The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี_2566(สำหรับเผยแพร่)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prutaporn.l, 2023-07-20 08:00:44

หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี2566

หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี_2566(สำหรับเผยแพร่)

หลัก ลั สูต สู รสถานศึก ศึ ษา พุท พุ ธศัก ศั ราช ๒๕๖๖ โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ตามหลัก ลั สูต สู รแกนกลางการศึกศึษาขั้น ขั้ พื้น พื้ ฐาน พุท พุ ธศัก ศั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับ บั ปรับ รั ปรุง รุ พ.ศ. ๒๕๖๐) โรงเรียนวิทวิยานุกูลกูนารี ๒๐๘ ถนนสามัคคีชัย ตำ บลในเมือง อำ เภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์รหัสไปรษณีย์ ๖๗๐๐๐


หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ความนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 1239/2560ลงวันที่ 7สิงหาคม 2560และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 30/2561 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและ วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีคำสั่งใหโรงเรียนดำเนินการใชหลักสูตรในปการศึกษา 2561 โดย ใหใชในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ตั้งแตปการศึกษา 2561 เปนตนมา ใหเปนหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการ พัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เพื่อให สอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวิทยานุกูลนารี จึงไดทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จากการสำรวจความพึงพอใจและการให ขอเสนอแนะของผูมีสวนไดสวนเสียและผูใชหลักสูตรจากปการศึกษาที่ผานมา เพื่อนำไปใชประโยชนและเปน กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการ พัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการปรับปรุงเพิ่มเติมวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสราง เวลาเรียน ตลอดจนเกณฑการวัดประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสให โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและ จุดเนน โดยมีกรอบแกนกลางเปนแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 มีความพรอมใน การกาวสูสังคมคุณภาพ มีความรูอยางแทจริง และมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เอกสารหลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) นี้จัดทำขึ้นสำหรับครูผูสอนและผูเกี่ยวของไดนำไปใชเปนกรอบ และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพดานความรู และ ทักษะที่จำเปนสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยาง ตอเนื่องตลอดชีวิต มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทำใหกลุมงานที่เกี่ยวของในทุก ระดับเห็นผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจน ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงานที่ เกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทำใหการจัดทำหลักสูตรใน ระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษาดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุก ระดับตั้งแตระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 2 ที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผูเรียนทุกกลุมเปาหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังไดทุกฝายที่ เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนา เยาวชนของชาติไปสูคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูที่กำหนดไว วิสัยทัศน หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเปนตอการศึกษาตอการ ประกอบอาชีพและการเรียนรูตลอดชีวิต มุงเนนผูเรียนเปนสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ มุงความเปนเลิศทางวิชาการ พัฒนาสมรรถนะสำคัญรอบดาน รวมถึงการ เปนพลเมืองที่ดี โดยยึดหลักคุณธรรมนำความรูนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1. เปนหลักสูตรการศึกษา มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู เปนเปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและ เยาวชนใหมีความรูทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล 2. เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ พัฒนาสมรรถนะสำคัญของผูเรียน และทักษะที่ จำเปนอยางรอบดาน มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัดการเรียนรู ครอบคลุมทุก กลุมเปาหมาย 3. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและมี คุณภาพ สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณจากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศัย รวมทั้งชุมชน สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของ ทองถิ่น จุดมุงหมาย หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน การศึกษาตอและการประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษาภาคบังคับ หรือการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 3 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรูมีสมรรถนะสำคัญ ทักษะที่จำเปน มีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิต สาธารณะที่มุงทำประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผูเรียน หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการ ใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลด ปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการ เลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตางๆที่เผชิญ ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไข ปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตางๆ ไปใชใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันใน สังคม ดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตางๆ อยาง เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรูการสื่อสาร การ ทำงาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 4 คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถ อยูรวมกับผูอื่น ในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลกดังนี้ 1. รักชาติศาสน กษัตริย 2. ซื่อสัตยสุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝเรียนรู 5. อยูอยางพอเพียง 6. มุงมั่นในการทำงาน 7. รักความเปนไทย 8. มีจิตสาธารณะ ระดับการจัดการศึกษา หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จัดระดับการศึกษาเปน 2 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3) เปนชวงสุดทายของการศึกษาภาคบังคับ มุงเนนใหผูเรียนไดสำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มีทักษะ ในการคิดวิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใชเทคโนโลยี เพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู มีความรับผิดชอบตอสังคม มีความสมดุลทั้งดานความรู ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4–6) การศึกษาระดับนี้เนนการเพิ่มพูนความรู และทักษะเฉพาะดาน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคน ทั้งดาน วิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใชวิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำความรู ไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการศึกษาตอและการประกอบอาชีพ มุงพัฒนาตนและประเทศตามบทบาท ของตน สามารถเปนผูนำ และผูใหบริการชุมชนในดานตางๆ การจัดเวลาเรียน หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ไดกำหนดโครงสรางเวลาเรียนสำหรับกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุม และ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยจัดใหเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและสภาพของผูเรียน ดังนี้ 1. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3) จัดเวลาเรียนเปนรายภาค มีเวลาเรียนวัน ละไมเกิน 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ 40 ชั่วโมงตอภาคเรียนมี คาน้ำหนักวิชา เทากับ 1 หนวยกิต (นก.)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 5 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6) จัดเวลาเรียนเปนรายภาค มีเวลาเรียน วัน ละไมนอยกวา 6 ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ 40 ชั่วโมง ตอภาคเรียนมี คาน้ำหนักวิชา เทากับ 1 หนวยกิต (นก.) มาตรฐานการเรียนรู การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลักสูตร โรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จึงกำหนดใหผูเรียนเรียนรู 8 กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร 3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาตางประเทศ ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญของการพัฒนา คุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู ปฏิบัติได มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยม ที่พึงประสงคเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และ ประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการ ประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลาวเปนสิ่งสำคัญที่ชวยสะทอนภาพการจัด การศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรูกำหนดเพียงใด


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 6 สาระการเรียนรู สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรูทักษะหรือกระบวนการเรียนรูและคุณลักษณะ อันพึงประสงคซึ่งกำหนดใหผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำเปนตองเรียนรู โดยแบงเปน 8 กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้ องคความรู ทักษะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค ในหลักสูตร โรงเรียนวิทยานุกูลนารี วิทยาศาสตร : การนำความรู และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไปใชในการศึกษา คนควาหาความรู และ แกปญหาอยางเปนระบบ การคิดอยาง เปนเหตุเปนผล คิดวิเคราะห คิดสรางสรรคและจิตวิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลก อยางสันติสุข การเปนพลเมืองดี ศรัทธา ในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณคา ของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ความรัก ชาติ และภูมิใจในความเปนไทย ศิลปะ : ความรูและทักษะใน การคิดริเริ่ม จินตนาการ สรางสรรคงานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็น คุณคาทางศิลปะ ภาษาไทย : ความรู ทักษะและ วัฒนธรรมการใชภาษา เพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณคาภูมิปญญาไทย และภูมิใจในภาษาประจำชาติ ภาษาตางประเทศ : ความรูทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช ภาษาตางประเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู และการประกอบอาชีพ การงานอาชีพ : ความรู ทักษะ และ เจตคติในการทำงาน การจัดการ การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู ทักษะและเจตคติในการสรางเสริม สุขภาพพลานามัยของตนเองและผูอื่น การปองกันและปฏิบัติตอสิ่งตางๆ ที่มี ผลตอสุขภาพอยางถูกวิธีและมีทักษะ ในการดำเนินชีวิต คณิตศาสตร: การนำความรู ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตรไปใชใน การแกปญหา การดำเนินชีวิต และศึกษาตอ การมีเหตุมีผล มีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร พัฒนาการคิดอยางเปนระบบและ สรางสรรค


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 7 มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด 8 กลุมสาระการเรียนรู 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร 3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาตางประเทศ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน ความสัมพันธของการพัฒนาคุณภาพผูเรียนตามหลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี คุณภาพของผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิสัยทัศน หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเปนตอการศึกษา ตอการประกอบ อาชีพและการเรียนรูตลอดชีวิต มุงเนนผูเรียนเปนสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนา ตนเองไดเต็มตามศักยภาพ มุงความเปนเลิศทางวิชาการ พัฒนาสมรรถนะสำคัญรอบดาน รวมถึงการเปนพลเมืองที่ดี โดยยึดหลักคุณธรรมนำความรูนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ซื่อสัตยสุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝเรียนรู 5. อยูอยางพอเพียง 6. มุงมั่นในการทำงาน 7. รักความเปนไทย 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสำคัญของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรูอันเปนสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะ ที่มุงทำประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 8 สาระและมาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรโรงเรียนวิทยานุกูลนารี พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กำหนดมาตรฐานการเรียนรูใน 8 กลุมสาระการเรียนรู จำนวน 67 มาตรฐาน ดังนี้ ภาษาไทย สาระที่1 การอาน มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาใน การดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน สาระที่2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวใน รูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี ประสิทธิภาพ สาระที่ 3 การฟง การดูและการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค สาระที่4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนำมาประยุกตใชในชีวิตจริง คณิตศาสตร สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป ความสัมพันธ ฟงกชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช มาตรฐาน ค 1.3 ใชนิพจน สมการ อสมการ และเมทริกซ อธิบายความสัมพันธหรือชวยแกปญหาที่ กำหนดให หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 1.3 สำหรับผูเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–6


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 9 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด และ นำไปใช มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวางรูป เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช สาระที่ 3 สถิติและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 3.1 เขาใจกระบวนการทางสถิติ และใชความรูทางสถิติในการแกปญหา มาตรฐาน ค 3.2 เขาใจหลักการนับเบื้องตน ความนาจะเปน และนำไปใช หมายเหตุ: มาตรฐาน ค 3.2 สำหรับผูเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–6 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาระที่ 1 วิทยาศาสตรชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตและความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศ การ ถายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมรวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออก จากเซลลความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสัตวและ มนุษยที่ทำงานสัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธกัน รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของ สสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอวัตถุ ลักษณะการ เคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 10 มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณที่เกี่ยวของกับเสียง แสง และคลื่นแมเหล็กไฟฟา รวมทั้งนำความรูไป ใชประโยชน สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอสิ่งมีชีวิต และการประยุกตใชเทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและ ภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตร อื่นๆ เพื่อแกปญหา หรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปนขั้นตอน และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูการทำงาน และการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ รูเทาทัน และมีจริยธรรม สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่อ อยูรวมกันอยางสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถือ


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 11 สาระที่ 2 หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และธำรง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทย และสังคมโลก อยางสันติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษาไวซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช ทรัพยากรที่มีอยูจำกัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอยางมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความ จำเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรสามารถใช วิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเปนไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันใช แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และสรุปขอมูลตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร ตลอดจนใชภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการ สรางสรรควิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 12 สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกำลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจำอยาง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระที่ 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยาสาร เสพติด และความรุนแรง ศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรควิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา ดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน ชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของ ดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 13 สาระที่ 3 นาฏศิลป มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน ชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของ นาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล การงานอาชีพ สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทำงาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทำงานรวมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึก ในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว สาระที่2 การอาชีพ มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจ มีทักษะที่จำเปนมีประสบการณเห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาอาชีพมีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ ภาษาตางประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยาง มีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและ ความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการ พูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนำไปใชได อยางเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใชอยางถูกตองและเหมาะสม


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 14 สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปน พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปน มนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย ปลูกฝงและสรางจิตสำนึกของการทำประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่น อยางมีความสุข โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยแบงเปน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถคิดตัดสินใจ คิด แกปญหา กำหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปนกิจกรรมที่ชวยเหลือและใหคำปรึกษาแกผูปกครองใน การมีสวนรวมพัฒนาผูเรียน นักเรียนทุกคนควรเขารวมกิจกรรมแนะแนว ระดับมัธยมศึกษา 20 ชั่วโมงตอภาค เรียน 2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนำผูตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงานรวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน เอื้ออาทร และสมานฉันทโดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวย ตนเองในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เนนการทำงานรวมกันเปนกลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บริบทของ สถานศึกษาและทองถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบำเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร นักเรียนทุก คนควรเขารวมกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบำเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร ระดับ มัธยมศึกษา 10 ชั่วโมงตอภาคเรียน 2.2 กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนควรเขารวมกิจกรรมชุมนุม ระดับมัธยมศึกษา 20 ชั่วโมงตอ ภาคเรียน


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 15 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตาม ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิต สาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตางๆ กิจกรรมสรางสรรคสังคม นักเรียนทุกคนควรเขารวมกิจกรรมเพื่อ สังคมและสาธารณประโยชน ระดับมัธยมศึกษา 20 ชั่วโมงตอภาคเรียน


