่ ง

2 ผู้เรียนสามารถ นา้ พรกิ ความสาคัญของ

บอกความสาคญั ใน 3 แหลง่ จาหน่าย การทานานา

การทานานาน้าพริก ผลิตภณั ฑน์ านา น้าพรกิ

3 ผู้เรยี นรจู้ กั และ น้าพริก 2 ศึกษาจากแหลง่

ศึกษาจากแหล่ง 4 รูปแบบวิธีการ เรยี นรู้ และภูมิ

เรียนรูแ้ หลง่ จาหน่าย ประกอบอและอาชีพ ปัญญาในการทา

ผลติ ภัณฑอ์ าหารวา่ ง นานาน้าพริก นานาน้าพริก

4 สามารถออกแบบ 3 ศึกษาดงู านจาก

วธิ ีการประกอบ แหลง่ จาหน่าย

อาชีพนานาน้าพริก ผลติ ภณั ฑ์นานา

น้าพรกิ

4 วทิ ยากรกบั

ผเู้ รยี นรว่ มกนั

วิเคราะห์รปู แบบ

วิธีการในการ

ประกอบอาชีพการ

ทาผลติ ภัณฑ์นานา

นาน้าพริกท่ี

เหมาะสมกับผู้เรยี น

ท่ีจะนาไปใชใ้ นการ

ประกอบอาชีพ ท่ี

เป็นไปตามความ

พรอ้ มและศักยภาพ

ของผเู้ รียนเชน่ การ

เปน็ เจ้าของกจิ การ

3

ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การ เนือหา การจัดกระบวน จ้านวนช่ัวโมง
เรียนรู้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

2. 2. ทกั ษะอาชีพนานา 1. ทกั ษะการทา 2.1 ความสาคญั ใน 2.1 วทิ ยากร 2 30

นา้ พริก นานานา้ พริก การทานานานา้ พรกิ บรรยายถงึ วัสดุ

2. ผู้เรียนสามารถ 2.2 แหล่งเรยี นรู้ และอุปกรณใ์ นการ

บอกวัสดแุ ละ เก่ียวกบั การทานานา ทานานาน้าพริก

อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการ นา้ พรกิ 2.2 วทิ ยากร

ทานานาน้าพริกได้ 2.3 แหลง่ จาหน่าย บรรยายถงึ การทา

3. สามารถบอก ผลติ ภัณฑ์นานา นานาน้าพรกิ

ประเภทของนานา น้าพรกิ ประเภทของนานา

น้าพรกิ ได้ 2.4 รูปแบบวธิ ีการ น้าพรกิ

4. ผู้เรยี นสามารถ ประกอบอและอาชพี -แหล่งวตั ถดุ ิบ

แหล่งวตั ถุดบิ ได้ นานาน้าพรกิ 2.3 วทิ ยากร

บรรยายการจัดการ

ควบคมุ คุณภาพ

การทานานา

นา้ พริก

3. 3. การบริหารจดั การใน 1. วางแผนควบคมุ 3.1 การบรหิ าร 3.1 การบรหิ าร 3

การประกอบอาชพี นานา คุณภาพการผลิต จดั การในการ จัดการ จดั ให้

นา้ พริก และออกแบบการ ประกอบอาชีพนานา ผ้เู รยี น

บรรจุภณั ฑ์ น้าพรกิ 3.1.1 ศึกษา

2. จดั ทาฐานขอ้ มลู 3.1.1 การดูแลรักษา เอกสารเกย่ี วกบั

ลกู ค้าท่ีเป็นปจั จุบนั การควบคมุ คณุ ภาพ การบรหิ ารจัดการ

ได้ นานานา้ พริก 3.1.2 การ

3. วางแผนและ 3.1.2 การลดต้นทนุ กาหนดและควบคุม

ปฏบิ ัตกิ ารกระจาย ในการผลติ คุณภาพผลผลติ ท่ี

สินคา้ และ นานานา้ พรกิ ตอ้ งการ

ประชาสมั พนั ธ์ได้ 3.2 การจดั การ 3.1.3 ศกึ ษา

4. วเิ คราะหต์ าม การตลาด การลดตน้ ทนุ การ

ต้องการในทานานา 3.2.1 การทา ผลติ แต่คุณภาพ คง

น้าพริก ฐานขอ้ มลู ลูกค้าท่ีใช้ เดิม

5. บนั ทึกขอ้ มลู บริการ/คู่แข่ง 3.1.4 ศึกษา

ตน้ ทุน - กาไรได้ 3.2.2 การ วิเคราะห์ปจั จยั

6. ประกอบอาชพี โฆษณา ความเสี่ยงทค่ี าดวา่

การทานานานา้ พริก ประชาสมั พันธ์ จะเกดิ ขึ้นและมี

ด้วยความซื่อสัตย์ 3.2.3 การส่งเสรมิ แนวทางในการ

และรบั ผิดชอบต่อ การขายและ การ จดั การความเสีย่ ง

ชุมชน และสงั คม บริการ 3.2 การบรหิ าร

4

ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์การ เนอื หา การจัดกระบวน จ้านวนชว่ั โมง
เรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
4 4. โครงการประกอบ 3.3 การจดั การความ
อาชพี นานานา้ พริก 4.1 บอก เสีย่ ง จัดการการตลาด 2
ความสาคญั ของ 3.3.1 การวเิ คราะห์ 3.2.1 ศึกษา
โครงการอาชีพนานา ศกั ยภาพใน
นา้ พรกิ การประกอบอาชีพ ข้อมูลการตลาด
4.2. บอกประโยชน์ นานาน้าพรกิ และวิเคราะห์ความ
ของโครงการอาชีพ 1) ค่าใช้จา่ ย ตอ้ งการของตลาด
นานานา้ พริก 2) ผลกาไร ในชมุ ชน
4.3 บอก 3) คู่แข่ง
องค์ประกอบของ 4) วิธีการลดตน้ ทุน 3.2.2
โครงการอาชีพนานา การแก้ปัญหาความ กาหนดทศิ ทาง
น้าพริก เสีย่ งในการประกอบ เป้าหมาย กลยทุ ธ์
4.4 อธบิ าย อาชพี นานาน้าพรกิ และแผนการตลาด
ความหมายของ
องคป์ ระกอบของ 4.1 ความสาคญั 3.2.3
โครงการอาชีพนานา ของโครงการอาชีพ ดาเนนิ การตาม
นา้ พริกได้ นานาน้าพริก กระบวนการจัดการ
4.2 ประโยชนข์ อง ตลาด เช่น การคดิ
โครงการอาชีพนานา ตน้ ทนุ การผลิต
น้าพริก กาหนดราคาขาย
4.3 องคป์ ระกอบ การส่งเสรมิ การ
ของโครงงานอาชีพ ขาย การกระจาย
นานาน้าพรกิ สินคา้
4.4 การเขียน
โครงการอาชีพนานา 4.1 จดั ให้ผู้เรยี น
นา้ พรกิ ศึกษาเนื้อหาจากใบ
4.5 การประเมนิ ความรู้ เรอื่ ง
ความเหมาะสมและ ความสาคญั ของ
สอดคล้องของ โครงการอาชีพ
โครงการอาชีพนานา ประโยชนข์ อง
นา้ พรกิ โครงการอาชีพ
องคป์ ระกอบของ
โครงการอาชีพ
แล้วจดั กจิ กรรมการ
สนทนาแลกเปลี่ยน
ข้อมลู ความคดิ เห็น
เพ่อื สรา้ งแนวคิดใน
การดาเนนิ กจิ กรรม
การเรยี นรู้

5

ที่ เรื่อง จดุ ประสงค์การ เนือหา การจดั กระบวน จา้ นวนชั่วโมง
เรยี นรู้ การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

4.5 อธบิ ายลกั ษณะ 4.2 จัดให้ผู้เรยี น

การเขยี นท่ดี ีของ ศกึ ษาสาระข้อมลู

องค์ประกอบของ จากใบความรู้ เร่ือง

โครงการอาชีพนานา ตัวอยา่ งการเขยี น

น้าพริกได้ โครงการอาชีพท่ีดี

4.6 เขยี นโครงการ เหมาะสม และ

ในแต่ละ ถูกต้อง พร้อม

องคป์ ระกอบให้ จดั การอภิปราย

เหมาะสมและ เพื่อสรุปแนวคิด

ถกู ต้องได้ เป็นแนวทางในการ

4.7 ตรวจสอบความ เขยี นโครงการ

เหมาะสมและ อาชพี ท่ดี ี เหมาะสม

สอดคลอ้ งของ และถูกตอ้ ง

โครงการอาชีพนานา 4.3 จัดให้ผู้เรยี น

น้าพรกิ ได้ ฝกึ ปฏบิ ัติ การเขียน

โครงการอาชีพ

4.4 กาหนดให้

ผเู้ รยี นฝกึ

ปฏิบัตกิ ารประเมิน

ความเหมาะสมและ

สอดคลอ้ งของ

โครงการอาชีพ

4.5 จดั ใหผ้ เู้ รยี น

ปรบั ปรงุ โครงการ

อาชีพ ให้มีความ

เหมาะสมและ

ถูกต้อง

4.6 กาหนดให้

ผู้เรียนเขียน

โครงการอาชีพของ

ตนเอง เพ่ือเสนอ

ขอรบั การสนบั สนนุ

งบประมาณ

ดาเนนิ งานอาชีพ

6

สื่อการเรยี นรู้
1. ส่ือสิ่งพมิ พ์ เอกสารใบความรู้
2. สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ Power point, VCD อนิ เตอร์เน็ต
3. สื่อบุคคลผูร้ ู้ / ภมู ิปัญญา

การวัดและประเมินผล
วัดความรโู้ ดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนื่อง แบบ กศ.ตน. 7

กรอบการประเมิน วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ

1.ความรู้ความเข้าใจ - สอบถามความรู้ความเขา้ ใจ - คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน
ในเนื้อหาสาระ (๒๐) - ตอ้ งได้ ๑๒ คะแนนข้ึนไปจึงจะถือวา่ ผ่าน
2. ทักษะการปฏบิ ัติ (๔๐) -สังเกตการปฏบิ ัตใิ นระหวา่ งการเรยี นรู้
การจัดกิจกรรม -ปฏิบัตไิ ด้ถูกต้องตามขั้นตอน
3. คุณภาพของผลงาน -ประเมนิ โดยให้สาธติ /แสดงข้ันตอนวิธีการ คล่องแคลว่ รวดเร็ว ไมม่ ีข้อผดิ พลาด/
ผลการปฏิบัติ (๔๐) ปฏบิ ัติ ปญั หา หากมปี ัญหาสามารถแก้ไขได้อยา่ ง
- ตรวจสอบผลงาน/ผลการปฏิบัติ รวดเรว็
ว่าเปน็ ไปตามเกณฑ์ที่กาหนดหรอื ไม่
- ความถกู ต้อง/ความสมบูรณ์
- ความแข็งแรงคงทน /ความสวยงาม
/ประณีต
ท้งั นเี้ กณฑก์ ารพิจารณาขึ้นอยู่กับ
ลักษณะหรือธรรมชาตขิ องวชิ า/
หลกั สตู รนน้ั

รวมคะแนน
(100 คะแนน)

เกณฑ์การจบหลักสูตร
1 มเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2 มผี ลการประเมินตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80

เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีจะได้รับหลังจากจบหลกั สูตร

-
การเทยี บโอน

-



7

แบบทดสอบก่อนเรยี น
กิจกรรม ชันเรียนวชิ าชพี (3๑ ช่วั โมงขึนไป)
หลกั สตู ร นานาน้าพรกิ จา้ นวน ๔๐ ชัว่ โมง

ช่อื ....................................................................................นามสกลุ ....................................................

