The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงาน PA ผอ.ชาญ สมสะอาด 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Prajoub Yodsing, 2022-09-05 01:48:22

แบบรายงาน PA ผอ.ชาญ สมสะอาด 65_clone

แบบรายงาน PA ผอ.ชาญ สมสะอาด 65

รายงานผลการพฒั นางานตามขอตกลงในการพฒั นางาน (PA)

สําหรับขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ตําแหนงผูบรหิ ารสถานศึกษา วิทยฐานะชํานาญการพเิ ศษ

ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

ระหวางวนั ท่ี ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถงึ วนั ที่ ๓๐ เดอื นกนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

นายชาญ สมสะอาด

ตาํ แหนง ผูบริหารสถานศกึ ษา

โรงเรียนบานรอ งตาซนุ

สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๔
สงั กดั สาํ นกั งานการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 1

แบบรายงานตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)

สาหรับขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา วทิ ยฐานะชานาญการพิเศษ
(ทุกสงั กดั )

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ ๒๕๖๕
ระหวา่ งวนั ท่ี ๑ เดือน ตลุ าคม พ.ศ ๒๕๖๔ ถงึ วนั ท่ี ๓๐ เดือน กนั ยายน พ.ศ ๒๕๖๕

ชื่อ นายชาญ นามสกลุ สมสะอาด ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นรอ่ งตาซุน สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานศรีสะเกษ เขต 4
รบั เงนิ เดอื นในอันดับ คศ ๓ อตั ราเงินเดือน 69,04๐ บาท

ประเภทของสถานศกึ ษา
 สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

 ระดบั ปฐมวยั
 ระดบั ประถมศึกษา
 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
การจดั การศึกษาพิเศษ (ไมม่ ีระดับชั้น)
 สถานศึกษาทจ่ี ดั การศกึ ษาอาชวี ศึกษา
 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
 ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสงู
 การฝึกอบรมวิชาชพี ตามหลกั สตู รวิชาชพี ระยะสน้ั
 สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
 การจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
 การจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
 การจดั การศึกษาต่อเนื่อง
ขา้ พเจ้าขอรายงานตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางานงาน (PA) สาหรับข้าราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษา ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาวทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ซึ่งเป็นตาแหนง่ และวิทยฐานะทด่ี ารงอยู่
ในปัจจบุ นั กับผ้บู ังคบั บัญชา ไว้ดงั ต่อไปนี้

องคป์ ระกอบที่ ๑ การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลการปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานตาแหน่ง
ตอนท่ี ๑ การพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหน่ง

๑. ภาระงาน จะมภี าระดา้ นการบริหารวชิ าการและความเปน็ ผูน้ าทางวิชาการ ด้านการบริหาร
จดั การสถานศึกษา ดา้ นการบรหิ ารการเปลี่ยนแปลงเชงิ กลยุทธ์นวัตกรรม ดา้ นการบรหิ ารงานชุมชนและเครือข่าย
และดา้ นการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ เป็นไปตาม ก.ค.ศ กาหนด

 เตม็ เวลา

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 2

 ไม่เต็มเวลา เนอ่ื งจาก…………………………………………………………………………………………………..

โดยภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นาทางวิชาการ จะมีการปฏิบัติการสอนไม่

ต่ากว่า ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห์ (ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ไม่ต่ากว่า ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ และรอง

ผู้อานวยการสถานศึกษา ไม่ต่ากว่า 10 ชั่วโมง/สัปดาห์) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนในสถานศึกษาอย่างใดอย่างหนงึ่ หรือหลายอยา่ ง ดงั น้ี

 ปฏบิ ตั กิ ารสอนประจาวิชาจานวน ช่วั โมง/สปั ดาห์

 ปฏบิ ัติการสอนร่วมกับครูประจาชน้ั /ประจาวชิ า จานวน ช่ัวโมง/สัปดาห์

 สงั เกตการสอนและสะท้อนผลการสอนรว่ มกบั ครูในกจิ กรรมเปิดชั้นเรยี น

จานวน……………..ชวั่ โมง/สปั ดาห์

 เปน็ ผู้นากจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นร้ใู นชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ( PLC) ของโรงเรียน