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 16 โครงสรางเวลาเรียนของโรงเรียนวิทยานุกูลนารีพุทธศักราช 2566 ระดับมัธยมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรียนรู/ เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรม ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) - ประวัติศาสตร - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการ ดำรงชีวิตในสังคม - เศรษฐศาสตร - ภูมิศาสตร 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาตางประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 640 (14 นก.) 640 (15 นก.) 480 (12 นก.) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 120 120 120 120 120 120 รายวิชาเพิ่มเติม ปละ 200 ชั่วโมง ไมนอยกวา 1,680 ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,200 ชั่วโมง/ป รวม 3 ปไมนอยกวา 3,600 ชั่วโมง


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 17 กิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่กำหนดไวในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ปละ 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 จำนวน 360 ชั่วโมง เปนเวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน ในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน ใหจัดสรรเวลาใหผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รวม 3 ป จำนวน 45 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ป จำนวน 60 ชั่วโมง


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 18 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ท21101 ภาษาไทย 1 60 (1.5) ท21102 ภาษาไทย 2 60 (1.5) ท22101 ภาษาไทย 3 60 (1.5) ท22102 ภาษาไทย 4 60 (1.5) ท23101 ภาษาไทย 5 60 (1.5) ท23102 ภาษาไทย 6 60 (1.5) รวม 360 (9.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ท20201 เสริมทักษะภาษา 1 20 (0.5) ท20202 เสริมทักษะภาษา 2 20 (0.5) ท20203 การเขียนเชิงสรางสรรค 1 20 (0.5) ท20205 หลักการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร 1 20 (0.5) ท20207 ภาษาไทยเพื่อการเขียนเชิงวิชาการ 40 (1.0) ท20208 ภาษาไทยเพื่อการนำเสนอ 20 (0.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 19 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ท31101 ภาษาไทย 1 40 (1.0) ท31102 ภาษาไทย 2 40 (1.0) ท32101 ภาษาไทย 3 40 (1.0) ท32102 ภาษาไทย 4 40 (1.0) ท33101 ภาษาไทย 5 40 (1.0) ท33102 ภาษาไทย 6 40 (1.0) รวม 240 (6.0) วิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ท30201 ภาษากับวัฒนธรรม 40 (1.0) ท30202 การอานพิจารณาวรรณกรรม 40 (1.0) ท30203 การพูดในที่ชุมชน 40 (1.0) ท30204 การแตงคำประพันธ 40 (1.0) ท30205 การเขียน 1 40 (1.0) ท30206 การเขียน 2 40 (1.0) ท30207 ประวัติวรรณคดี 1 40 (1.0) ท30208 ประวัติวรรณคดี 2 40 (1.0) ท30209 หลักภาษาและการใชภาษา 1 40 (1.0) ท30210 หลักภาษาและการใชภาษา 2 40 (1.0) ท30211 ประมวลความรูภาษาไทย 1 40 (1.0) ท30212 ประมวลความรูภาษาไทย 2 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 20 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ค21101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 1 60 (1.5) ค21102 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 60 (1.5) ค22101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 3 60 (1.5) ค22102 คณิตศาสตรพื้นฐาน 4 60 (1.5) ค23101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 5 60 (1.5) ค23102 คณิตศาสตรพื้นฐาน 6 60 (1.5) รวม 360 (9.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ค21201 เสริมทักษะคณิตศาสตร 1 40 (1.0) ค21202 เสริมทักษะคณิตศาสตร 2 40 (1.0) ค22201 เสริมทักษะคณิตศาสตร 3 40 (1.0) ค22202 เสริมทักษะคณิตศาสตร 4 40 (1.0) ค23201 เสริมทักษะคณิตศาสตร 5 40 (1.0) ค23202 เสริมทักษะคณิตศาสตร 6 40 (1.0) ค20201 ความรูสึกเชิงจำนวน 20 (1.0) ค20202 ปริศนาคำนวณ 20 (1.0) ค20203 คนปญหา หาความคิด 20 (0.5) ค20204 กลยุทธ ยุทธวิธีการแกปญหา 20 (0.5) ค20205 เรขาคณิต 20 (0.5) ค20206 แฟกทอเรียล 20 (0.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 21 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ค31101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 1 40 (1.0) ค31102 คณิตศาสตรพื้ฐาน 2 40 (1.0) ค32101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 3 40 (1.0) ค32102 คณิตศาสตรพื้นฐาน 4 40 (1.0) ค33101* คณิตศาสตรพื้นฐาน 5* 40 (1.0) ค33102* คณิตศาสตรพื้นฐาน 6* 40 (1.0) รวม 240 (6.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ค31201 คณิตศาสตร 1 80 (2.0) ค31202 คณิตศาสตร 2 80 (2.0) ค32201 คณิตศาสตร 3 80 (2.0) ค32202 คณิตศาสตร 4 80 (2.0) ค33201 คณิตศาสตร 5 80 (2.0) ค33202 คณิตศาสตร 6 80 (2.0) ค31203* คณิตศาสตร 7 120 (3.0) ค31204* คณิตศาสตร 8 120 (3.0) ค32204* คณิตศาสตร 9 120 (3.0) ค32205* คณิตศาสตร 10 120 (3.0) ค30201 คณิตศาสตรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 20 (0.5) ค30202 คณิตศาสตรกับวิทยาการตางๆ 20 (0.5) ค30203 โครงงานคณิตศาสตร 1 20 (0.5) ค30204 โครงงานคณิตศาสตร 2 20 (0.5) ค30205* ตรรกศาสตรเบื้องตนและวิธีการพิสูจน 20 (0.5) ค30206* คอมบินาทอริก 20 (0.5) ค30207*อสมการ 20 (0.5) ค30208* ทฤษฎีจำนวน 20 (0.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 22 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ค30209* ทฤษฎีกราฟเบื้องตน 20 (0.5) ค30210* เรขาคณิต 20 (0.5) ค30211* พีชคณิต 20 (0.5) ค30212* สมการเชิงฟงกชัน 20 (0.5) หมายเหตุ วิชาที่มีเครื่องหมาย * เปนรายวิชาสำหรับนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 23 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ว21101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี1 60 (1.0) ว21102 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี2 60 (1.0) ว22101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี3 60 (1.0) ว22102 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี4 60 (1.0) ว23101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี5 60 (1.0) ว23102 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี6 60 (1.0) ว21103 วิทยาการคำนวณ 1 40 (0.5) ว22103 วิทยาการคำนวณ 2 40 (0.5) ว23103 วิทยาการคำนวณ 3 40 (0.5) ว21104 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 20 (0.5) ว22104 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 20 (0.5) ว23104 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 20 (0.5) รวม 540 (9.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 24 รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ว20201 กิจกรรม STEM 40 (1.0) ว20202 ของเลนวิทยาศาสตรเชิง STEM 41 (1.0) ว20203 โครงงานวิทยาศาสตร 1 40 (1.0) ว20204 โครงงานวิทยาศาสตร 2 40 (1.0) ว20205 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 40 (1.0) ว20206 การโปรแกรมเบื้องตนและIPST MicroBox 60 (1.5) ว20207 ไฟฟาและอิเล็กโทรนิคเบื้องตน 40 (1.0) ว20208 โครงงานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี 1 40 (1.0) ว20209 โครงงานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี 2 40 (1.0) ว20210 ของเลนวิทยาศาสตร 40 (1.0) ว20211 วิทยาศาสตรกับความงาม 40 (1.0) ว20212 เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม 40 (1.0) ว20213 พลังงานทดแทนกับการใชประโยชน 40 (1.0) ว20214 วิทยาศาสตรสุขภาพ 40 (1.0) ว20215 เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคมและพลังงานทดแทนกับการใช ประโยชน 60 (1.5) ว20216 การใชโปรแกรมประยุกตเพื่อการศึกษา 1 40 (1.0) ว20217 การใชโปรแกรมประยุกตเพื่อการศึกษา 2 40 (1.0) ว20218 แสงและทัศนูปกรณ 40 (1.0) ว20219 พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ 40 (1.0) ว20220 พรรณพฤกษา 40 (1.0) ว20221 สอวน.ชีววิทยา 20 (0.5) ว20222 สอวน.ฟสิกส 20 (0.5) ว20223 สอวน.เคมี 20 (0.5) ว20224 สอวน.ดาราศาสตร 20 (0.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 25 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ว31101 วิทยาศาสตรชีวภาพ 40 (1.0) ว32101 วิทยาศาสตรกายภาพเคมี 40 (1.0) ว32102 วิทยาศาสตรกายภาพฟสิกส 40 (1.0) ว33101 วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ 40 (1.0) ว31103 วิทยาการคำนวณ 1 40 (0.5) ว32103 วิทยาการคำนวณ 2 40 (0.5) ว31104 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 40 (0.5) ว32104 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 40 (0.5) รวม 320 (6.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ว31201 ฟสิกส 1 80 (2.0) ว31202 ฟสิกส 2 80 (2.0) ว32201 ฟสิกส 3 80 (2.0) ว32202 ฟสิกส 4 80 (2.0) ว33201 ฟสิกส 5 80 (2.0) ว33202 ฟสิกส 6 80 (2.0) ว31221 เคมี 1 60 (1.5) ว31222 เคมี 2 60 (1.5) ว32221 เคมี 3 60 (1.5) ว32222 เคมี 4 60 (1.5) ว33221 เคมี 5 60 (1.5) ว33222 เคมี 6 60 (1.5) ว31241 ชีววิทยา 1 60 (1.5) ว31242 ชีววิทยา 2 60 (1.5) ว32241 ชีววิทยา 3 60 (1.5) ว32242 ชีววิทยา 4 60 (1.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 26 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ว33241 ชีววิทยา 5 60 (1.5) ว33242 ชีววิทยา 6 60 (1.5) ว30201 สอวน. ฟสิกส 20 (0.5) ว30221 สอวน. เคมี 20 (0.5) ว30241 สอวน. ชีววิทยา 20 (0.5) ว30262 สอวน. ดาราศาสตร 20 (0.5) ว30243 สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน 1 40 (0.5) ว30244 สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน 2 40 (0.5) ว30261 โลก ดาราศาสตร และอวกาศ 60 (1.5) ว30263 ภูมิศาสตรเพื่อการเกษตร 40 (1.0) ว30281 เทคนิคปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร 1 40 (1.0) ว30282 เทคนิคปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร 2 40 (1.0) ว30283 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี 40 (1.0) ว30284 โครงงานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี 1 40 (1.0) ว30285 โครงงานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี 2 40 (1.0) ว30293 วิทยาการคำนวณ 3 40 (1.0) ว30294 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมบนเว็บ 40 (1.0) ว30295 การโปรแกรมและ IPST MicroBox 40 (1.0) ว30296 โครงงานคอมพิวเตอร1 40 (1.0) ว30297 โครงงานคอมพิวเตอร2 40 (1.0) ว30298 คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 27 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ส21101 สังคมศึกษา 1 60 (1.5) ส21102 สังคมศึกษา 2 60 (1.5) ส22101 สังคมศึกษา 3 60 (1.5) ส22102 สังคมศึกษา 4 60 (1.5) ส23101 สังคมศึกษา 5 60 (1.5) ส23102 สังคมศึกษา 6 60 (1.5) ส21103 ประวัติศาสตร 1 20 (0.5) ส21104 ประวัติศาสตร 2 20 (0.5) ส22103 ประวัติศาสตร 3 20 (0.5) ส22104 ประวัติศาสตร 4 20 (0.5) ส23103 ประวัติศาสตร 5 20 (0.5) ส23104 ประวัติศาสตร 6 20 (0.5) รวม 480 (12.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 28 รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ส20231 หนาที่พลเมือง 1 20 (0.5) ส20232 หนาที่พลเมือง 2 20 (0.5) ส20233 หนาที่พลเมือง 3 20 (0.5) ส20234 หนาที่พลเมือง 4 20 (0.5) ส20235 หนาที่พลเมือง 5 20 (0.5) ส20236 หนาที่พลเมือง 6 20 (0.5) ส20201 โลกศึกษา 40 (1.0) ส20202 อาเซียนศึกษา 40 (1.0) ส20221 จริยธรรมกับบุคคล 40 (1.0) ส20222 กฎหมายนารู 40 (1.0) ส20223 ประชาธิปไตยไทย 40 (1.0) ส20261 ประวัติศาสตรการตั้งถิ่นฐานในไทย 40 (1.0) ส20262 เพชรบูรณบานเรา 40 (1.0) ส20281 เอเชียตะวันออกเฉียงใต 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 29 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ส31101 สังคมศึกษา 1 40 (1.0) ส31102 สังคมศึกษา 2 40 (1.0) ส32101 สังคมศึกษา 3 40 (1.0) ส32102 สังคมศึกษา 4 40 (1.0) ส33101 สังคมศึกษา 5 40 (1.0) ส33102 สังคมศึกษา 6 40 (1.0) ส31103 ประวัติศาสตร 1 20 (0.5) ส31104 ประวัติศาสตร 2 20 (0.5) ส32103 ประวัติศาสตร 3 20 (0.5) ส32104 ประวัติศาสตร 4 20 (0.5) รวม 320 (8.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 30 รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ส31225 หนาที่พลเมือง 1 20 (0.5) ส31226 หนาที่พลเมือง 2 20 (0.5) ส32227 หนาที่พลเมือง 3 20 (0.5) ส32228 หนาที่พลเมือง 4 20 (0.5) ส30201 คุณธรรมนำชีวิต 40 (1.0) ส30202 ศาสนาสากล 40 (1.0) ส30203 อาเซียนศึกษา 40 (1.0) ส30221 การเมืองนารู 40 (1.0) ส30222 กฎหมายที่ประชาชนควรรู 40 (1.0) ส30261 ยอนรอยอูอารยธรรมไทย 40 (1.0) ส30262 อดีตสูปจจุบัน 40 (1.0) ส30263 การปกครองของไทย 40 (1.0) ส30264 เหตุการณปจจุบัน 40 (1.0) ส30265 การปกครองทองถิ่นของไทย 40 (1.0) ส30283 เศรษฐกิจพอเพียง 40 (1.0) ส30282 ภูมิศาสตรกายภาพ 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 31 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ศ21101 ศิลปะ 1 40 (1.0) ศ21102 ศิลปะ 2 40 (1.0) ศ22101 ศิลปะ 3 40 (1.0) ศ22102 ศิลปะ 4 40 (1.0) ศ23101 ศิลปะ 5 40 (1.0) ศ23102 ศิลปะ 6 40 (1.0) รวม 240 (6.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 32 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ศ31101 ศิลปะ 1 20 (0.5) ศ31102 ศิลปะ 2 20 (0.5) ศ32101 ศิลปะ 3 20 (0.5) ศ32102 ศิลปะ 4 20 (0.5) ศ33101 ศิลปะ 5 20 (0.5) ศ33102 ศิลปะ 6 20 (0.5) รวม 120 (3.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 33 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) พ21101 สุขศึกษา 1 20 (0.5) พ21102 สุขศึกษา 2 20 (0.5) พ22101 สุขศึกษา 3 20 (0.5) พ22102 สุขศึกษา 4 20 (0.5) พ23101 สุขศึกษา 5 20 (0.5) พ23102 สุขศึกษา 6 20 (0.5) พ21103 พลศึกษา 1 20 (0.5) พ21104 พลศึกษา 2 20 (0.5) พ22103 พลศึกษา 3 20 (0.5) พ22104 พลศึกษา 4 20 (0.5) พ23103 พลศึกษา 5 20 (0.5) พ23104 พลศึกษา 6 20 (0.5) รวม 240 (6.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) พ20201 เพศศึกษา 40 (1.0) พ20202 ฟุตซอล 40 (1.0) พ20203 ฟุตบอล 40 (1.0) พ20204 แบดมินตัน 40 (1.0) พ20205 ซอฟบอล 40 (1.0) พ20206 เซปกตะกรอ 40 (1.0) พ20207 กีฬานันทนาการ 40 (1.0) พ20208 บาสเกตบอล 40 (1.0) พ20209 วอลเลยบอล 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 34 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4- 6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 20 (0.5) พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 20 (0.5) พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 20 (0.5) พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 20 (0.5) พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 20 (0.5) พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 20 (0.5) รวม 120 (6.