คา้ สง่ั ใหเ้ ลือกคาตอบทถี่ กู ทส่ี ุดเพยี งข้อเดียวโดยทาเครอื่ งหมายกากบาท (x)

1) ข้อใด ที่นามาใสน่ า้ พรกิ ใหร้ สเปร้ยี ว 6) ขั้นตอนใดทาใหน้ า้ พริกกะปิมกี ลน่ิ หอม.
ก. มะนาว มะขามเปียก ก. ลา้ งพริกหน่มุ กระเทยี ม หอมแดง
ข. มะขามสด มะดัน ข. เตมิ เกลอื และน้าตาลทรายในนา้ พริกหน่มุ
ค. มะม่วง มะปราง รากา มะอกึ ค. เผากะปิ กระเทยี ม หอมแดงให้แหง้ พอเหลอื ง
ง. ใช้ได้ทุอยา่ งที่กล่าวมา ง. โขลกพริกหน่มุ กระเทยี มหอมแดง
2) จดุ ประสงค์ทไ่ี ม่ตอ้ งเดด็ กา้ นพรกิ ขี้หนเู มด็ เล็ก แต่ใหต้ าใส่ท้งั ก้าน ๗) การเดด็ ยอดผักมารับประทานกับนา้ พริกยงั คงเหลืองลาตน้
เพราะ ใบ และรากไว้ เปน็ การอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อมอย่างไร.
ก. จะช่วยให้นา้ พริกมรี สหอม ก. ต้นผักยังคงเจรญิ เตบิ โตและใหอ้ อกซิเจนต่อไป
ข. ไดป้ รมิ าณนา้ หนกั พรกิ มากข้ึน ข. เปน็ การกระตุ้นใหผ้ ักแตกยอด
ค. ทาใหน้ ้าพริกไมเ่ ผด็ เกินไป รสนุ่มขึน้ ค. เปน็ การลดยาฆา่ แมลง
ง. น้าพรกิ สีสวยสดขน้ึ ง. เปน็ การขยายพนั ธพ์ุ ชื วิธหี นึง่
3) อาหารข้อใดที่นามาทานแกล้มกบั นา้ พริก แลว้ ใหพ้ ลงั งานตา่ สดุ ๘) ขอ้ ใดเปน็ การประกอบอาหารอย่างมอี นามัย
ก. ปลาทูทอด ไขเ่ จียวหมสู บั ก. ล้างวัตถุดบิ อุปกรณท์ ุกอยา่ ง กอ่ นประกอบอาหาร
ข. หมหู ยอง ปลาย่าง ไข่ตม้ ข. ใชถ้ ้วยตวงและชอ้ นตวงในการตวงเครอื่ งปรงุ
ค. คอหมูยา่ ง เนอ้ื แดดเดียวทอด ไข่เคม็ ค. วตั ถุดบิ ทกุ อย่างต้องลวกกอ่ นประกอบอาหาร
ง. หมทู อด ปลาดกุ ฟู ทอดมันปลากราย ง. ปรุงรสอาหารหลงั จากอาหารสกุ แลว้
4) ผกั ทใ่ี ช้เปน็ เครื่องจ้มิ ข้อใดที่นยิ มรับประทานได้ทั้งดบิ และสุก 9 ) ข้อใดเป็นการประกอบอาหารสารบั แบบสงวนคุณคา่ .
ก. ดอกขจร ถั่วฝกั ยาว ก. การนาน้ามะขามเปยี กมาปรงุ รสอาหารโดยไมผ้ า่ นการตม้
ข. แครอท หวั ไชเท้า ข. การใสผ่ กั ลงไปในแกงออ่ มหลังปลาสกุ แล้วปิดไฟทันที
ค. ฟกั ทอง มะเขอื เปราะ ค. การคัน้ น้ากะทจิ ากมะพร้าวขูดจานวนน้อย
ง. ข้าวโพดออ่ น กระเจีย๊ บแดง ง. การเคี่ยวหมูในแกงฮงั เลจนนุม่
๕) การลา้ งผกั ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง 10) เพราะเหตผุ ลในข้อใดนา้ พริกจึงมีเครือ่ งเคยี งเครือ่ งแนม
ก. ควรลา้ งผักผา่ นทางน้าไหลเพื่อไลไ่ ขพ่ ยาธิ ก. เพม่ิ ความสวยงาม
ข. ผักต้องลา้ งเพ่ือใหส้ ะอาดไม่มฝี นุ่ เชอ้ื โรค ข. ทาให้อาหารมคี วามนา่ สนใจ
ค. ผกั กาดหอมควรแช่น้าเกลอื (เกลอื 2 ชอ้ นโต๊ะพูนต่อนา้ 4 ลติ ร) ค. เสริมรสซงึ่ กันและกนั
ง. ผักกาดขาวควรห่ันแล้วลา้ งใหส้ ะอาด ง. สรา้ งทางเลอื กในการรับประทานอาหาร

8

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

กิจกรรม ชนั เรยี นวิชาชีพ ( 3๑ ชว่ั โมงขึนไป)
หลกั สตู ร นานาน้าพรกิ จา้ นวน ๔๐ ชว่ั โมง

1. ง 6. ค
2. ก 7. ก
3. ข 8. ก
4. ก 9. ข
5. ง 10. ค

9

แบบทดสอบหลังเรียน
กจิ กรรม ชนั เรียนวิชาชีพ (3๑ ชวั่ โมงขึนไป)
หลักสตู ร นานานา้ พริก จ้านวน ๔๐ ช่ัวโมง

ช่ือ..............................................................................นามสกุล...............................................................

ค้าส่ัง ใหเ้ ลอื กคาตอบทถ่ี กู ท่สี ดุ เพยี งข้อเดียวโดยทาเครอื่ งหมายกากบาท (x)

๑) จดุ ประสงคท์ ี่ไม่ตอ้ งเดด็ กา้ นพริกขห้ี นเู มด็ เลก็ แตใ่ หต้ าใส่ทั้งกา้ น ๕) การลา้ งผักขอ้ ใดไม่ถกู ต้อง
เพราะ ก. ควรล้างผักผา่ นทางนา้ ไหลเพ่อื ไลไ่ ข่พยาธิ
ก. จะช่วยให้นา้ พริกมีรสหอม ข. ผกั ตอ้ งล้างเพอ่ื ใหส้ ะอาดไม่มฝี นุ่ เชื้อโรค
ข. ได้ปรมิ าณน้าหนักพริกมากขึน้ ค. ผกั กาดหอมควรแช่น้าเกลือ (เกลือ 2 ช้อนโต๊ะพูนต่อน้า 4 ลติ ร)
ค. ทาให้น้าพริกไม่เผด็ เกนิ ไป รสนมุ่ ขึน้ ง. ผกั กาดขาวควรห่ันแล้วลา้ งใหส้ ะอาด
ง. นา้ พริกสีสวยสดขน้ึ 7) ขอ้ ใดเป็นการประกอบอาหารอยา่ งมอี นามัย
๒) อาหารขอ้ ใดท่นี ามาทานแกล้มกับน้าพรกิ แล้วให้พลงั งานต่าสุด ก. ลา้ งวัตถดุ ิบ อุปกรณ์ทกุ อยา่ ง ก่อนประกอบอาหาร
ก. ปลาทูทอด ไข่เจยี วหมสู บั ข. ใช้ถ้วยตวงและช้อนตวงในการตวงเครือ่ งปรุง
ข. หมูหยอง ปลายา่ ง ไขต่ ม้ ค. วตั ถุดบิ ทุกอย่างตอ้ งลวกก่อนประกอบอาหาร
ค. คอหมูยา่ ง เนอ้ื แดดเดียวทอด ไขเ่ คม็ ง. ปรุงรสอาหารหลงั จากอาหารสกุ แลว้
ง. หมทู อด ปลาดุกฟู ทอดมนั ปลากราย 8) การเดด็ ยอดผักมารับประทานกบั นา้ พริกยงั คงเหลอื งลาต้น
1) ข้อใด ที่นามาใสน่ า้ พริกใหร้ สเปร้ยี ว ใบ และรากไว้ เปน็ การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มอยา่ งไร.
ก. มะนาว มะขามเปียก ก. ต้นผักยังคงเจรญิ เตบิ โตและใหอ้ อกซเิ จนต่อไป
ข. มะขามสด มะดนั ข. เปน็ การกระต้นุ ใหผ้ กั แตกยอด
ค. มะม่วง มะปราง รากา มะอกึ ค. เปน็ การลดยาฆา่ แมลง
ง. ใช้ได้ทอุ ยา่ งที่กล่าวมา ง. เป็นการขยายพันธ์พุ ชื วิธีหนึง่
4) เพราะเหตผุ ลในข้อใดน้าพรกิ จงึ มเี คร่อื งเคียงเครอ่ื งแนม 9 ) ข้อใดเปน็ การประกอบอาหารสารบั แบบสงวนคณุ คา่ .
ก. เพ่มิ ความสวยงาม ก. การนานา้ มะขามเปยี กมาปรงุ รสอาหารโดยไม้ผา่ นการต้ม
ข. ทาให้อาหารมีความน่าสนใจ ข. การใส่ผักลงไปในแกงออ่ มหลงั ปลาสุกแล้วปิดไฟทันที
ค. เสรมิ รสซง่ึ กนั และกัน ค. การคน้ั น้ากะทิจากมะพร้าวขูดจานวนน้อย
ง. สร้างทางเลอื กในการรับประทานอาหาร ง. การเคี่ยวหมใู นแกงฮงั เลจนนุ่ม
๕) ขนั้ ตอนใดทาใหน้ า้ พรกิ กะปิมกี ลน่ิ หอม. 4) ผักทใ่ี ช้เป็นเครื่องจม้ิ ข้อใดท่ีนยิ มรับประทานได้ท้ังดบิ และสกุ
ก. ล้างพรกิ หนุ่ม กระเทยี ม หอมแดง ก. ดอกขจร ถัว่ ฝกั ยาว
ข. เตมิ เกลือและนา้ ตาลทรายในน้าพริกหนุม่ ข. แครอท หัวไชเท้า
ค. เผากะปิ กระเทยี ม หอมแดงให้แห้งพอเหลือง ค. ฟักทอง มะเขือเปราะ
ง. โขลกพริกหนุม่ กระเทียมหอมแดง ง. ข้าวโพดอ่อน กระเจีย๊ บแดง