จานวน…2…….ชวั่ โมง/สปั ดาห์

 นเิ ทศการสอนเพ่ือเป็นพีเ่ ล้ยี งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหก้ บั ครู

จานวน…2…….ชว่ั โมง/สปั ดาห์

 จัดกิจกรรมเสรมิ สร้างการเรียนรแู้ ละอบรมบ่มนสิ ยั ผูเ้ รียน จานวน……1….ช่วั โมง/สปั ดาห์

2. งานทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (ใหร้ ะบรุ ายละเอยี ดของงานทจี่ ะปฏบิ ตั ิในแตล่ ะ
ด้านวา่ จะดาเนนิ การอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการดาเนนิ การดว้ ยกไ็ ด้ )
๑. ดา้ นการบรหิ ารวชิ าการและความเปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ

ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึงการวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดทาและ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการปฏิบัติการสอน
การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาหรือการนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนิเทศ กากับติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา การศึกษา วิเคราะห์หรือวิจัย เพอ่ื แก้ปัญหาและพฒั นา การจัดการเรียนรู้เพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศึกษาของสถานศกึ ษา
งาน(Tasks)

1) การวางแผนพฒั นามาตรฐานการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น
2) จดั ทาและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
3) การพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้ ท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั
4) การส่งเสริม สนับสนุนการพฒั นาหรือการนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้
5) การนเิ ทศ กากับติดตาม ประเมินผลการจดั การเรยี นรขู้ องครใู นสถานศึกษาและมีการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศกึ ษา
6) การศกึ ษาวเิ คราะห์ หรือวิจัย เพอื่ แก้ปัญหาและพฒั นา การจัดการเรยี นรู้เพ่ือยกระดับคณุ ภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ผลลพั ธ(์ Outcomes)

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 3

๑) โรงเรยี นมีมาตรฐานการเรียนรู้ของผเู้ รียน และ/หรือแผนการดาเนนิ การตามมาตรฐานการเรียนรูข้ อง

ผู้เรยี นผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และผ้ทู ี่เกย่ี วข้องมีสว่ นรว่ มในการจัดทามาตรฐานการเรยี นร้ขู องผเู้ รียนโรงเรียนมี

หลักสตู รสถานศกึ ษา ทีส่ อดคล้องกบั สมรรถนะของผู้เรยี นและสถานการณใ์ นปจั จุบัน

๒) ปรับหลักสตู รสถานศึกษาปี 2564 เป็นแบบบรู ณาการ เพอ่ื ใชใ้ นสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้

ไวรัสโควิด 2019 และใหค้ รดู าเนนิ การจัดการเรียนการสอนแก่ผ้เู รียน

๓) โรงเรียนมคี ูม่ ือการจัดการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั ของหลักสตู ร ปี 2564

๔) ครูมีแผนการจัดการเรยี นรู้/หรือแผนการจดั ประสบการณ์ ท่ีพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรทู้ ่เี นน้

ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ Active Learning

ตวั ชวี้ ดั (Indicators)

1) ผบู้ ริหารมกี ารริเริม่ พัฒนา มาตรฐานการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนโดยมคี รู และผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการ

จดั ทา

๒) มแี ผนพัฒนาทส่ี อดคล้องกับนโยบายทุกระดับคลอบคลุมภารกจิ หลกั ของสถานศึกษา

3) มกี ารประเมนิ ความต้องการจาเปน็ ของครู ผูเ้ รียนและผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ ง

4) มมี าตรฐานการเรยี นรูข้ องผ้เู รยี นมีกระบวนการท่ีถกู ต้องและผทู้ ี่เกยี่ วขอ้ งมีสว่ นรว่ มในการพัฒนา

มาตรฐานการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน

5) โรงเรยี นมีการดาเนนิ การตามแผนและมีการกากับตดิ ตาม

เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถงึ การบรรลตุ วั ชวี้ ดั /ไมบ่ รรลตุ วั ชวี้ ดั

๑) หลักสตู รสถานศกึ ษา

๒) แผนปฏบิ ัติราชการประจาปี

๓) รายงานการปรับปรงุ หลักสตู ร

๔) คาส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการพัฒนางานวชิ าการ

คาดหวงั ใน ระดบั ท่ี ๓ ปฏบิ ตั ไิ ด้ระดบั ๔ สงู กวา่ ระดบั ทค่ี าดหวงั

บรรลตุ วั ช้วี ดั  ไมบ่ รรลตุ ัวชี้วดั

2.ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา
การบริหารจดั การสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั นโยบายและตามหลกั บริหาร

กิจการบา้ นเมอื งท่ีดี การบรหิ ารกิจการผู้เรยี นและการสง่ เสริมพฒั นาผูเ้ รียนการจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น
งาน(Tasks)

1) การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลกั บรหิ าร
กจิ การบา้ นเมืองท่ดี ี

2) การบริหารกจิ การผูเ้ รียนและการส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี น
3) การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รียน

ผลลัพธ(์ Outcomes)

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 4

๑) โรงเรยี นมีการพัฒนาด้านการบรหิ ารวชิ าการ ดา้ นการบริหารทั่วไป ด้านงบประมาณ และด้าน

บรหิ ารงานบุคคล ทเี่ ปน็ รูปธรรม

๒) โรงเรียนมรี ูปแบบหรือคู่มือหรือสารสนเทศและแผนปฏิบัติการเกยี่ วกับการบรหิ ารกิจการผู้เรียน ได้แก่

กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี กจิ กรรมคณุ ธรรม จริยธรรม กจิ กรรม ict และกิจกรรมอ่นื ๆ ทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาผเู้ รยี น

๓) โรงเรียนมีรูปแบบระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน ส่งผลใหค้ รูรจู้ กั นกั เรียนเปน็ รายบุคคลส่งเสริมการจดั การ

เรยี นรูต้ ามศักยภาพและสามารถดูแลนกั เรยี นให้ได้รบั ทุนอย่างทวั่ ถงึ

ตวั ชว้ี ดั (Indicators)

1) ผู้บริหารสถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านงานวิชาการ ด้านบรหิ ารงานบุคคล ดา้ น

งบประมาณ ดา้ นบริหารท่วั ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ นโยบาย และตามหลักบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งที่ดี

2) ผู้บริหารสถานศึกษา มีการริเริ่ม พัฒนาการบริหารกิจการผู้เรียนและการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน

มีสารสนเทศและแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารกิจการผู้เรียน ประชุมช้ีแจงบุคลากร มอบหมายงาน มี

กรรมการนักเรียน เครือขา่ ยผปู้ กครอง และจดั กจิ กรรมชว่ ยเหลือผเู้ รยี น มีการติดตามและประเมินผล มรี ายงานผล

การดาเนินการและนาผลไปปรบั ปรงุ

3) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มีการรเิ ร่มิ พัฒนาการจัดระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รียน ให้มโี อกาส ความเสมอภาค

เอกสาร/หลกั ฐานทแ่ี สดงถงึ การบรรลตุ วั ชวี้ ดั /ไมบ่ รรลตุ วั ชว้ี ดั

๑) คู่มอื การมอบหมายงานปกี ารศึกษา 2565

๒) แผนปฏิบัตริ าชการประจาปี

๓) รายงานโครงการ / กจิ กกรรมทดี่ าเนินการแล้ว

๔) รายงานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน

๕) รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล

คาดหวงั ใน ระดบั ที่ ๓ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั ๔ สงู กวา่ ระดบั ทคี่ าดหวงั