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) พ30201 แบตมินตัน 40 (1.0) พ30202 ซอฟบอล 40 (1.0) พ30203 เซปกตะกรอ 40 (1.0) พ30204 นันทนาการ 40 (1.0) พ30205 บาสเกตบอล 40 (1.0) พ30206 วอลเลยบอล 40 (1.0) พ30207 ฟุตซอล 40 (1.0) พ30208 ฟุตบอล 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 35 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ง21101 การงานอาชีพ 1 20 (0.5) ง21102 การงานอาชีพ 2 20 (0.5) ง22101 การงานอาชีพ 3 20 (0.5) ง22102 การงานอาชีพ 4 20 (0.5) ง23101 การงานอาชีพ 5 20 (0.5) ง23102 การงานอาชีพ 6 20 (0.5) รวม 120 (3.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ง20201 การขยายพันธุพืช 40 (1.0) ง20202 การปลูกไมดอกไมประดับ 40 (1.0) ง20203 การจัดสวน 1 40 (1.0) ง20204 การปลูกพืชผักสวนครัว 40 (1.0) ง20205 อาหารไทย 40 (1.0) ง20206 งานรอยมาลัย 40 (1.0) ง20207 งานใบตอง 40 (1.0) ง20209 งานประดิดประดอย 40 (1.0) ง20212 การจัดสวน 2 40 (1.0) ง20221 งานชางอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 40 (1.0) ง20222 งานชางไฟฟาในบานเบื้องตน 40 (1.0) ง20223 การใชหองสมุดเพื่อการคนควา 40 (1.0) ง20224 การเขียนรายงานและการคนควา 40 (1.0) ง20225 การเขาเลมหนังสือ, 40 (1.0) ง20263 งานสมาคม 40 (1.0) ง20266 ชางไมครุภัณฑ 40 (1.0) ง20267 เครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 36 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ง31101 การงานอาชีพ 1 20 (0.5) ง31102 การงานอาชีพ 2 20 (0.5) ง32101 การงานอาชีพ 3 20 (0.5) ง32102 การงานอาชีพ 4 20 (0.5) ง33101 การงานอาชีพ 5 20 (0.5) ง33102 การงานอาชีพ 6 20 (0.5) รวม 120 (3.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ง30201 การขยายพันธุพืช 40 (1.0) ง30202 การปลูกไมดอกไมประดับ 40 (1.0) ง30203 การจัดสวน 40 (1.0) ง30204 การปลูกพืชผักสวนครัว 40 (1.0) ง30205 อาหารไทย 40 (1.0) ง30211 ประดิดประดอย 40 (1.0) ง30212 ขนมอบ 40 (1.0) ง30213 การจัดสวนในภาชนะ 40 (1.0) ง30221 งานชางเดินสายไฟฟาในบาน 40 (1.0) ง30222 งานชางอิเล็กทรอนิกส 40 (1.0) ง30224 วารสารและหนังสือพิมพ 40 (1.0) ง30225 ชางเขาเลมหนังสือ 40 (1.0) ง30227 ทรัพยากรสารนิเทศ 40 (1.0) ง30264 หลักการขายเบื้องตน 40 (1.0) ง30265 งานเลขานุการ 40 (1.0) ง30269 งานบริการทองเที่ยว 40 (1.0) ง30270 โครงงานอาชีพธุรกิจ 40 (1.0) ง30271 บัญชีกิจการบริการ 40 (1.0) ง30272 บัญชีกิจการจำหนายสินคา 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 37 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ง30274 การจัดงานเลี้ยง 40 (1.0) ง30275 ชางเสริมสวย 1 40 (1.0) ง30276 ชางตัดเย็บเสื้อผาเบื้องตน 40 (1.0) ง30278 ชางไมครุภัณฑ 40 (1.0) ง30279 ชางเพนทเล็บ 40 (1.0) ง30280 อาหารพื้นเมือง 40 (1.0) ง30281 ขนมไทย 40 (1.0) ง30282 ชางจักสานไมไผ 40 (1.0) ง30283 การประกอบธุรกิจขนาดเล็ก 40 (1.0) ง30284 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 40 (1.0) ง30285 งานรอยมาลัย 40 (1.0) ง30286 งานใบตอง 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 38 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม. 1-3) รายวิชาพื้นฐาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 60 (1.5) อ21102 ภาษาอังกฤษ 2 60 (1.5) อ22101 ภาษาอังกฤษ 3 60 (1.5) อ22102 ภาษาอังกฤษ 4 60 (1.5) อ23101 ภาษาอังกฤษ 5 60 (1.5) อ23102 ภาษาอังกฤษ 6 60 (1.5) รวม 360 (9.0) รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ20201 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 1 40 (1.0) อ20202 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 2 40 (1.0) อ20203 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 3 40 (1.0) อ20204 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 4 40 (1.0) อ20205 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 5 40 (1.0) อ20206 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 6 40 (1.0) อ20213 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ1 40 (1.0) อ20214 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ2 40 (1.0) อ20215 การอานเชิงวิเคราะห 1 40 (1.0) อ20216 การอานเชิงวิเคราะห 2 40 (1.0) อ20217 การเขียนภาษาอังกฤษเชิงสรางสรรค 1 40 (1.0) อ20218 การเขียนภาษาอังกฤษเชิงสรางสรรค 2 40 (1.0) อ20219 ภาษาอังกฤษเพื่อการอาน-เขียน 40 (1.0) อ20220 ภาษาอังกฤษสำหรับวิทย-คณิต 40 (1.0) อ20221 ภาษาอังกฤษเพื่อการพูด-เขียน 40 (1.0) อ20222 ภาษาอังกฤษเพื่อการอาน-เขียน 1 40 (1.0) อ20223 ภาษาอังกฤษเพื่อการอาน-เขียน 2 40 (1.0) อ20224 การพูดเพื่อการนำเสนอ 1 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 39 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ20225 การพูดเพื่อการนำเสนอ 2 40 (1.0) จ20201 ภาษาจีน 1 40 (1.0) จ20202 ภาษาจีน 2 40 (1.0) จ20203 ภาษาจีน 3 40 (1.0) จ20204 ภาษาจีน 4 40 (1.0) จ20205 ภาษาจีน 5 40 (1.0) จ20206 ภาษาจีน 6 40 (1.0) จ20207 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 40 (1.0) จ20208 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 40 (1.0) จ20209 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 40 (1.0) จ20210 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 4 40 (1.0) จ20211 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 5 40 (1.0) จ20212 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 6 40 (1.0) จ20213 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 40 (1.0) จ20214 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 40 (1.0) จ20215 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 3 40 (1.0) จ20216 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 4 40 (1.0) จ20217 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 5 40 (1.0) จ20218 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 6 40 (1.0) จ20219 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 1 20 (0.5) จ20220 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 2 20 (0.5) จ20221 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 3 20 (0.5) จ20222 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 4 20 (0.5) จ20223 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 5 20 (0.5) จ20224 ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน 6 20 (0.5) ญ20201 ภาษาญี่ปุน 1 40 (1.0) ญ20202 ภาษาญี่ปุน 2 40 (1.0) ญ20203 ภาษาญี่ปุน 3 40 (1.0) ญ20204 ภาษาญี่ปุน 4 40 (1.0) ญ20205 ภาษาญี่ปุน 5 40 (1.0) ญ20206 ภาษาญี่ปุน 6 40 (1.0) ญ20207 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 1 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 40 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ญ20208 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 2 40 (1.0) ญ20209 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 3 40 (1.0) ญ20210 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 4 40 (1.0) ญ20211 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 5 40 (1.0) ญ20212 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 6 40 (1.0) ญ20213 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 1 40 (1.0) ญ20214 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 2 40 (1.0) ญ20215 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 3 40 (1.0) ญ20216 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 4 40 (1.0) ญ20217 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 5 40 (1.0) ญ20218 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 6 40 (1.0) ญ20219 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 1 20 (0.5) ญ20220 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 2 20 (0.5) ญ20221 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 3 20 (0.5) ญ20222 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 4 20 (0.5) ญ20223 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 5 20 (0.5) ญ20224 ภาษาญี่ปุนในชีวิตประจำวัน 6 20 (0.5)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 41 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4- 6) รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ30201 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 1 20 (0.5) อ30202 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 2 20 (0.5) อ30203 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 3 20 (0.5) อ30204 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 4 20 (0.5) อ30205 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 5 20 (0.5) อ30206 ภาษาอังกฤษฟง-พูด 6 20 (0.5) อ30207 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 40 (1.0) อ30208 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 40 (1.0) อ30209 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 40 (1.0) อ30210 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 40 (1.0) อ30211 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5 40 (1.0) อ30212 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 6 40 (1.0) อ30213 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ 1 40 (1.0) อ30214 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ 2 40 (1.0) อ30215 การอานเชิงวิเคราะห 1 40 (1.0) อ30216 การอานเชิงวิเคราะห 2 40 (1.0) อ30217 ภาษาอังกฤษอาน-เขียน 1 40 (1.0) อ30218 ภาษาอังกฤษอาน-เขียน 2 40 (1.0) รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ31101 ภาษาอังกฤษ 1 40 (1.0) อ31102 ภาษาอังกฤษ 2 40 (1.0) อ32101 ภาษาอังกฤษ 3 40 (1.0) อ32102 ภาษาอังกฤษ 4 40 (1.0) อ33101 ภาษาอังกฤษ 5 40 (1.0) อ33102 ภาษาอังกฤษ 6 40 (1.0) รวม 240 (6.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 42 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) อ30219 ภาษาอังกฤษเพื่อการเขียน 1 40 (1.0) อ30220 ภาษาอังกฤษเพื่อการเขียน 2 40 (1.0) อ30221 ประมวลความรูภาษาอังกฤษ 1 40 (1.0) อ30222 ประมวลความรูภาษาอังกฤษ 2 40 (1.0) อ30223 การอานภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 1 40 (1.0) อ30224 การอานภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร 2 40 (1.0) อ30225 เสริมทักษะฟงพูดภาษาอังกฤษ 1 40 (1.0) อ30226 เสริมทักษะฟงพูดภาษาอังกฤษ 2 40 (1.0) อ30227 ภาษาอังกฤษกับสิ่งแวดลอม 40 (1.0) อ30228 ภาษาอังกฤษกับอินเทอรเน็ต 40 (1.0) อ30229 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต 1 40 (1.0) อ30230 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต 2 40 (1.0) จ30201 ภาษาจีน 1 20 (0.5) จ30202 ภาษาจีน 2 20 (0.5) จ30203 ภาษาจีน 3 20 (0.5) จ30204 ภาษาจีน 4 20 (0.5) จ30205 ภาษาจีน 5 20 (0.5) จ30206 ภาษาจีน 6 20 (0.5) จ30207 ภาษาจีนฟง-พูด 1 40 (1.0) จ30208 ภาษาจีนฟง-พูด 2 40 (1.0) จ30209 ภาษาจีนฟง-พูด 3 40 (1.0) จ30210 ภาษาจีนฟง-พูด 4 40 (1.0) จ30211 ภาษาจีนฟง-พูด 5 40 (1.0) จ30212 ภาษาจีนฟง-พูด 6 40 (1.0) จ30213 ภาษาจีนอาน-เขียน 1 120 (3.0) จ30214 ภาษาจีนอาน-เขียน 2 120 (3.0) จ30215 ภาษาจีนอาน-เขียน 3 120 (3.0) จ30216 ภาษาจีนอาน-เขียน 4 120 (3.0) จ30217 ภาษาจีนอาน-เขียน 5 120 (3.0) จ30218 ภาษาจีนอาน-เขียน 6 120 (3.0) จ30219 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1 40 (1.0) จ30220 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 43 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) จ30221 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 40 (1.0) จ30222 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 4 40 (1.0) จ30223 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 5 40 (1.0) จ30224 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 6 40 (1.0) จ30225 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 1 120 (3.0) จ30226 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 2 120 (3.0) จ30227 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 3 120 (3.0) จ30228 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 4 120 (3.0) จ30229 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 5 120 (3.0) จ30230 ภาษาและวัฒนธรรมจีน 6 120 (3.0) ญ30201 ภาษาญี่ปุน 1 20 (0.5) ญ30202 ภาษาญี่ปุน 2 20 (0.5) ญ30203 ภาษาญี่ปุน 3 20 (0.5) ญ30204 ภาษาญี่ปุน 4 20 (0.5) ญ30205 ภาษาญี่ปุน 5 20 (0.5) ญ30206 ภาษาญี่ปุน 6 20 (0.5) ญ30207 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 1 40 (1.0) ญ30208 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 2 40 (1.0) ญ30209 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 3 40 (1.0) ญ30210 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 4 40 (1.0) ญ30211 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 5 40 (1.0) ญ30212 ภาษาญี่ปุน ฟง-พูด 6 40 (1.0) ญ30213 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 1 120 (3.0) ญ30214 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 2 120 (3.0) ญ30215 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 3 120 (3.0) ญ30216 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 4 120 (3.0) ญ30217 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 5 120 (3.0) ญ30218 ภาษาญี่ปุนอาน-เขียน 6 120 (3.0) ญ30219 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 1 40 (1.0) ญ30220 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 2 40 (1.0) ญ30221 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 3 40 (1.0) ญ30222 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 4 40 (1.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 44 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) ญ30223 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 5 40 (1.0) ญ30224 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 6 40 (1.0) ญ30225 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 1 120 (3.0) ญ30226 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 2 120 (3.0) ญ30227 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 3 120 (3.0) ญ30228 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 4 120 (3.0) ญ30229 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 5 120 (3.0) ญ30230 ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุน 6 120 (3.0)