10

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

กจิ กรรม ชนั เรยี นวชิ าชีพ ( 3๑ ชัว่ โมงขนึ ไป)
หลักสตู ร นานาน้าพรกิ จ้านวน ๔๐ ชว่ั โมง

1. ก 6. ง
2. ข 7.ข
3. ง 8.ค
4. ค 9.ง
5. ค 10. ก

11

หลักสตู ร วิชาการถนอมอาหาร 1
(แหนมหมู,แหนมปลา,แหนมไก่,แหนมเห็ด,แหนมซโี ครงหมู,แหนมเอน็ ไก่, หมูส้ม,ปลาส้ม) จา้ นวน 4๐ชวั่ โมง

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อา้ เภอโพธท์ิ อง
ส้านักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอา่ งทอง



ความเปน็ มา
เพ่ือเป็นการตอบสนองนโยบายและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน กศน. ได้

นานโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษา เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอาชีพมาสู่การปฏิบัติ เพ่ือจัดการศึกษา
การประกอบอาชีพถนอมอาหาร ซ่ึงเป็นอาชีพที่สามารถนาผลผลิตท่ีมีอยู่ในชุมชนมาแปรรูป เพ่ิมมูลค่า และจัด
จาหน่ายทาให้เกิดผลกาไรสูง ขายได้ตามแหล่งชุมชน และสถานท่ีท่องเที่ยวทั่วไป สามารถสร้างรายได้ได้อย่าง
มั่นคงให้กับผู้ท่ีไม่มีอาชีพ และผู้ท่ีต้องการพัฒนาอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเอง
ชุมชน และสงั คม

ดังนั้น เพื่อต้องการสร้างอาชีพให้แก่ประชาชนทว่ั ไป ท่ีสนใจในการถนอมอาหาร และเปน็ การนาความรู้
ภูมิปัญญาในท้องถิ่น มาถ่ายทอดความรู้การถนอมอาหาร ก่อให้เกิดรายได้แก่คนในชุมชน ซึ่งสามารถเพ่ิมรายได้
ภาคครัวเรือน และเป็นการสร้างเอกลักษณ์ให้แก่คนในชุมชนได้ พร้อมเป็นการสร้างอาชีพที่ยั่งยืนให้กับคนใน
ชุมชนไดอ้ ีกวธิ ีหนงึ่ ดว้ ย

หลกั การของหลักสตู ร
หลกั สูตรการประกอบอาชีพ วชิ าการถนอมอาหาร (แหนมหมู,แหนมปลา,แหนมไก่,แหนมเหด็ ,แหนมซี

โครงหม,ู แหนมเอน็ ไก่,หมูส้ม,ปลาส้ม) มีหลักการ ดังนี้
1. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทาของประชาชน
2. ม่งุ พัฒนาให้ผ้เู รียนได้รบั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง และ

เทา่ เทียมกนั เป็นบคุ คลท่ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตสานกึ ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ่ืน และสังคม
3. เปน็ หลกั สูตรท่สี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเรียนรจู้ ากการลงมือปฏิบัติจริง และสามารถนาความรูแ้ ละ
ประสบการณ์ท่ีได้รับไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

จดุ มุ่งหมาย
หลักสูตรการประกอบอาชีพ วิชาการถนอมอาหาร (แหนมหมู,แหนมปลา,แหนมไก่,แหนมเห็ด,

แหนมซโี ครงหม,ู แหนมเอ็นไก่,หมูส้ม,ปลาส้ม) มจี ดุ หมาย ดงั นี้

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และมีทักษะในการทา วิชาการถนอมอาหาร (แหนมหมู,แหนมปลา,แหนม
ไก,่ แหนมเหด็ ,แหนมซโี ครงหม,ู แหนมเอ็นไก่,หมูส้ม,ปลาสม้ )

2. เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถทาวิชาการถนอม (แหนมหมู,แหนมปลา,แหนมไก่,แหนมเห็ด,แหนมซีโครง
หมู,แหนมเอน็ ไก่,หมสู ม้ ,ปลาสม้ ) ได้

3. เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถนาความรูท้ ี่ได้ไปใชป้ ระกอบอาชีพ และสรา้ งรายได้ทยี่ ัง่ ยืน

12

ระยะเวลา จ้านวน 4๐ ชั่วโมง

1. ภาคทฤษฎี 10 ชวั่ โมง

2. ภาคปฏิบตั ิ 30 ชวั่ โมง
โครงสรา้ งหลักสูตร

ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เนือหา กระบวนการเรียนรู้ จา้ นวนชั่วโมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

๑ ช่องทางการ ๑. เพ่อื ผูเ้ รียนมี ๑.การวิเคราะห์บรบิ ท ๑.วิทยากรและผู้เรยี นร่วม 3

ประกอบอาชีพ ความรู้ ความเข้าใจ ของชมุ ชน สงั คม และ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ บริบทของ

สามารถวิเคราะห์ สง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือประกอบ ชมุ ชน สงั คม และส่งิ แวดล้อม

ขอ้ มูลบริบทชมุ ชน อาชีพ เพือ่ ประกอบอาชพี

สงั คมส่งิ แวดลอ้ มได้ ๒.ทางเลอื กการสรา้ ง ๒.ผเู้ รียนสรปุ ผลการวิเคราะห์

๒. เพ่อื ให้ผเู้ รียน อาชีพอยา่ งสร้างสรรค์ การแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พ่อื ใช้ใน

สามารถตัดสินใจ และเพ่ิมมูลค่าของ การตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ

การเลือกอาชีพได้ ๓.วิทยากรอธิบายถึงทางเลอื ก

การสร้างอาชีพอย่างสร้างสรรค์

และการเพมิ่ มลู ค่าของตัวสินค้า

รปู แบบของผลติ ภณั ฑ์หรือ

บรกิ าร

ทกั ษะอาชพี ข้ันตอนการฝึก ๑. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี 2
ขนั้ ตอนการฝึก ปฏิบตั กิ ารประกอบ เลอื กซื้อวสั ดอุ ปุ กรณไ์ ด้ การทาแหนมหมู
ปฏิบตั ิการ อาชีพการทาแหนม อยา่ งมีคณุ ภาพ ๒. การทาแหนมหมู
ประกอบอาชีพ หมู ๒. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถ ๓. สว่ นผสมและวธิ ีการทา
การทาแหนมหมู บอกส่วนผสมของการทา แหนมหมู

แหนมหมู ๔. งบประมาณการการทา

๓. เพื่อใหผ้ ้เู รียนสามารถ แหนมหมู

บอกข้ันตอนการทาหมูสม้

๒ ทักษะอาชพี ขน้ั ตอนการฝึก ๑. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ ๑. ทักษะการประกอบอาชีพ 1 4

ขน้ั ตอนการฝึก ปฏบิ ัติการประกอบ เลอื กซื้อวสั ดอุ ุปกรณไ์ ด้ การทาแหนมปลา
ปฏิบัตกิ าร
ประกอบอาชีพ อาชีพการทาแหม อย่างมีคุณภาพ ๒. การทาแหนมปลา
การทาแหนม ปลา ๒. เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถ ๓. สว่ นผสมและวิธีการทา
ปลา บอกสว่ นผสมของการทา แหนมปลา
แหนมปลาได้ ๔. งบประมาณการการทา
๓.เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถ แหนมปลา
บอกขัน้ ตอนการทาแหนม

ปลา

13

ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์ เนอื หา กระบวนการเรียนรู้ จ้านวนชว่ั โมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
๓ ทกั ษะอาชีพ ข้นั ตอนการฝกึ ๑. เพือ่ ให้ผเู้ รยี นสามารถ ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี
ขัน้ ตอนการฝึก เลือกซื้อวัสดอุ ุปกรณไ์ ด้ การทาแหนมไก่ 14
ปฏิบตั ิการ ปฏิบัตกิ ารประกอบ อย่างมีคุณภาพ ๒. การทาแหนมไก่
ประกอบอาชีพ ๒. เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถ ๓. ส่วนผสมและการทาแหนม
การทาแหนมไก่ อาชีพการทาแหนม บอกสว่ นผสมของการทา ไก่
แหนมไก่ ๔. งบประมาณการการทา
ไก่ ๓.เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถ แหนมไก่
บอกขน้ั ตอนการทาแหนม
ไก่

4 ทักษะอาชีพ ขั้นตอนการฝึก ๑. เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถ ๑. ทักษะการประกอบอาชพี 1 4

ขัน้ ตอนการฝึก ปฏบิ ัติการประกอบ เลอื กซ้ือวสั ดอุ ุปกรณ์ได้ การทาแหนมเห็ด
ปฏบิ ัติการ
อาชีพการทาแหนม อย่างมีคณุ ภาพ ๒. การทาแหนมเหด็
ประกอบอาชีพ เหด็ ๒. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนสามารถ ๓. สว่ นผสมและวิธกี ารทา
การทาแหนมเห็ด บอกส่วนผสมของการทา แหนมเหด็
แหนมเหด็
๓.เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นสามารถ ๔. งบประมาณการการทา
บอกขัน้ ตอนการทาแหนม แหนมเหด็

เห็ด

5 ทกั ษะอาชีพ ขัน้ ตอนการฝึก ๑. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสามารถ ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี 1 ๔

ขน้ั ตอนการฝึก ปฏบิ ัติการประกอบ เลือกซื้อวัสดอุ ปุ กรณ์ได้ การทาแหนมซโี ครงหมู
ปฏบิ ตั กิ าร
ประกอบอาชีพ อาชีพการทาแหนม อย่างมีคุณภาพ ๒. การทาแหนมซีโครงหมู
การทาแหนมซี ซโี ครงหมู ๒. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถ ๓. ส่วนผสมและวิธีการทา
โครงหมู บอกส่วนผสมของการทา แหนมซีโครงหมู
แหนมซีโครงหมู
๓.เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถ ๔. งบประมาณการการทา
บอกขน้ั ตอนการทาแหนม แหนมซโี ครงหมู