บรรลุตัวชวี้ ัด  ไมบ่ รรลุตัวชว้ี ดั

3.ดา้ นการบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงเชงิ กลยทุ ธแ์ ละนวตั กรรม
การกาหนดนโยบาย กลยทุ ธ์ การใช้เครอ่ื งมือหรอื นวตั กรรมทางการบริหารและการนาไปปฏบิ ัติ การ

บรหิ ารการเปลยี่ นแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
งาน(Tasks)

1) การกาหนดนโยบาย กลยุทธ์ การใช้เครือ่ งมอื หรือนวตั กรรมทางการบริหาร
2) การบรหิ ารการเปล่ียนแปลงและนวตั กรรม ในสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา

ผลลัพธ(์ Outcomes)
1) โรงเรยี นมีแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา โรงเรียนมีแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
๒) ผู้บริหารสถานศกึ ษามีนวัตกรรมทางการบรหิ ารเชิงรกุ
๓) ครมู นี วัตกรรมนามาใชจ้ ดั การเรยี นการสอนได้อย่างหลากหลายสอดคล้องกบั ความสนใจของผู้เรยี น

ตวั ชว้ี ดั (Indicators)

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 5

๑) ผู้บริหารสถานศึกษา มีการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยมีกลยุทธ์ เครื่องมือ หรือนวัตกรรมทางการ

บริหารเชิงรุก ในการ ริเริ่ม พัฒนา สถานศึกษาและคุณภาพผู้เรียน มีแผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับมาตรฐาน

ภารงานบริหาร โดยคานึงถงึ ประโยชน์และความคุม้ ค่า และมีการนาไปปฏบิ ัตจิ ริงบรรลผุ ลตามเป้าหมาย

๒) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา มกี ารบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อพฒั นา

สถานศกึ ษา โดยรเิ ริ่ม พัฒนา สรา้ งหรอื นานวตั กรรม เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใ้ นการพัฒนาสถานศกึ ษาและผู้เรียน

ส่งเสรมิ สนับสนนุ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม ในการบริหารการเปล่ียนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษา

ให้เกิดการพฒั นาสถานศึกษาอย่างยง่ั ยืน

เอกสาร/หลกั ฐานท่แี สดงถงึ การบรรลตุ วั ชว้ี ดั /ไมบ่ รรลตุ วั ชว้ี ดั

๑) แผนการพฒั นาตนเองรายบุคคล ID PLAN

๒) นวัตกรรมทางการบริหาร CHAN RTS Model

๓) ทะเบยี นสื่อและนวตั กรรม

คาดหวงั ใน ระดบั ท่ี ๓ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั ๔ สงู กวา่ ระดบั ทค่ี าดหวงั

บรรลุตวั ชี้วัด  ไมบ่ รรลตุ ัวช้วี ดั

4.ดา้ นการบรหิ ารงานชมุ ชนและเครอื ขา่ ย
การสรา้ งและพฒั นาเครือข่ายเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ การจดั ระบบการบริการในสถานศกึ ษา

งาน(Tasks)
๑) การสรา้ งและพฒั นาเครือข่ายเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ ได้แก่
- จัดโครงการฝึกทักษะอาชีพให้กับนักเรยี นได้ศึกษาแหล่งเรียนรใู้ นชมุ ชน และเชญิ ปราชญ์

ท้องถ่นิ มาให้ความรูแ้ ก่นักเรยี น
2) สรา้ งความรว่ มมือดา้ นกีฬาให้กบั ชุมชน นกั เรียนสามารถฝึกซ้อมเขา้ ร่วมการแขง่ ขันในระดับตา่ ง ๆ

และนกั เรียนทุกคนได้ พ้นื ฐานเพือ่ ออกกาลงั กายได้
๔) การจัดระบบการให้บริการในสถานศกึ ษาเครือข่าย อินเตอร์เนต็ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้าน ICT ของ

ผู้เรียนและข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาของโรงเรยี น
ผลลัพธ(์ Outcomes)