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 45 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมพัมนาผูเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ม. 1- 3) รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) I20201 การศึกษาคนควาและสรางองคความรู 1 20 (0.5) I20202 การศึกษาคนควาและสรางองคความรู 2 20 (0.5) I20203 การสื่อสารและการนำเสนอ 1 20 (0.5) I20204 การสื่อสารและการนำเสนอ 2 20 (0.5) ก20907 การนำองคความรูไปบริการสังคม 20 ( - ) ก21091 แนะแนว 1 20 ( - ) ก21092 แนะแนว2 20 ( - ) ก22091 แนะแนว 3 20 ( - ) ก22092 แนะแนว 4 20 ( - ) ก23091 แนะแนว 5 20 ( - ) ก23092 แนะแนว 6 20 ( - ) ก20901 ลูกเสือ เนตรนารี1 20 ( - ) ก20902 ลูกเสือ เนตรนารี 2 20 ( - ) ก20903 ลูกเสือ เนตรนารี 3 20 ( - ) ก20904 ลูกเสือ เนตรนารี4 20 ( - ) ก20905 ลูกเสือ เนตรนารี5 20 ( - ) ก20906 ลูกเสือ เนตรนารี6 20 ( - ) ก20901 ยุวกาชาด 1 20 ( - ) ก20902 ยุวกาชาด 2 20 ( - ) ก20903 ยุวกาชาด 3 20 ( - ) ก20904 ยุวกาชาด 4 20 ( - ) ก20905 ยุวกาชาด 5 20 ( - ) ก20906 ยุวกาชาด 6 20 ( - )