ซีโครงหมู

6 ทกั ษะอาชีพ ขั้นตอนการฝกึ ๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถ ๑. ทักษะการประกอบอาชพี 1 4

ขั้นตอนการฝึก ปฏิบัติการประกอบ เลอื กซ้ือวัสดอุ ุปกรณไ์ ด้ การทาแหนมเอ็นไก่
ปฏิบตั กิ าร
อาชีพการทาแหนม อย่างมีคุณภาพ ๒. การทาแหนมเอ็นไก่
ประกอบอาชีพ เอน็ ไก่
การทาแหนมเอน็ ๒. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นสามารถ ๓. ส่วนผสมและวิธกี ารทา
ไก่ บอกสว่ นผสมของการทา แหนมเอ็นไก่

14

ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เนือหา กระบวนการเรียนรู้ จ้านวนชว่ั โมง
การเรยี นรู้ ๔. งบประมาณการการทา ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
7 ทกั ษะอาชีพ แหนมเอ็นไก่ แหนมเอน็ ไก่
ข้นั ตอนการฝกึ ขน้ั ตอนการฝึก ๓.เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถ 14
ปฏิบตั ิการ ปฏบิ ตั ิการประกอบ บอกขน้ั ตอนการทาแหนม ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี
ประกอบอาชีพ อาชพี การทาหมสู ม้ เอน็ ไก่ การทาหมูสม้
การทาหมสู ้ม ๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ ๒. การทาหมสู ม้
เลือกซื้อวัสดุอปุ กรณไ์ ด้ ๓. สว่ นผสมและวธิ กี ารทาหมู
8 ทกั ษะอาชพี อยา่ งมีคุณภาพ ส้ม
ข้ันตอนการฝึก ๒. เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถ ๔. งบประมาณการการทาหมู
ปฏิบตั กิ าร บอกส่วนผสมของการทา ส้ม
ประกอบอาชีพ หมูสม้ ได้
การทาปลาสม้ ๓.เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถ
บอกขน้ั ตอนการทาหมูส้ม

ขัน้ ตอนการฝึก ๑. เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถ ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี 1 4

ปฏิบตั ิการประกอบ เลือกซ้ือวสั ดอุ ปุ กรณไ์ ด้ การทาปลาสม้

อาชพี การทาปลาส้ม อยา่ งมีคณุ ภาพ ๒. การทาปลาสม้
๒. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถ
บอกสว่ นผสมของการทา ๓. ส่วนผสมและวธิ ีการทาปลา
ปลาสม้ ได้ ส้ม
๓.เพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถ ๔. งบประมาณการการทาปลา
บอกขน้ั ตอนการทาปลา สม้

ส้ม

สือ่ การเรยี นรู้
๑. สอื่ เอกสารใบความรู้ในการบรรยายและสาธติ อาชีพ
๒. ผรู้ ู้ /ภูมปิ ัญญา
๓. วัตถดุ ิบของจรงิ ทีน่ ามาใช้ในการปฏบิ ตั ิ

15

การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ
กรอบการประเมิน - ทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ
- สอบถามความรู้ความเขา้ ใจ - คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน
๑.ความรคู้ วามเขา้ ใจในเนอ้ื หาสาระ - ตอ้ งได้ ๑๒ คะแนนขน้ึ ไปจึงจะถือ
(๒๐) - สังเกตการณป์ ฏบิ ัตใิ นระหว่างการ ว่าผ่าน
เรยี นรกู้ ารจดั กจิ กรรม
๒.ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ (๔๐) - ประเมินโดยใหส้ าธิต/แสดง -ปฏบิ ตั ิได้ถูกต้องตามข้นั ตอน
ข้ันตอนวธิ ีการปฏิบตั ิ คลอ่ งแคล่ว รวดเรว็ ไมม่ ี
๓.คณุ ภาพของอาหารท่ีถนอม - สังเกต/ตรวจสอบผลงาน/ผลการ ขอ้ ผดิ พลาด/ปัญหา หากมีปัญหา
ผลการปฏบิ ตั ิ (๔๐) ปฏิบัติ วา่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ สามารถแก้ไขได้อยา่ งรวดเร็ว
กาหนดหรอื ไม่
รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน) - ฝกึ ปฏบิ ตั ไิ ดถ้ ูกต้อง
- สามารถใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ตั ติ ามหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐
2. มีผลการประเมินผ่านตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐
3. มีผลงานผา่ นการประเมนิ ทดสอบท่ีมีคณุ ภาพตามหลักเกณฑ์

เอกสารหลักฐานการศึกษา
หลกั ฐานการประเมนิ ผล

การเทียบโอน 
-

16

แบบทดสอบก่อนเรยี น

การศกึ ษาต่อเนื่อง กิจกรรมชนั เรยี นวิชาชีพ (หลักสตู ร 31 ช่วั โมงขึนไป)
วชิ า ถนอมอาหาร1 จา้ นวน 40 ชัว่ โมง

ช่อื ....................................................................................นามสกุล....................................................

คา้ ส่ัง ใหเ้ ลอื กคาตอบทถ่ี ูกที่สดุ เพยี งข้อเดียวโดยทาเคร่ืองหมายกากบาท (x)

1. ขอใดคือคณุ สมบัติของการถนอมอาหาร 6.สาเหตุการเนา่ เสียของอาหารคือข้อใด
ก. มีวธิ ีการหุงตมหลายวิธี ก. เกดิ จากสิ่งมชี ีวิตเอนไซม์จุลนิ ทรีย์ทาให้อาหาร
ข. ชว่ ยเพิ่มคุณคาทางอาหาร เปล่ยี นแปลงสภาพ
ค. ชวยใหอาหารมีรสชาตดิ ขี ้ึน ข. เกดิ จากวตั ถุดบิ และปฏกิ ริ ิยาทางเคมกี ารใชภ้ าชนะที่ทา
ง. เป็นการแปรรปู อาหารทาใหอยูไดนาน ด้วยเหลก็ ทองแดง ตะก่วั จะทาให้สีกลนิ่ รสอาหารเปลีย่ นไป
ค. เกิดจากการบรรจุภัณฑ์และการขนยา้ ยไม่ดที าใหภ้ าชนะ
2. กอนจะถนอมอาหารควรปฏิบตั ขิ อใด แตก บบุ ฉีกทาให้เชือ้ ราและแบคทรเี รียเข้าไปปนเป้ือน
ก. ล้างภาชนะและอุปกรณใหสะอาด ง. ถกู ทกุ ข้อ
ข. ลา้ งวัตถุดบิ ใหสะอาด 7.การถนอมอาหารโดยอาศัยจุลินทรีย์ท่ีมีประโยชน์เป็นตัว
ค. ถูกทงั้ ขอ ก และขอ ข ช่วยในการย่อยสลายอาหารสดเพื่อให้เกิดรสเค็มรสเปรี้ยว
ง. แตงกายใหสวยงาม รสหวานอาหารหมกั ที่พบไดแ้ ก่ขอ้ ใด.
ก. นา้ ปลา
3. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการถนอมอาหาร ข. ปลารา้
ก. ชว่ ยยืดอายุการเกบ็ อาหารไว้ไดน้ าน ค. ขา้ วหมาก แหนม ผักกาดดอง หน่อไมด้ อง
ประหยัดค่าใชจ้ า่ ย มีอาหารนอกฤดูกาล ง. ถกู ทกุ ข้อ
ข. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหารไปในท้องถิ่นที่ 8.ข้อใดเปน็ กระบวนการถนอมอาหาร
ไมม่ ีอาหารชนดิ นั้นๆ ก. นากลว้ ยสกุ มาทากลว้ ยบวชชี
ค. ใช้อาหารท่ีมมี ากรบั ประทานไม่หมดใหเ้ กดิ ข. นากลว้ ยสกุ มากวน
ประโยชน์ ลดปญั หาการขาดแคลนอาหาร ค. นาเน้ือสัตวม์ าทาเปน็ แหนม
สะดวกในการ ขนส่ง ลดปญั หาการขาด ง. นากลว้ ยสกุ มาทาข้าวต้มมดั
แคลนอาหาร 9.ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยชนข์ องการถนอมอาหาร
ง. ถกู ทุกข้อ ก. มตี ลาดรองรบั
ข. ปอ้ งกันอาหารล้นตลาด
4. ข้อใดเป็นการถนอมอาหาร ค. มีอาหารบริโภคนอกฤดู
ก. แกงเผ็ด ง. ชว่ ยยดื อายุการเกบ็ รักษาอาหารไว้ไดน้ าน
ข. แหนมหมู 10. ข้อใดไม่ใชเ่ ป็นการถนอมอาหาร
ค. แกงจืด ก. แกงเห็ด
ง. ไข่ลกู เขย ข. แหนมหมู
ค. หมสู ้ม
5. การถนอมอาหาร หมายถงึ ขอ้ ใด ง. ไขเ่ ค็ม
ก. การปรงุ แต่งอาหารให้ได้รสชาดท่แี ปลกใหม่
ข. การปรงุ แตง่ อาหารให้ไดล้ กั ษณะท่ีแปลกไป
กวา่ เดิม
ค. การยดื ระยะเวลาการเกบ็ อาหารชนิดน้นั
ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

17

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง กจิ กรรมชนั เรยี นวิชาชพี (หลักสูตร 31 ช่ัวโมงขนึ ไป)
วชิ า ถนอมอาหาร1 จา้ นวน 40 ชัว่ โมง

1. ง 6. ง
2. ค 7. ง
3. ก 8. ค
4. ค 9. ก
5. ค 10. ก

18

แบบทดสอบหลังเรียน

การศกึ ษาต่อเนื่อง กิจกรรมชันเรียนวิชาชีพ (หลักสตู ร 31 ชั่วโมงขนึ ไป)
วิชา ถนอมอาหาร1 จา้ นวน 40 ชว่ั โมง

ช่อื ....................................................................................นามสกลุ ....................................................