๑) นักเรยี นไดร้ ับทกั ษะ ด้านอาชีพในด้านต่าง ๆ และพัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรียนนกั เรยี นไดศ้ ึกษาแหลง่
เรียนรู้ในทอ้ งถิ่นอย่างหลากหลายสร้างสรรคก์ บั ผู้เรียน ครู และผู้ทีเ่ กยี่ วข้อง

๒) นักเรียนได้ฝึกซอ้ มกีฬา พัฒนาจากการออกกาลงั กายสู่การแข่งขันในระดับตา่ ง ๆ ได้
๓) โรงเรยี นได้รบั การพัฒนาได้แก่ บรบิ ทโรงเรียนรม่ รื่น นา่ อยู่ นา่ เรียนและปลอดภัย
๔) โรงเรยี นมีความเข้มแข็ง ด้านวชิ าการ ชุมชน และงานจิตอาสา
ตวั ชว้ี ดั (Indicators)
๑) ผู้บริหารสถานศกึ ษามกี ารรเิ ร่มิ พัฒนาสรา้ งความร่วมมืออยา่ งสรา้ งสรรค์กับผเู้ รยี น ครู คณะกรรมการ
สถานศึกษา ผปู้ กครอง ผูท้ ีเ่ กี่ยวข้อง ชมุ ชน และเครือขา่ ย เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ เสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ช่วยเหลอื และพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
๒) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามกี ารจดั ระบบการให้บริการในสถานศึกษาโดยรเิ ริม่ พัฒนา ประสานความ
ร่วมมอื กับชุมชนและเครือขา่ ยในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาให้บริการด้านวชิ าการแกช่ ุมชน และงานจติ

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 6

อาสาเพ่ือสร้างเครือข่ายในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้แกผ่ ูเ้ รยี น สถานศึกษา และชมุ ชน และเสรมิ สรา้ ง

วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ

เอกสาร/หลกั ฐานท่ีแสดงถงึ การบรรลตุ วั ชว้ี ัด/ไมบ่ รรลตุ วั ชว้ี ดั

๑) บนั ทึกข้อตกลง

๒) รายงานกจิ กรรม

๓) เกียรติบตั ร/เหรียญรางวัล

คาดหวงั ใน ระดบั ท่ี ๓ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั ๔ สงู กวา่ ระดบั ทคี่ าดหวงั

บรรลตุ วั ชวี้ ัด  ไม่บรรลตุ วั ชี้วดั

5.ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ

การพัฒนาตนเองและวิชาชีพการนาความรู้ทักษะ ที่ไดจ้ ากการพฒั นาตนเองและวิชาชพี มาใช้ในการ

พฒั นาการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาที่สง่ ผลตอ่ คุณภาพผู้เรียนครู และสถานศึกษา

งาน(Tasks)

1) เข้ารับการอบรมเพือ่ พัฒนาตนเองโดยเฉพาะการพฒั นาการใชส้ ่อื เทคโนโลยีเพ่อื นามาพัฒนาตนเอง

และวิชาชีพ

2) ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม นาความรู้ ทกั ษะ ที่ได้จากการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี มาใชใ้ นการ

พฒั นาการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ที่ส่งผลตอ่ คุณภาพผเู้ รียน ครู และสถานศึกษา

๓) สง่ เสรมิ ให้ครทู ุกคนการพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ

ผลลัพธ(์ Outcomes)

๑) ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาพฒั นาตนเองและวชิ าชพี

๒) ครพู ฒั นาตนเองและวชิ าชีพ

๓) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษามีส่วนรว่ มและเปน็ ผูน้ าในการแลกเปล่ียนเรยี นรูท้ างวิชาชีพ PLC

๔) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษามนี วัตกรรมของสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาครแู ละผูเ้ รียน

๕) ครู มนี วัตกรรมทางการศกึ ษาท่ีพฒั นาผู้เรียน

ตวั ชวี้ ดั (Indicators)

