The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลcar1-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prutaporn.l, 2022-05-20 06:23:36

รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลcar1-2564

รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลcar1-2564

รายงานการวเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบุคคล (CAR1)
นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/1 ปีการศกึ ษา 2564

นางสาวพฤฒพร ลลิตานุรักษ์
ครู

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรยี นวิทยานุกลู นารี จงั หวัดเพชรบรู ณ์
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาเพชรบรู ณ์

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นวทิ ยานกุ ลู นารี สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเพชรบูรณ์

ที่………..…../……………. วนั ท่ี 22 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2564

เรือ่ ง รายงานการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คล (CAR1) ภาคเรยี นที่ 1/2564

…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………..

เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวทิ ยานุกูลนารี

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวพฤฒพร ลลิตานุรักษ์ ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการ ได้รับ
มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ตามคำสั่งโรงเรียนวิทยานุกูลนารีท่ี
207/2564 ลงวันท่ี 30 เมษายน 2564 เปน็ ครูที่ปรึกษาประจำช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1 มีนักเรียนจำนวน 36
คน ไม่เข้าร่วมการประเมิน 2 คน ในสภาวการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ให้นักเรียนตอบ
แบบสอบถามออนไลน์ผา่ น google form ที่ครูประจำช้ันไดจ้ ดั ทำไว้ใหส้ อดคลอ้ งกับแบบการประเมินเพอื่ ให้
สามารถนำมาแปลผลไดด้ ังเดิม

เพื่อประโยชน์ในการวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและช่วยเ หลือ
ผู้เรียน ข้าพเจ้าจึงจัดทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อให้ทราบสภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรคและความสามารถ
ของผ้เู รียน ดงั เอกสารท่ีแนบมาพร้อมนี้

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ
ลงชอ่ื …………………………………..…………..ผู้สอน
(นางสาวพฤฒพร ลลติ านุรักษ)์

ความเหน็ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

 มผี ลการศึกษาทม่ี ีประโยชนต์ ่อการนำไปวางแผนชว่ ยเหลือ แกป้ ญั หาและพัฒนาผูเ้ รียน

 อื่น ๆ ........................................................................................................................................
ลงชอื่ .........................................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(นายทรงพล จิรานธิ ภิ ัทร)

ความเหน็ รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

 ควรนำขอ้ มลู ไปใชว้ างแผนพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ หมาะสม

 อื่น ๆ .........................................................................................................................................

ลงชอ่ื ......................................รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
(นางจนิ ตนา มลู สวัสด์ิ)

ความเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี น

 ทราบ ขอบคณุ ท่ีดำเนนิ การ ใหน้ ำขอ้ มูลการวิเคราะหผ์ ู้เรียนไปใชว้ างแผนพฒั นาผเู้ รยี นต่อไป
 อื่น ๆ ............................................................................................................................................

ลงชอื่ ...............................................
(นายพชั รนิ ภชู่ ัย)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นวิทยานกุ ูลนารี

เรอื่ ง รายงานผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคล (CAR 1) นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1
ผู้รายงาน โรงเรยี นวทิ ยานกุ ูลนารี ปกี ารศึกษา 2564
นางสาวพฤฒพร ลลิตานรุ ักษ์

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลด้านความพร้อมทางการเรียน

ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลด้านลักษณะบุคลกิ ภาพ และ ศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลด้านวิธีการ

เรียนรู้ตามลักษณะการรับรู้ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/1 โรงเรียนวิทยานุกูลนารี

จำนวน 36 คน เครือ่ งมือที่ใช้ในการวจิ ัย ไดแ้ ก่ แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลด้านความพรอ้ มทางการเรยี น

แบบวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะบุคลิกภาพ และแบบวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะการรับรู้

วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม WKASP : โปรแกรมวเิ คราะห์ผ้เู รยี นรายบคุ คล โรงเรยี นวิทยานกุ ูลนารี โดย