คา้ ส่ัง ให้เลอื กคาตอบทถ่ี ูกที่สดุ เพยี งข้อเดยี วโดยทาเคร่ืองหมายกากบาท (x)

1. ขอใดคือคณุ สมบัติของการถนอมอาหาร 6.สาเหตุการเน่าเสียของอาหารคือข้อใด
ก. มีวธิ ีการหุงตมหลายวิธี ก. เกดิ จากส่ิงมีชีวติ เอนไซม์จลุ ินทรีย์ทาให้อาหาร
ข. ชว่ ยเพิ่มคุณคาทางอาหาร เปลยี่ นแปลงสภาพ
ค. ชวยใหอาหารมีรสชาตดิ ขี ึ้น ข. เกดิ จากวตั ถดุ บิ และปฏกิ ริ ิยาทางเคมีการใช้ภาชนะที่ทา
ง. เป็นการแปรรปู อาหารทาใหอยูไดนาน ด้วยเหล็กทองแดง ตะกั่วจะทาให้สกี ลน่ิ รสอาหารเปล่ยี นไป
ค. เกิดจากการบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการขนย้ายไม่ดีทาใหภ้ าชนะ
2. กอนจะถนอมอาหารควรปฏิบตั ขิ อใด แตก บบุ ฉีกทาใหเ้ ช้อื ราและแบคทีเรียเขา้ ไปปนเปอ้ื น
ก. ล้างภาชนะและอปุ กรณใหสะอาด ง. ถูกทกุ ข้อ
ข. ลา้ งวัตถุดบิ ใหสะอาด 7.การถนอมอาหารโดยอาศัยจุลินทรีย์ท่ีมีประโยชน์เป็นตัว
ค. ถูกทงั้ ขอ ก และขอ ข ช่วยในการย่อยสลายอาหารสดเพื่อให้เกิดรสเค็มรสเปร้ียว
ง. แตงกายใหสวยงาม รสหวานอาหารหมกั ทพ่ี บไดแ้ กข่ อ้ ใด.
ก. นา้ ปลา
3. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องการถนอมอาหาร ข. ปลารา้
ก. ชว่ ยยืดอายุการเกบ็ อาหารไว้ไดน้ าน ค. ขา้ วหมาก แหนม ผักกาดดอง หน่อไมด้ อง
ประหยัดค่าใชจ้ า่ ย มีอาหารนอกฤดูกาล ง. ถูกทกุ ข้อ
ข. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหารไปในท้องถ่ินท่ี 8.ขอ้ ใดเปน็ กระบวนการถนอมอาหาร
ไมม่ ีอาหารชนดิ นั้นๆ ก. นากลว้ ยสุกมาทากล้วยบวชชี
ค. ใช้อาหารท่ีมมี ากรบั ประทานไม่หมดใหเ้ กดิ ข. นากล้วยสกุ มากวน
ประโยชน์ ลดปัญหาการขาดแคลนอาหาร ค. นาเนื้อสัตว์มาทาเปน็ แหนม
สะดวกในการ ขนส่ง ลดปญั หาการขาด ง. นากลว้ ยสกุ มาทาขา้ วตม้ มัด
แคลนอาหาร 9.ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของการถนอมอาหาร
ง. ถกู ทุกข้อ ก. มตี ลาดรองรบั
ข. ปอ้ งกันอาหารลน้ ตลาด
4. ข้อใดเป็นการถนอมอาหาร ค. มีอาหารบรโิ ภคนอกฤดู
ก. แกงเผ็ด ง. ชว่ ยยดื อายุการเก็บรักษาอาหารไว้ได้นาน
ข. แหนมหมู 10. ขอ้ ใดไม่ใช่เปน็ การถนอมอาหาร
ค. แกงจืด ก. แกงเห็ด
ง. ไข่ลกู เขย ข. แหนมหมู
ค. หมสู ้ม
5. การถนอมอาหาร หมายถึงข้อใด ง. ไขเ่ ค็ม
ก. การปรงุ แต่งอาหารให้ไดร้ สชาดท่แี ปลกใหม่
ข. การปรงุ แตง่ อาหารให้ไดล้ กั ษณะท่ีแปลกไป
กวา่ เดิม
ค. การยดื ระยะเวลาการเกบ็ อาหารชนิดน้นั
ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

19

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง กจิ กรรมชนั เรยี นวิชาชพี (หลักสูตร 31 ช่ัวโมงขนึ ไป)
วชิ า ถนอมอาหาร1 จา้ นวน 40 ชัว่ โมง

1. ง 6. ง
2. ค 7. ง
3. ก 8. ค
4. ค 9. ก
5. ค 10. ก

20

หลักสูตร วิชาการถนอมอาหาร 2 (แหนมหมู,แหนมซ่โี ครงหมู,แหนมปลา,แหนมเอ็นไก่,หมูแดดเดียว,ปลาส้ม
ปลาสลิดแดดเดียว,ปลาช่อนแดดเดยี ว) จา้ นวน ๔๐ ชั่วโมง

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อ้าเภอโพธท์ิ อง
สา้ นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดอา่ งทอง



ความเปน็ มา

เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายและขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน กศน. ได้
นานโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษา เกี่ยวกับการจัดการศึกษาอาชีพมาสู่การปฏิบัติเพื่อจัดการศึกษา
การประกอบอาชีพถนอมอาหาร ซ่ึงเป็นอาชีพที่สามารถนาผลผลิตท่ีมีอยู่ในชุมชนมาแปรรูป เพ่ิมมูลค่า และจัด
จาหน่ายทาให้เกิดผลกาไรสูง ขายได้ตามแหล่งชุมชน และสถานที่ท่องเที่ยวทั่วไป สามารถสร้างรายได้ได้อย่าง
มั่นคงให้กับผู้ท่ีไม่มีอาชีพ และผู้ท่ีต้องการพัฒนาอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเอง
ชมุ ชน และสังคม

ดังนั้น เพ่ือต้องการสร้างอาชพี ให้แก่ประชาชนท่วั ไป ทส่ี นใจในการถนอมอาหาร และเปน็ การนาความรู้
ภูมิปัญญาในท้องถ่ิน มาถ่ายทอดความรู้การถนอมอาหาร ก่อให้เกิดรายได้แก่คนในชุมชน ซ่ึงสามารถเพิ่มรายได้
ภาคครัวเรือน และเป็นการสร้างเอกลักษณ์ให้แก่คนในชุมชนได้ พร้อมเป็นการสร้างอาชีพท่ีย่ังยืนให้กับคนใน
ชุมชนได้อกี วิธีหน่งึ ด้วย

หลักการของหลักสตู ร

หลักสูตรการประกอบอาชพี วิชาการถนอมอาหาร 2 (แหนมหมู,แหนมซโี่ ครงหม,ู แหนมปลา,
แหนมเอ็นไก่) มีหลักการ ดังน้ี

1. เปน็ หลักสตู รการศึกษาอาชพี เพือ่ การมีงานทาของประชาชน
2. มงุ่ พัฒนาใหผ้ ูเ้ รยี นได้รบั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ทว่ั ถงึ และ
เทา่ เทียมกัน เป็นบุคคลทมี่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตสานกึ ความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ผ้อู ืน่ และสงั คม
3. เป็นหลักสูตรที่สง่ เสริมให้ผเู้ รียนเรียนรจู้ ากการลงมือปฏิบัติจริง และสามารถนาความรู้และ
ประสบการณ์ท่ไี ด้รบั ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
จุดมงุ่ หมาย

หลกั สูตรการประกอบอาชพี วชิ าการถนอมอาหาร 2 (แหนมหมู,แหนมซโ่ี ครงหม,ู แหนมปลา,
แหนมเอน็ ไก่) มีจดุ หมาย ดังนี้

1. เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามรู้และมที ักษะในการทา วิชาการถนอมอาหาร2 (แหนมหมู,แหนมซี่โครงหมู,
แหนมปลา,แหนมเอ็นไก่)

2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทาวิชาการถนอมอาหาร2 (แหนมหมู,แหนมซ่ีโครงหมู,แหนมปลา,
แหนมเอน็ ไก่) ได้ เพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปใช้ประกอบอาชีพ และสรา้ งรายได้ทีย่ ั่งยนื
ระยะเวลา จ้านวน ๔0 ชว่ั โมง

ภาคทฤษฎี ๒ ชวั่ โมง
ภาคปฏิบตั ิ ๓๘ ชว่ั โมง

21

โครงสรา้ งหลกั สูตร

ท่ี เรอื่ ง จุดประสงค์การ เนอื หา การจัดกระบวน จ้านวนชวั่ โมง

เรียนรู้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

๑ ชอ่ งทางการประกอบ ๑. เพ่ือผ้เู รยี นมี ๑.การวิเคราะห์ ๑.วทิ ยากรและ ๒๓

อาชีพ ความรู้ ความเข้าใจ บริบทของชมุ ชน ผูเ้ รยี นรว่ ม

สามารถวเิ คราะห์ สังคม และ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

ข้อมูลบริบทชุมชน สง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อ บริบทของชุมชน

สงั คมสิ่งแวดลอ้ มได้ ประกอบอาชีพ สงั คม และ

๒. เพอื่ ให้ผูเ้ รยี น ๒.ทางเลอื กการสรา้ ง สิง่ แวดลอ้ ม เพ่ือ

สามารถตัดสนิ ใจการ อาชพี อย่าง ประกอบอาชีพ

เลอื กอาชพี ได้ สร้างสรรค์และเพมิ่ ๒.ผ้เู รียนสรปุ ผลการ

มลู คา่ ของ วเิ คราะห์การ

แลกเปลีย่ นเรียนรู้

เพือ่ ใช้ในการ

ตดั สนิ ใจประกอบ

อาชีพ

๓.วิทยากรอธบิ ายถงึ

ทางเลอื กการสรา้ ง

อาชีพอย่าง

สรา้ งสรรคแ์ ละการ

เพม่ิ มลู ค่าของตวั

สนิ ค้า รูปแบบของ

ผลิตภัณฑห์ รือ

บริการ

๒ ชนั้ เรยี นวชิ าชีพ ขัน้ ตอนการฝกึ ๑. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี น ๑. ทกั ษะการ ๕

ขน้ั ตอนการฝกึ ปฏิบัติการ ปฏบิ ัติการประกอบ สามารถเลอื กซ้ือวสั ดุ ประกอบอาชีพการ

ประกอบอาชีพการทา อาชีพการทาแหนม อปุ กรณ์ได้อย่างมี ทาแหนมหมู

แหนมหมู หมู คณุ ภาพ ๒. การทาแหนมหมู

๒. เพื่อใหผ้ เู้ รียน ๓. สว่ นผสมและ

สามารถบอก วิธีการทาแหนมหมู

สว่ นผสมของการทา ๔. งบประมาณการ

แหนมหมู การทาแหนมหมู

๓. เพื่อใหผ้ ู้เรยี น

สามารถบอกขั้นตอน

การทาแหนมหมู

22

ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์การ เนือหา การจัดกระบวน จา้ นวนชว่ั โมง