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 46 โครงสรางรายวิชา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 4- 6) รหัสวิชา ชื่อรายวิชา เวลาเรียน (หนวยกิต) I30201 การศึกษาคนควาและสรางองคความรู 1 20 (0.5) I30202 การศึกษาคนควาและสรางองคความรู 2 20 (0.5) I30203 การสื่อสารและการนำเสนอ 1 20 (0.5) I30204 การสื่อสารและการนำเสนอ 2 20 (0.5) ก30903 การนำองคความรูไปบริการสังคม 20 ( - ) ก31091 แนะแนว 1 20 ( - ) ก31092 แนะแนว 2 20 ( - ) ก32091 แนะแนว 3 20 ( - ) ก32092 แนะแนว 4 20 ( - ) ก33091 แนะแนว 5 20 ( - ) ก33092 แนะแนว 6 20 ( - ) ก31905 ชุมนุมวิชาการ 1 20 ( - ) ก31906 ชุมนุมวิชาการ 2 20 ( - ) ก32905 ชุมนุมวิชาการ 3 20 ( - ) ก32906 ชุมนุมวิชาการ 4 20 ( - ) ก33905 ชุมนุมวิชาการ 5 20 ( - ) ก33906 ชุมนุมวิชาการ 6 20 ( - ) ก31907 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 1 20 ( - ) ก31908 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 2 20 ( - ) ก32907 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 3 20 ( - ) ก32908 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 4 20 ( - ) ก33907 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 5 20 ( - ) ก33908 ชุมนุมนักศึกษาวิชาทหาร 6 20 ( - ) ก31903 กิจกรรมเพื่อสังคม 1 20 ( - ) ก31904 กิจกรรมเพื่อสังคม 2 20 ( - ) ก32903 กิจกรรมเพื่อสังคม 3 20 ( - ) ก32904 กิจกรรมเพื่อสังคม 4 20 ( - ) ก33903 กิจกรรมเพื่อสังคม 5 20 ( - ) ก33904 กิจกรรมเพื่อสังคม 6 20 ( - )