๑) เกยี รตบิ ัตร

๒) รายงานการเข้าอบรม

๓) รายงานการพัฒนาตนเอง

๔) ทะเบียนผลิตสอ่ื และนวัตกรรม

คาดหวงั ใน ระดบั ที่ ๓ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ ะดบั ๔ สงู กวา่ ระดบั ทคี่ าดหวงั

เอกสาร/หลักฐานทแ่ี สดงถงึ การบรรลตุ วั ชวี้ ดั /ไมบ่ รรลตุ วั ชวี้ ดั

บรรลตุ ัวชวี้ ดั  ไม่บรรลตุ วั ชี้วัด

ตอนท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทเี่ ปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ครู และสถานศึกษา
ประเด็นท้าทาย เรอื่ ง กลยทุ ธก์ ารบรหิ ารจดั การเพ่อื เสรมิ สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครู (PLC) โรงเรยี นบา้ น
ร่องตาซนุ

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 7

๑. สภาพปญั หาการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาและคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การเปล่ียนแปลงในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ส่งผลต่อวิถีชีวีติของคนในสังคม ระบบการศึกษาจึงจาเป็นต้อง
พัฒนา ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ด้วย เดิมการศึกษามุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนมีทักษะเพียงอ่านออกเขียนได้
เท่าน้ัน แต่สาหรับในศตวรรษท่ี ๒๑ ต้องมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการปฏิบัติ และการสร้างแรงบันดาลใจไปพร้อมกัน
กล่าวคือ จะไม่เป็นเพียงผู้รับ (Passive Learning) อีกต่อไป แต่ผู้เรียนตองฝึกการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติและ
การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learning) โดยมีครูเป็น “โค้ช” ที่คอยออกแบบการเรียนรู้เพ่ือช่วยผเู้ รียน
ใหบ้ รรลผุ ลไดป้ ระการสาคัญ คือ ครใู นศตวรรษที่ ๒๑ จะตองไม่ต้ังตนเป็น “ผ้รู ู้” แต่ตอ้ งแสวงหาความรไู ปพรอมๆ
กันกับผู้เรียนในขณะเดยี วกัน ดังน้ันการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะ
แห่งศตวรรษท่ี ๒๑” (๒๑st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง
โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการ
เรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning : PBL) ของนักเรียนส่ิงท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการ
จัดการเรียนรู้คือชุมชนการเรียนรู้ครูเพ่ือศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) ซึ่งเกิดจากการ
รวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาหน้าที่ของครูแต่ละคนน่ันเอง (คู่มือประกอบการอบรมการ
ขับเคลื่อนกระบวนการ PLC, สานักพฒั นาครแู ละบุคลากรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สพฐ., ๒๕๖๓)
จากเหตุผลดังกล่าว ข้าพเจ้าในฐานะผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนบ้านร่องตาซุน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 4 มีความต้องการในการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC)
ให้ประสบผลสาเร็จ จึงมีความสนใจท่ีจะสร้างรูปแบบการบริหาร เรื่อง กลยุทธ์การบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้าง
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) โรงเรียนบ้านร่องตาซุน เป็นแนวทางในการขับเคล่ือนชุมชน การเรียนรู้
ทางวชิ าชีพครู ให้มคี ุณภาพและได้มาตรฐาน
๒. วธิ กี ารดาเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล

๒.๑ ศกึ ษาสภาพปจั จุบนั และสภาพท่พี งึ ประสงค์การบรหิ ารจัดการเพ่ือเสริมสรา้ งชมุ ชน การ
เรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) โรงเรียนบ้านร่องตาซุน

1) การรวมกลุ่ม PLC รวมกลุ่มครูท่ีมีปัญหา/ความต้องการ เดียวกนั เชน่ ครูกลุม่ สาระ
เดยี วกัน ครูทีส่ อนในระดับชัน้ เดยี วกัน เป็นตน้