เรยี นรู้ ๑. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียน การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
สามารถเลอื กซื้อวสั ดุ
3 ช้นั เรียนวิชาชีพ ขั้นตอนการฝึก อุปกรณ์ได้อย่างมี ๑. ทกั ษะการ ๕
คณุ ภาพ
ขัน้ ตอนการฝึกปฏบิ ัติการ ปฏิบตั กิ ารประกอบ ๒. เพ่ือให้ผูเ้ รียน ประกอบอาชีพการ
สามารถบอก
ประกอบอาชีพการทา อาชีพการทาแหนม สว่ นผสมของการทา ทาแหนมปลา
แหนมซโ่ี ครงหมูได้
แหนมปลา ปลา ๓.เพื่อให้ผู้เรยี น ๒. การทาแหนมปลา
สามารถบอกข้ันตอน
การทาแหนมปลา ๓. ส่วนผสมและ
๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น
สามารถเลือกซือ้ วัสดุ วิธีการทาแหนม
อปุ กรณ์ได้อย่างมี
คุณภาพ ซ่ีโครงหมู
๒. เพ่ือให้ผเู้ รียน
สามารถบอก ๔. งบประมาณการ
ส่วนผสมของการทา
แหนมซโี ครงหมู การทาแหนมปลา
๓.เพ่ือให้ผูเ้ รยี น
4 ชั้นเรยี นวิชาชพี ขนั้ ตอนการฝกึ สามารถบอกข้ันตอน ๑. ทักษะการ ๕
การทาแหนมซ่โี ครง ประกอบอาชีพการ
ขั้นตอนการฝึกปฏบิ ัติการ ปฏิบัตกิ ารประกอบ หมู ทาแหนมซี่โครงหมู
๑. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียน ๒. การทาแหนม
ประกอบอาชีพการทา อาชพี การทาแหนม สามารถเลือกซอ้ื วสั ดุ ซี่โครงหมู
อปุ กรณ์ได้อย่างมี ๓. สว่ นผสมและการ
แหนมซโ่ี ครงหมู ซี่โครงหมู คุณภาพ ทาแหนซี่โครงหมู
๒. เพ่ือให้ผู้เรยี น ๔. งบประมาณการ
สามารถบอก การทาแหนมซโ่ี ครง
ส่วนผสมของการทา หมู
แหนมเอ็นไก่
5 ชั้นเรยี นวิชาชพี ขน้ั ตอนการฝึก ๓.เพ่ือให้ผเู้ รยี น ๑. ทักษะการ ๕
สามารถบอกขน้ั ตอน ประกอบอาชีพการ
ขน้ั ตอนการฝึกปฏบิ ตั กิ าร ปฏบิ ัตกิ ารประกอบ การทาแหนมเอ็นไก่ ทาแหนมเอ็นไก่
๒. การทาแหนมเอน็
ประกอบอาชีพการทา อาชีพการทาแหนม ไก่
๓. สว่ นผสมและ
แหนมเอน็ ไก่ เอ็นไก่ วิธกี ารทาแหนมเอน็
ไก่
๔. งบประมาณการ
การทาแหนมเอ็นไก่

23

ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงคก์ าร เนอื หา การจดั กระบวน จา้ นวนช่ัวโมง

เรยี นรู้ การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

6 ชนั้ เรยี นวชิ าชพี ข้ันตอนการฝกึ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เรยี น ๑. ทักษะการ ๕

ข้ันตอนการฝึกปฏิบัตกิ าร ปฏิบัติการประกอบ สามารถเลอื กซอ้ื วัสดุ ประกอบอาชีพการ

ประกอบอาชีพการทาหมู อาชพี การทาหมูแดด อุปกรณ์ได้อยา่ งมี ทาหมแู ดดเดยี ว

แดดเดียว เดยี ว คุณภาพ ๒. การหมูแดด

๒. เพื่อใหผ้ ูเ้ รียน เดียว

สามารถบอก ๓. ส่วนผสมและ

ส่วนผสมของการทา วธิ กี ารทาหมูแดด

หมูแดดเดยี ว เดียว

๓.เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี น ๔. งบประมาณการ

สามารถบอกขน้ั ตอน การทาหมูแดดเดียว

การทาหมูแดดเดียว

7 ชน้ั เรียนวิชาชพี ขน้ั ตอนการฝกึ ๑. เพอื่ ให้ผ้เู รยี น ๑. ทักษะการ ๕

ขน้ั ตอนการฝึกปฏิบตั ิการ ปฏิบตั ิการประกอบ สามารถเลือกซอ้ื วสั ดุ ประกอบอาชีพการ

ประกอบอาชีพการทา อาชพี การทาปลาส้ม อปุ กรณ์ได้อยา่ งมี ทาปลาสม้

ปลาส้ม คุณภาพ ๒. การปลาส้ม

๒. เพ่ือให้ผเู้ รยี น ๓. ส่วนผสมและ

สามารถบอก วิธกี ารทาปลาส้ม

ส่วนผสมของการทา ๔. งบประมาณการ

ปลาสม้ การทาปลาส้ม

๓.เพ่ือใหผ้ ้เู รยี น

สามารถบอกขนั้ ตอน

การทาปลาสม้

8 ชั้นเรยี นวชิ าชีพ ข้นั ตอนการฝึก ๑. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน ๑. ทักษะการ ๕

ขน้ั ตอนการฝึกปฏิบัตกิ าร ปฏบิ ตั ิการประกอบ สามารถเลือกซ้ือวสั ดุ ประกอบอาชีพการ

ประกอบอาชีพการทา อาชีพการทาปลา อปุ กรณ์ได้อย่างมี ทาปลาสลิดแดด

ปลาสลดิ แดดเดยี ว สลิดแดดเดยี ว คณุ ภาพ เดียว

๒. เพื่อให้ผเู้ รยี น ๒. การปลาสลิด

สามารถบอก แดดเดยี ว

ส่วนผสมของการทา ๓. สว่ นผสมและ

ปลาสลดิ แดดเดียว วิธีการทาปลาสลดิ

๓.เพื่อให้ผูเ้ รยี น แดดเดียว

สามารถบอกข้ันตอน ๔. งบประมาณการ

การทาปลาสลิดแดด การทาปลาสลิด

เดยี ว แดดเดยี ว

24

ที่ เรื่อง จดุ ประสงค์การ เนือหา การจดั กระบวน จ้านวนชัว่ โมง

เรียนรู้ ๑. เพอื่ ให้ผ้เู รียน การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
สามารถเลือกซอื้ วัสดุ
9 ชั้นเรยี นวิชาชีพ ข้นั ตอนการฝกึ อปุ กรณ์ได้อยา่ งมี ๑. ทกั ษะการ ๕
คุณภาพ
ขั้นตอนการฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร ปฏิบตั กิ ารประกอบ ๒. เพื่อให้ผู้เรยี น ประกอบอาชีพการ
สามารถบอก
ประกอบอาชีพการทา อาชีพการทาปลา ส่วนผสมของการทา ทาปลาช่อนแดด
ปลาช่อนแดดเดียว
ปลาช่อนแดดเดยี ว ชอ่ นแดดเดียว ๓.เพื่อใหผ้ ูเ้ รียน เดียว
สามารถบอกขั้นตอน
การทาปลาช่อนแดด ๒. การปลาช่อน
เดยี ว
แดดเดยี ว

๓. สว่ นผสมและ

วิธีการทาปลาช่อน

แดดเดยี ว

๔. งบประมาณการ

การทาปลาชอ่ น

แดดเดียว

สอื่ การเรียนรู้

๑. สอื่ เอกสารใบความรู้ในการบรรยายและสาธิตอาชีพ
๒. ผู้รู้ /ภมู ปิ ญั ญา
๓. วัตถดุ บิ ของจริงที่นามาใช้ในการปฏิบตั ิ

การวดั และประเมนิ ผล

วัดความรโู้ ดยใช้แบบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนื่อง แบบ กศ.ตน. ๗

กรอบการประเมิน วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ

๑.ความร้คู วามเข้าใจ - สอบถามความรู้ความเข้าใจ - คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน

ในเนอ้ื หาสาระ (๒๐) - ตอ้ งได้ ๑๒ คะแนนข้นึ ไปจึงจะถือว่าผ่าน

๒.ทักษะการปฏบิ ตั ิ (๔๐) -สังเกตการปฏิบัติในระหว่างการเรียนรู้ -ปฏบิ ตั ิไดถ้ กู ต้องตามขนั้ ตอน

การจัดกจิ กรรม คล่องแคลว่ รวดเร็ว ไมม่ ีขอ้ ผิดพลาด/

-ประเมินโดยให้สาธติ /แสดงข้ันตอน ปญั หา หากมีปญั หาสามารถแก้ไขได้อยา่ ง

วิธีการปฏบิ ัติ รวดเรว็

๓.คุณภาพของผลงาน - ตรวจสอบผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ - ฝึกปฏิบตั ิได้ถกู ต้อง

ผลการปฏิบัติ (๔๐) วา่ เป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนดหรือไม่ - สามารถใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

รวมคะแนน (๑๐๐ คะแนน)

เกณฑ์การจบหลักสูตร
๑. มเี วลาเรยี นและฝึกปฏิบตั ติ ามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๒. มีผลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐
๓. มีผลงานผา่ นการประเมินทดสอบท่ีมีคุณภาพตามหลักเกณฑ์

25

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
หลกั ฐานการประเมนิ ผล

การเทยี บโอน
-



26

แบบทดสอบวชิ าการถนอมอาหาร 2 จา้ นวน ๔๐ ชัว่ โมง

1.ข้อใดคอื ความหมายของการถนอมอาหาร
ก. การรบั ประทานอาหารท่เี ก็บไว้นานแต่มีคุณค่าครบ 5 หมู่
ข. การเก็บรักษาอาหารด้วยกรรมวธิ ีต่างๆท่ีทาให้อาหารอยูในสภาพใกลเ้ คียงกบั ของสดโดยไมส่ ุญเสียคุณคา่

และสามารถเก็บไวไ้ ดน้ านโดยไม่เนา่ เสยี
ค. การนาอาหารทไ่ี ด้จากพืชและสัตว์ผา่ นกระบวนการทีท่ าใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง คณุ ลักษณะของอาหาร

หรืออาหารมสี ่วนผสมอ่ืนอาหารนั้นมรี ปู รา่ งรสชาติแปลกใหม่ กลิน่ สีเปล่ยี นไปเกดิ เป็นอาหารชนดิ ใหมแ่ ละเกบ็
รักษาไว้รับประทานนาน