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 47 การวัดและประเมินผลการเรียนรู การวัดและการประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตางๆ ของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูและใชเปนขอมูลการ ตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาตองมีกระบวนการจัดการที่เปนระบบเพื่อใหการดำเนินการวัดและประเมินผล การเรียนเปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และใหมีการประเมินที่ตรงตามความรู ความสามารถที่ แทจริงของผูเรียน ถูกตองตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู รวมทั้งสามารถรองรับการประเมิน ภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได การวัดและการประเมินผลการเรียนรู มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาผูเรียน และตัดสินผลการเรียน ดังนั้น การประเมินของครูผูสอนตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด ตามกลุมสาระการเรียนรู ที่กำหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดใหมีการประเมินการอานคิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ใหปนสวนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ดำเนินการดวย เทคนิควิธีที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางรอบดาน ทั้งดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผูเรียน โดย ตั้งอยูบนพื้นฐานของความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคูไปในกระบวนการเรียนการ สอน ตามความเหมาะสม เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียน 1. การวัดและประเมินผลการเรียน 1.1 การวัดและประเมินผลการเรียนกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุม ใหถือปฏิบัติ ดังนี้ ครูผูสอนทำการวัดและประเมินนักเรียนเปนรายวิชา นักเรียนที่จะไดรับการตัดสินผลการเรียนแตละ รายวิชาตองมีเวลาเรียนไมนอยกวา รอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด และตองผานเกณฑการประเมินตัวชี้วัด รายวิชาพื้นฐานทุกตัวชี้วัด หรือผานเกณฑการประเมินผลการเรียนรูของวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวารอยละ 80 ของผลการเรียนรูแตละรายวิชา ครูผูสอนทำการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนเปนรายวิชาตาม ตัวชี้วัดหรือตามผลการเรียนรูที่กำหนดในหนวยการเรียนรู ใหไดผลการประเมินตามความสามารถที่แทจริง ของนักเรียน โดยทำการวัดและประเมินผลการเรียนรูไปพรอมกับการจัดการเรียนการสอนดวย ครูผูสอนตอง นำนวัตกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่หลากหลาย เชน การประเมินสภาพจริง การประเมินการ ปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงานและการประเมินจากแฟมสะสมงานควบคูกับการใชแบบทดสอบแบบ ตางๆ และตองใหความสำคัญกับการประเมินระหวางภาคมากกวาการประเมินปลายภาค ครูผูสอนทำการวัด และประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนเปนรายวิชาตามตัวชี้วัดหรือตามผลการเรียนรู ใชอัตราสวนการ ประเมินระหวางเรียนการประเมินปลายภาคเรียน เทากับ 70 : 30 หรือ 80 : 20