ใช้ ค่าเฉลี่ย ( X ) และรอ้ ยละในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ผลการวิจัย พบว่า ชั้น ม. 2/1 ปกี ารศึกษา 2564
1. นักเรียนมีความพร้อมทางการเรียน ภาพรวม อยู่ในระดับ ดี ( X = 2.57) โดยมีความพร้อม
มากทสี่ ดุ เรียงจากมากไปหาน้อย คือ ความพรอ้ มด้าน สังคม ระดับดี ( X = 2.82) ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย
จิตใจ ระดับดี ( X = 2.69) ความพร้อมด้านสติปัญญา ระดับดี ( X = 2.53) ความพร้อมด้านพฤติกรรม
ระดับดี ( X = 2.45) และความพร้อมด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ระดับดี ( X = 2.35)
นกั เรียนอยใู่ นกล่มุ ดี จำนวน 34 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 เนือ่ งจากมนี กั เรียนไมป่ ระเมนิ จำนวน 2 คน
2. นกั เรียนส่วนใหญม่ บี ุคลกิ ภาพการเรียนรแู้ บบผสมผสาน รอ้ ยละ 55.88 รองลงมาคอื มบี ุคลกิ ภาพ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ ร้อยละ 23.53 และมีบุคลิกภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ ม ร้อยละ 8.82 จะเห็นได้
ว่านักเรียนในชั้นเรียน มีบุคลิกภาพการเรียนรู้ที่ผสมผสาน อาศัยความร่วมในชั้นเรียนและเพื่อนร่วมเรียน
มากกว่ารูปแบบการเรียนคนเดียว อีกทั้งยังพบว่า ไม่มีรูปแบบการพึ่งพาผู้เรียนเพียงฝ่ายเดียว และไม่มี
รปู แบบการเรยี นแบบแขง่ ขนั เลย
3. นักเรยี นมีลลี าการเรียนรู้ดว้ ยการเห็น มากที่สดุ ร้อยละ 61.76 รองลงมา คือการเรียนรู้ด้วยการ
สัมผัส ร้อยละ 20.59 และการเรยี นรู้ด้วยการฟังเท่ากับการเรียนรู้แบบผสม คิดเป็นรอ้ ยละ 8.82 จะเห็นได้
ว่าในชั้นเรียนนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีด้วยการมองเห็นดังนั้นในการทำกิจกรรมหรือการจัดการเรียนรู้
ครูผู้สอนควรให้นักเรียนสามารถมองเห็นภาพ แผนผัง ตาราง อีกทั้งได้เรียนรู้ด้วยการสัมผัส ลงมือปฏิบัติ
เพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรียนเรยี นรู้ไดด้ ีมากขนึ้

กติ ตกิ รรมประกาศ

ครูมีบทบาทสำคญั ในฐานะเป็นผู้ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเอ้ืออำนวยให้ผู้เรียนเป็นผูแ้ สวงหา
ความรู้และพัฒนาตนเอง ในบรรยากาศและสถานการณท์ ี่ครูจดั ให้ผเู้ รียนไดค้ ดิ เอง ปฏบิ ัตเิ องและนำไปสกู่ าร
สร้างความรดู้ ้วยตนเองอยา่ งพงึ พอใจ

การรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลจะช่วยให้ครูมีข้อมูลที่สำคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมสนองตอบความต้องการ ความถนัด ความสนใจ และวิธีการหรือลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละ
คน รายงานการวิเคราะห์ผูเ้ รยี นรายบุคคล เลม่ นี้มกี ารวเิ คราะห์ผู้เรยี น 3 แบบ คือ

1. การวเิ คราะห์ผเู้ รยี นในแตล่ ะดา้ นเป็นรายบคุ คลดา้ นความพร้อมทางการเรยี น
2. การวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คลดา้ นลกั ษณะบุคลิกภาพ
3. การวิเคราะห์ผเู้ รยี นรายบุคคลดา้ นวิธีการเรียนร้ตู ามลักษณะการรบั รู้
ผู้รายงานขอขอบคุณคณะทำงานนิเทศการศึกษา กลุ่มบริหารงานวิชาการ ที่ได้สร้างโปรแกรมใน
การใช้วิเคราะห์ผู้เรียน ทำให้การวิเคราะห์ผูเ้ รยี นมีความสะดวกและแม่นยำยิ่งขึน้ และขอบคุณครู นักเรียน
รองผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการโรงเรียนที่ได้ให้การสนับสนุน อำนวยการต่าง ๆ ทำให้การดำเนินการสำเร็จ
ด้วยดี

ผ้รู ายงาน
นางสาวพฤฒพร ลลิตานุรกั ษ์

สารบญั

บทที่ 1 บทนำ.............................................................................................................................. หนา้
บทท่ี 2 เอกสาร งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง .......................................................................................... 1
บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ งาน ............................................................................................................... 3
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ................................................................................................... 11
บทที่ 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................. 12
บรรณานกุ รม .................................................................................................................................. 15
ภาคผนวก ....................................................................................................................................... 17
18
ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิเคราะหผ์ ู้เรยี น ........................................................ 19
ภาคผนวก ข ภาพการวิเคราะหผ์ เู้ รียนเปน็ รายบุคคล ................................................... 23