ง. การรับประทานอาหารทม่ี ใี นท้องถ่นิ นั้นและส่วนท่ีเหลือจากการรับประทานสง่ ไปจาหน่ายในท้องถนิ่ อ่นื ดว้ ย
เฉลยข้อ ข
2.การแปรรปู อาหารหมายถึงข้อใด
ก. การรับประทานอาหารทเี่ กบ็ ไวน้ านแต่มีคุณคา่ ครบ 5 หมู่
ข. การเก็บรกั ษาอาหารด้วยกรรมวธิ ีต่างๆทท่ี าให้อาหารอยู่ในสภาพใกล้เคียงกับของสดโดยไมส่ ญุ เสียคณุ ค่า
และสามารถเกบ็ ไวไ้ ดน้ านโดยไมเ่ นา่ เสยี
ค. การนาอาหารทไี่ ดจ้ ากพชื และสตั วผ์ า่ นกระบวนการที่ทาให้เกดิ การเปลย่ี นแปลง คุณลกั ษณะของอาหาร
หรืออาหารมสี ่วนผสมอืน่ อาหารนนั้ มีรูปรา่ งรสชาตแิ ปลกใหม่ กลิ่น สีเปลีย่ นไปเกิดเปน็ อาหารชนิดใหม่และเก็บ
รักษาไวร้ ับประทานนาน
ง. การรับประทานอาหารทมี่ ีในท้องถิ่นนั้นและสว่ นท่เี หลอื จากการรบั ประทานสง่ ไปจาหนา่ ยในทอ้ งถ่ินอ่นื ด้วย
เฉลยข้อ ค
3.ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องสมั พันธ์กนั เกี่ยวกับการถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร
ก. มะม่วงดอง มะมว่ งกวน , ไก่แดดเดียว ไสก้ รอกไก่
ข. มะเขือเทศแชอ่ ่ิม น้ามะเขือเทศ ,หมูแดดเดียว กุนเชียง
ค. มะนวดอง มะนาวผง , ปลาชอ่ นตากกแห้ง ปลาชอ่ นหยอง
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยข้อ ง
4.ข้อใดคอื ประโยชนข์ องการถนอมอาหาร
ก. ชว่ ยยืดอายุการเก็บอาหารไว้ไดน้ าน ประหยดั ค่าใช้จ่าย มอี าหารนอกฤดูกาล
ข. ชว่ ยใหเ้ กดิ การกระจายอาหารไปในท้องถน่ิ ท่ีไม่มอี าหารชนดิ นน้ั ๆ
ค. ใชอ้ าหารทม่ี ีมากรบั ประทานไมห่ มดให้เกิดประโยชน์ ลดปญั หาการขาดแคลนอาหาร สะดวกในการขนส่ง
ลดปญั หาการขาดแคลนอาหาร
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยข้อ ง
5.ปลาแห้ง เนือแหง้ พรกิ แห้ง ก้งุ แห้ง ใช้หลักการถนอมอาหารในข้อใด
ก. การระเหยน้าออกจากเนอ้ื อาหาร
ข. การใชค้ วามร้อน
ค. การยบั ยั้งการดูดซมึ สารอาหารของจุลนิ ทรยี ์
ง. การเก็บรักษาอาหารในอณุ หภมู ิต่า
เฉลยข้อ ก

27

6.การถนอมอาหารโดยใชก้ ระบวนการให้ความร้อนทไี่ ม่รุนแรงโดยอณุ หภูมทิ ี่ใช้จะตา้่ กวา่ 100 องศาเชล

เซียสเปลี่ยนแปลงคณุ คา่ อาหารน้อยท่สี ดุ หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. พาสเซอไรซ์ ข. สเตอร์รไิ รซ์

ค. การรมควนั ง. การตากแหง้

เฉลยข้อ ก

7.การท้าอาหารให้ปราศจากเชอื โรคโดยใช้ความรอ้ นสูงกวา่ จดุ เดอื ดคอื 100- 130 องศาเซลเซียสโดยเกบ็

อาหารไว้ปกตไิ ม่ต้องแช่แข็งหมายถึงข้อใด

ก. พาสเซอไรซ์ ข. สเตอร์ริไรซ์

ค. การรมควัน ง. การตากแห้ง

เฉลยข้อ ข

8.ผลไม้ต่างๆทไ่ี ม่มรี สเปรียวเชน่ กล้วย มะมว่ ง มะละกอฝร่งั นา้ มาฉายรงั สเี พื่อจดุ ประสงค์ใด

ก. กาจัดโรคแมลง ข. ชะลอการสกุ ของผลผลติ

ค. ยบั ยง้ั และป้องกนั เชื้อรา ง. ทาลายเชอ้ื จลุ นิ ทรียแ์ ละพยาธิ

เฉลยข้อ ข

9.เนือหมแู ละสัตวป์ กี นา้ มาฉายรงั สเี พอ่ื จุดประสงค์ใด

ก. กาจดั โรคแมลง ข. ชะลอการสุกของผลผลติ

ค. ยบั ยั้งและป้องกันเชื้อรา ง. ทาลายเชอ้ื จุลนิ ทรียแ์ ละพยาธิ

เฉลยข้อ ง

10.หากนกั เรยี นตอ้ งการถนอมอาหารเพ่อื การคา้ ตอ้ งมคี วามรู้เพ่ิมเติมในเรอื่ งใดบ้าง

ก. วทิ ยาศาสตร์

ข. คณติ ศาสตร์

ค. สถติ ิ สังคม การจัดการ

ง. ถกู ทกุ ข้อ

เฉลยขอ้ ง

28

หลักสตู ร ขนมห่อใบตอง จา้ นวน ๔๐ ช่วั โมง
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อ้าเภอโพธทิ์ อง
ส้านักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั อา่ งทอง



ความเปน็ มา

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นอีกหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษา กลุ่มเป้าหมายผู้ที่ไม่มีอาชีพหรือผู้ท่ีมีอาชีพแต่ต้องการ
พัฒนาอาชีพของตนเองให้มั่นคง การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนา
ประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน
และสง่ เสริมความเข้มแขง็ ให้แกเ่ ศรษฐกจิ ชุมชน

การพัฒนาหลักสูตรและวิธีการจัดสาระกระบวนการเรียนการสอนจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎี หลักสูตร
ตามแนวทางการจัดการศึกษาผู้ใหญ่ ตลอดจนธรรมชาติการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้หลักการและศาสตร์
การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ รวมทั้งผู้สอนกจ็ ะต้องมีความรใู้ นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับผ้เู รียน การศึกษา
เพ่ือพัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและ
กลุ่มบุคคล ซึ่งมีจุดประสงค์ในชีวิตท่ีแตกต่างกัน และเร่งรัดส่งเสริม พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพที่
พัฒนาศกั ยภาพของบคุ คลและชุมชน

เพอ่ื เป็นการตอบสนองนโยบายและขับเคล่อื นยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน กศน. ได้นา
นโยบายและยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศึกษา เกยี่ วกบั การจัดการศึกษาอาชีพมาสกู่ ารปฏิบัติ เพอื่ จดั การศึกษา
การประกอบอาชีพ ผลกาไรสูง ขายไดต้ ามแหลง่ ชุมชน และสถานที่ทอ่ งเที่ยวทั่วไป สามารถสรา้ งรายได้อยา่ ง
มั่นคงให้กบั ผ้ทู ไี่ ม่มีอาชพี และผ้ทู ี่ตอ้ งการพัฒนาอาชพี สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตนเอง
ชุมชน และสังคม

หลักการของหลักสตู ร

๑. เป็นหลกั สูตรทเ่ี นน้ การจดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ที่เนน้ การบูรณาการเน้ือหาสาระ
ภาคทฤษฎคี วบคไู่ ปกบั การฝึกปฏิบตั จิ รงิ ผเู้ รียนสามารถนาความรแู้ ละทักษะไปประกอบอาชพี ไดจ้ ริงอยา่ งมี
คณุ ภาพและมีคณุ ธรรมจริยธรรม

๒. เปน็ หลกั สูตรทเ่ี นน้ การดาเนนิ งานรว่ มกับเครือข่าย สถานประกอบการ เพือ่ ประโยชน์ในการประกอบ
อาชพี

29

จดุ มุ่งหมาย

หลกั สตู รมงุ่ พัฒนาให้กล่มุ เป้าหมายมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ ดงั นี้
๑. เพ่ือให้ผู้เรยี นเกดิ ทักษะความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญในการประกอบอาชีพ
๒. เพื่อให้ผ้เู รยี นสามารถนาไปประกอบอาชีพการทาและสามารถสรา้ งรายได้ทม่ี ่นั คงได้
๓. เพือ่ ให้ผ้เู รียน มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสานกึ ความรับผิดชอบตอ่ การประกอบอาชีพ

กลุม่ เปา้ หมาย

มี ๒ กลุ่มเปา้ หมาย คือ

๑. กลมุ่ ผทู้ ีไ่ ม่มอี าชพี และมีความสนใจทจ่ี ะประกอบอาชีพ
๒. กล่มุ ผู้ทมี่ อี าชพี และตอ้ งการพฒั นาอาชพี ระยะเวลา
ระยะเวลา
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง

ภาคทฤษฎี ๒ ชวั่ โมง
ภาคปฏบิ ัติ ๓๘ ชั่วโมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์ เนอื หา กระบวนการเรียนรู้ จ้านวนชวั่ โมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1 ชอ่ งทางการ ๑. เพื่อใหผ้ ู้เรยี น ๑. ชอ่ งทางการ ๑. ศกึ ษาข้อมลู จากเอกสาร สถาน ๒ ๓