หลักสูตรโรงเร�ยนว�ทยานุกูลนาร� พุทธศักราช 2566 48 นักเรียนที่มีเวลาเรียนไมนอยกวา รอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด จะไดรับการประเมินใหระดับผล การเรียนเปนรายวิชา ตามเกณฑที่โรงเรียนกำหนด ผูที่ไดคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปถือวา “ผาน” การ ประเมินผลการเรียนรูรายวิชา ผูที่ไดคะแนนต่ำกวารอยละ 50 ถือวาไมผานเกณฑการประเมิน ผูที่ไมผานการ ประเมินใหดำเนินการสอบแกตัวไดไมเกิน 2 ครั้ง ตามระยะเวลาที่สถานศึกษากำหนด ทั้งนี้ใหเสร็จสิ้นภายในป การศึกษานั้น ผลการสอบแกตัวไดไมเกิน “1” ถาสอบแกตัว 2 ครั้งแลวไมผานใหเรียนซ้ำสำหรับรายวิชา พื้นฐาน ถาเปนรายวิชาเพิ่มเติมใหอยูในดุลยพินิจของผูอำนวยการวาจะใหเรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม 1.2 การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ใหดำเนินการดังนี้ ครูผูสอนดำเนินการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน โดยใชเกณฑการประเมินของโรงเรียน ตัดสินระดับคุณภาพ 4 ระดับ ไดแก ดีเยี่ยม ดี ผาน และไมผาน 1.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน ใหดำเนินการดังนี้ ครูผูสอนและครูที่ปรึกษาประจำชั้นดำเนินการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนแตละ ประการตามตัวชี้วัดเปนระดับคุณภาพ 4 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผาน และไมผาน 1.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ใหครูผูสอนแตละกิจกรรม ประเมินตามเกณฑ ดังนี้ ประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของนักเรียนตามจุดประสงคสำคัญของกิจกรรม ซึ่ง นักเรียนจะตองมีเวลาเขารวมกิจกรรมไมนอยกวารอยละ 80 ของเวลาทั้งหมด นักเรียนที่มีคุณสมบัติครบทั้ง 2 เกณฑ ไดผลการประเมินในระดับ “ผาน” นักเรียนที่ขาดคุณสมบัติเกณฑใดเกณฑหนึ่งหรือทั้งสองเกณฑ ใหผลการประเมินในระดับ “ไมผาน” 2. การใหระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา ใหใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเปน 8 ระดับ ดังนี้ ชวงคะแนน ระดับผลการเรียน ความหมาย 80-100 75-79 70-74 65-69 60-64 55-59 60-54 0-49 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ผลการเรียนดีเยี่ยม ผลการเรียนดีมาก ผลการเรียนดี ผลการเรียนคอนขางดี ผลการเรียนนาพอใจ ผลการเรียนพอใช ผลการเรียนผานเกณฑขั้นต่ำ ผลการเรียนต่ำกวาเกณฑ


Click to View FlipBook Version