2) คน้ หาปญั หา ความต้องการ ร่วมกันเสนอปญั หา/ความต้องการ
๓) จดั กลุ่มปัญหาและจดั ลาดับความจาเปน็ เรง่ ด่วน
4) เลอื กปญั หาเพยี ง 1 ปัญหา โดยการพจิ ารณาร่วมกนั
๕. รว่ มกนั หาแนวทางในการแก้ปัญหา
๖) เรือ่ งเล่าเร้าพลัง/บอกเลา่ ประสบการณ์ทแ่ี ก้ปัญหาได้สาเรจ็
๗) คน้ หาตวั อยา่ ง/รูปแบบท่ปี ระสบความสาเรจ็

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 8

2.2 สร้างกลยุทธก์ ารบริหารจัดการเพื่อเสรมิ สรา้ งชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC)
โรงเรยี นบา้ นรอ่ งตาซุนที่เหมาะสม โดยดาเนนิ การตามกรอบนโยบายการขับเคล่ือนนโยบายจดุ เนน้ เขตพ้ืนที่
การศึกษา โดยใชก้ ระบวนการ PLC ปีการศึกษา 256๕ ซ่งึ มีแนวทางขอบข่ายการรายงานการขบั เคลื่อน
กระบวนการ PLC โรงเรียนบ้านรอ่ งตาซนุ ปีการศึกษา 256๕ ดงั นี้

1. แผนการขบั เคล่ือน PLC ในสถานศึกษา
2. คาสงั่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
3. ตัวอย่างแผนการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 9

4. บนั ทึก PLC
5. การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล
6. แบบรายงานผลการดาเนินงาน
2.3 ทดลองใชก้ ลยทุ ธก์ ารบริหารจดั การเพ่ือเสริมสรา้ งชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพครู
(PLC) โรงเรยี นบ้านร่องตาซุน

PLC LOOP โรงเรยี นบ้านร่องตาซนุ

2.4 ประเมินผลท่ีได้จากกลยุทธ์การบรหิ ารจดั การเพอื่ เสรมิ สร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพครู (PLC) โรงเรียนบา้ นรอ่ งตาซุน

3. ผลลพั ธก์ ารพฒั นาทคี่ าดหวงั
3.1 เชงิ ปรมิ าณ

ครทู กุ คนสามารถสร้างชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพครู (PLC) โรงเรยี นบ้านร่องตาซุน เพือ่ พฒั นางานและร่วมกัน
แกไ้ ขปัญหาอย่างเปน็ ระบบนาไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียน

3.2 เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรยี นบา้ นร่องตาซนุ ได้กลยุทธ์การบรหิ ารจดั การเสริมสรา้ งชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพครู(PLC) สาหรบั เปน็
แนวทางใหผ้ ู้บรหิ ารใชใ้ นการสง่ เสรมิ ใหค้ รนู าชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพครูและพฒั นาคุณภาพของผเู้ รียน

ลงช่อื ..................................................
(นายชาญ สมสะอาด)

ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นร่องตาซนุ
ผูร้ ายงานข้อตกลงในการพฒั นางาน

1 / กันยายน / 2565

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 10

ภาคผนวก

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 11

1.ดา้ นการบรหิ ารวชิ าการและความเปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ
1.1 การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรขู้ องผเู้ รียน

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 12

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 13

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 14

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 15

2.ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 16

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 17

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 18

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 19

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 20

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 21

3.ดา้ นการบรหิ ารการเปลยี่ นแปลงเชงิ กลยทุ ธแ์ ละนวตั กรรม

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 22

4.ดา้ นการบรหิ ารงานชมุ ชนและเครือขา่ ย

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 23

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 24

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 25

5.ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 26

ตอนที่ 2 ข้อตกลงในการพฒั นางานทเ่ี ปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ครู และสถานศกึ ษา

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 27

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 28

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 29

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 30

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 31

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 32

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 33

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 34

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 35

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 36

ผลงานที่ไดร้ บั / เกยี รตบิ ตั รครู

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 37

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 38

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 39

แ บ บ ร า ย ง า น ต า ม ข้ อ ต ก ล ง พั ฒ น า ง า น ( P A ) | 40


Click to View FlipBook Version