ประกอบ บอกความสาคญั ใน ประกอบ ประกอบการ

อาชีพและ การประกอบอาชพี อาชีพการทาขนม สอื่ ของจริง สอื่ บคุ คลในชุมชน

ขนั้ ตอนการฝกึ ๒. เพื่อให้ผเู้ รียน หอ่ ใบตอง ๒. วเิ คราะห์ข้อมูลเกีย่ วกับการ

ปฏิบัตกิ าร สามารถวิเคราะห์ ความสาคญั ในการ ประกอบอาชีพการทา ขนมห่อ

ประกอบอาชีพ ความเปน็ ไปได้ใน ประกอบอาชีพ ใบตอง

การทาขนมหอ่ การประกอบอาชีพ ๒.วิเคราะห์ความ ๓. ศกึ ษาดูงานรา้ นคา้ การทาขนมหอ่

ใบตอง การทาขนมหอ่ เป็นไปได้ในการ ใบตอง

(ขนมกล้วย) ใบตอง(ขนมกลว้ ย) ประกอบอาชีพ ในทอ้ งตลาดจากสถานทจี่ รงิ ที่

๓. เพื่อให้ผู้เรียน การทาขนมห่อ ประสบความสาเรจ็

บอกแหล่งเรียนรู้ ใบตอง ๔.ให้ผเู้ รียนสรปุ

การประกอบอาชพี ๓. แหลง่ เรียนร้กู าร องค์ความรู้จากการศึกษาแหล่ง

การทาขนมหอ่ ประกอบอาชีพการ เรียนรู้

ใบตอง(ขนมกลว้ ย) ทาขนมห่อใบตอง ๕.การใช้กระบวนการคดิ เป็นกาหนด

๔. เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้ ๓.๑ รา้ นคา้ ขนม ทศิ

แบบอย่างการ หวาน ท่ีมีขายใน ทางการประกอบอาชพี การทาขนม

ประกอบอาชีพการ ท้องตลาด หอ่ ใบตอง

ทาขนมห่อใบตอง ๓.๑.๑ รา้ นค้าขนม

(ขนมกลว้ ย) หวานในรปู แบบของ

30

ที่ เรอ่ื ง จุดประสงค์ เนือหา กระบวนการเรียนรู้ จ้านวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

๕.เพื่อใหผ้ ู้เรยี นบอก รถเข็น

ทิศทางการประกอบ ๓.๑.๒ รา้ นคา้ ขนม

อาชีพการทาขนม ห่อใบตองแบบมี

ห่อใบตองได้ด้วย หน้ารา้ น

กระบวนการคิดเปน็ ๓.๒ ผู้ประกอบ

ธุรกิจร้านขนมหอ่

ใบตองทปี่ ระสบ

ความสาเร็จ

2 ขน้ั ตอนการฝกึ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เรยี น ๑. ทักษะการ ๑. ให้ผู้เรียนศึกษาเนือ้ หาจากใบ ๕

ปฏบิ ตั ิการ สามารถเลือกซ้ือ ประกอบอาชีพการ ความรู้

ประกอบอาชีพ วสั ดุอปุ กรณ์ไดอ้ ย่าง ทาข้าวตม้ มัด เรอ่ื งการทาข้าวต้มมัด

การทาข้าวต้มมัด มคี ณุ ภาพ ๒. การทาข้าวตม้ มดั ๒. วิทยากรอธิบายและสาธิต

๒. เพ่ือให้ผเู้ รียน ๓. ส่วนผสมและ เก่ยี วกบั การทาขา้ วต้มมัด

สามารถบอก วิธีการทาขา้ วตม้ มัด ๓. ผูเ้ รยี นฝึกปฏบิ ตั กิ ารทาขา้ วตม้

สว่ นผสมของการทา ๔. งบประมาณการ มัด

ข้าวตม้ มดั การทาข้าวตม้ มดั ๔. วิทยากรประเมินผลการทา

๓. เพ่ือให้ผเู้ รยี น ๕. ความหมายของ ขา้ วต้มมัดของผู้เรยี น

สามารถบอก บรรจุภัณฑ์และวัสดุ

ขั้นตอนขา้ วตม้ มัด ทใ่ี ช้บรรจุภัณฑ์

ได้ ขา้ วตม้ มดั

๔. เพื่อใหผ้ เู้ รียน

สามารถวิเคราะห์

งบประมาณในการ

ทาขา้ วต้มมัด

๕. เพ่ือให้ผูเ้ รยี น

บอกความหมาย

และวัสดทุ ่ีใช้บรรจุ

ภณั ฑ์ได้

๖. เพื่อใหผ้ ู้เรียน

สามารถบรรจุภัณฑ์

ข้าวต้มมดั ได้

31

ที่ เร่ือง จดุ ประสงค์ เนอื หา กระบวนการเรียนรู้ จ้านวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

3 ขั้นตอนการฝึก ขัน้ ตอนการฝึก ๑. เพื่อให้ผเู้ รียน ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี การทา ๕

ปฏบิ ัตกิ าร ปฏบิ ัตกิ ารประกอบ สามารถเลอื กซือ้ ขนมเทยี น

ประกอบอาชีพ อาชพี การทาขนม วัสดุอปุ กรณ์ไดอ้ ย่าง ๒. การทาขนมเทียน
การทาขนมเทียน ขนมเทียน มีคณุ ภาพ
๓. สว่ นผสมและวธิ ีการทาขนมเทียน
๒. เพื่อใหผ้ ้เู รยี น ๔. งบประมาณการการทาขนม
สามารถบอก เทียน
ส่วนผสมของการทา
ขนมขนมเทียนได้ ๕. ความหมายของ

๓. เพื่อใหผ้ เู้ รียน บรรจภุ ัณฑ์และวัสดุท่ใี ช้บรรจุภัณฑ์
สามารถบอก ขนมเทยี น
ขั้นตอนขนมขนม
เทียนได้

๔. เพ่ือให้ผ้เู รียน
สามารถวเิ คราะห์
งบประมาณในการ
ทาขนมเทียน

๕. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน
บอกความหมาย
และวสั ดทุ ีใ่ ช้บรรจุ
ภัณฑไ์ ด้

๖. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียน
สามารถบรรจุภณั ฑ์
ขนมเทยี นได้

32

ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์ เนือหา กระบวนการเรยี นรู้ จ้านวนชวั่ โมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

4 ขัน้ ตอนการฝึก ๑. เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี น ๑. ทกั ษะการ ๑. ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาเนื้อหาจากใบ ๕

ปฏบิ ตั กิ าร สามารถเลอื กซื้อ ประกอบอาชีพการ ความรู้

ประกอบอาชีพ วสั ดอุ ปุ กรณ์ได้อย่าง ทาขนมเปียกปูน เรื่องการทาขนมเปยี กปูน

การทาขนมเปยี ก มีคุณภาพ ๒. การทาขนมเปยี ก ๒. วทิ ยากรอธิบายและสาธิต

ปูน ๒. เพ่ือให้ผเู้ รียน ปูน เก่ยี วกบั การทาขนมเปยี กปนู

สามารถบอก ๓. ส่วนผสมและ ๓. ผู้เรยี นฝึกปฏิบัติการทาขนมเปียก

ส่วนผสมของการทา วธิ ีการทาขนมเปียก ปูน

ขนมเปยี กปูน ปูน ๔. วทิ ยากรประเมินผลการทาขนม

๓. เพื่อให้ผเู้ รียน ๔. งบประมาณการ เปยี กปนู ของผเู้ รียน

สามารถบอก การทาขนมเปียกปูน

ขน้ั ตอนขนมเปยี ก ๕. ความหมายของ

ปนู ได้ บรรจุภัณฑ์และวัสดุ

๔. เพื่อใหผ้ ู้เรยี น ท่ีใชบ้ รรจภุ ัณฑ์ขนม

สามารถวิเคราะห์ เปียกปูน

งบประมาณในการ

ทาขนมเปียกปนู

๕. เพ่ือให้ผเู้ รียน

บอกความหมาย

และวัสดทุ ่ใี ช้บรรจุ

ภัณฑ์ได้

๖. เพื่อให้ผูเ้ รียน

สามารถบรรจุภณั ฑ์

ขนมเปยี กปูนได้

33

ที่ เรือ่ ง จุดประสงค์ เนือหา กระบวนการเรยี นรู้ จา้ นวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
5 ขั้นตอนการฝกึ ๑. เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี การทา
ปฏิบัตกิ าร ขนั้ ตอนการฝกึ ๕
ประกอบอาชีพ ปฏิบตั ิการประกอบ
การทาขนม อาชพี การทาขนม สามารถเลือกซื้อ ขนมฟักทอง
ฟักทอง ฟักทอง
วัสดอุ ุปกรณ์ได้อย่าง ๒. การทาขนมฟักทอง

มคี ณุ ภาพ ๓. สว่ นผสมและวิธีการทาขนม

๒. เพื่อให้ผ้เู รยี น ฟักทอง

สามารถบอก ๔. งบประมาณการการทาขนม

สว่ นผสมของการทา ฟกั ทอง

ขนมฟักทองได้ ๕. ความหมายของ

๓. เพ่ือให้ผู้เรยี น บรรจุภัณฑ์และวัสดุทใ่ี ช้บรรจุภัณฑ์

สามารถบอก ขนมฟักทอง

ขั้นตอนขนมฟักทอง

ได้

๔. เพื่อให้ผู้เรยี น

สามารถวิเคราะห์

งบประมาณในการ

ทาขนมฟักทอง

๕. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน

บอกความหมาย

และวัสดทุ ่ใี ช้บรรจุ

ภัณฑไ์ ด้

๖. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี น

สามารถบรรจุภณั ฑ์

ขนมฟักทองได้

34

ที่ เร่อื ง จุดประสงค์ เนอื หา กระบวนการเรียนรู้ จา้ นวนชวั่ โมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
๖ ขั้นตอนการฝึก ๑. เพ่อื ให้ผูเ้ รียน ๑. ทกั ษะการประกอบอาชพี การทา
ปฏบิ ัตกิ าร ข้นั ตอนการฝกึ ๕
ประกอบอาชีพ ปฏิบตั ิการประกอบ
การทาขนมตาล อาชพี การทาขนม สามารถเลือกซ้อื ขนมตาล
ขนมตาล
วัสดอุ ุปกรณ์ไดอ้ ย่าง ๒. การทาขนมขนมตาล

มีคณุ ภาพ ๓. ส่วนผสมและวิธีการทาขนมตาล

๒. เพ่ือใหผ้ ู้เรยี น ๔. งบประมาณการการทาขนมตาล

สามารถบอก ๕. ความหมายของ

สว่ นผสมของการทา บรรจภุ ัณฑ์และวัสดุทใี่ ช้บรรจุภณั ฑ์

ขนมขนมตาลได้ ขนมตาล

๓. เพื่อให้ผ้เู รียน

สามารถบอก

ขนั้ ตอนขนมตาลได้

๔. เพ่ือให้ผู้เรียน

สามารถวเิ คราะห์

งบประมาณในการ

ทาขนมตาล

๕. เพอ่ื ให้ผ้เู รียน

บอกความหมาย

และวัสดุท่ใี ชบ้ รรจุ

ภณั ฑไ์ ด้

๖. เพ่ือให้ผู้เรียน

สามารถบรรจภุ ณั ฑ์

ขนมตาลได้


Click to View FlipBook Version