1

บทที่ 1
บทนำ

แนวคิดและเหตผุ ล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545
มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้และ
ถอื ว่าผู้เรียนมคี วามสำคญั ทส่ี ุด กระบวนการจดั การศึกษาต้องสง่ เสริมให้ผเู้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพ มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องดำเนินการจัดเนื้อหาสาระ
และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของผู้เรยี นโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความต้องการ
ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน จำเป็นที่ครูต้องมีเทคนิควิธีการในการรวบรวมข้อมูล และสามารถ
เลือกใช้เครื่องมือได้เหมาะสมเพื่อการรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ตลอดจนสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการใช้
เคร่อื งมือต่างๆมาวเิ คราะห์เพือ่ นำไปใชใ้ นการวางแผนชว่ ยเหลือและพฒั นาผ้เู รียนตอ่ ไป

ผู้รายงานในฐานะทเ่ี ป็นครูท่ปี รกึ ษาประจำชนั้ และเป็นครูผู้สอนจึงทำการศกึ ษาข้อมลู และวิเคราะห์
ผู้เรียนที่รับผิดชอบเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปวางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมสอดคล้อง
กับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ศกึ ษา วเิ คราะหว์ เิ คราะหผ์ ้เู รยี นรายบุคคลด้านความพรอ้ มทางการเรียน
2. เพื่อศึกษา วเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคลด้านลักษณะบุคลกิ ภาพ
3. เพือ่ ศกึ ษา วิเคราะห์ผเู้ รียนรายบุคคลด้านวธิ กี ารเรียนรตู้ ามลกั ษณะการรบั รู้

ขอบเขตของการวเิ คราะห์

การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คลครง้ั นศ้ี ึกษาเฉพาะนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/1 ทอ่ี ยใู่ น
ความดูแลของผรู้ ายงาน จำนวน 36 คน (ไมป่ ระเมนิ จำนวน 2 คน)

2

นิยามคำศพั ท์
1. นักเรยี น หมายถงึ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1 ทเ่ี รยี นในโรงเรยี นวิทยานุกลู นารี

ปกี ารศึกษา 2564 ท่อี ยู่ในความดแู ลของผู้รายงาน จำนวน 34 คน (ไม่ประเมนิ จำนวน 2 คน)
2. วธิ ีการเรียนรู้ (Learning Style) หมายถงึ รูปแบบวธิ ีการเรยี นรูห้ รอื ลลี าการเรยี นรู้
3. การวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คลด้านความพรอ้ มทางการเรียน หมายถึง การวเิ คราะหค์ วาม

แตกต่างระหว่างบคุ คล 5 ด้าน ดังน้ี
1. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
2. ความพรอ้ มด้านสติปญั ญา
3. ความพรอ้ มดา้ นพฤตกิ รรม
4. ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย
5. ความพรอ้ มด้านสังคม

4. การวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะบุคลิกภาพ หมายถึง การวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของ
นักเรียน 6 รปู แบบตามแนวคิดของแอนโทนี เอฟ กราชาและไรช์ แมน (Anthony F. Grasha and Sheryl
Reichman, 1980) ได้แก่ วิธกี ารเรียนรู้แบบอิสระ (พ่ึงตนเอง) วิธีการเรียนรูแ้ บบหลบหลกี (แบบหลกี เล่ียง)
วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (แบบพึ่งกลุ่ม) วิธีการเรียนรู้แบบพึ่งพา (แบบพึ่งผู้อื่น วิธีการเรียนรู้แบบแข่งขัน
และวธิ กี ารเรียนรแู้ บบมสี ่วนร่วม

5. การวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ตามลักษณะการรับรู้ หมายถึง การวิเคราะห์ลีลาการเรียนรู้หรือ
วธิ กี ารเรยี นรู้ ซ่ึงสามารถจำแนกผเู้ รยี นได้ 3 แบบคือ เรียนรไู้ ด้ดีดว้ ยการเห็น เรียนรู้ไดด้ ดี ้วยการฟงั หรือได้ยิน
และเรยี นรไู้ ดด้ ดี ้วยการเคล่ือนไหวและสัมผัส

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

1. ทำให้ครทู ี่ปรึกษาและครปู ระจำวิชาร้จู ักนักเรยี นเป็นรายบคุ คลดา้ นความพรอ้ มทางการ
เรียน รปู แบบวธิ ีการเรียนรู้ และลักษณะการรับรู้

2. นกั เรยี นไดร้ ับการแกไ้ ขปัญหาอย่างใกลช้ ดิ และตอ่ เนอ่ื ง

3

บทท่ี 2
เอกสารทเี่ กี่ยวข้องกับการวิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบคุ คล

การวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบคุ คลทโี่ รงเรยี นวิทยานุกลู นารี จังหวัดเพชรบรู ณ์ มีเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง
ดงั นี้

1. การวเิ คราะห์ผู้เรียนรายบคุ คลด้านความพรอ้ มทางการเรียน
เป็นการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พื้นฐาน และ

ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ก่อนที่จะให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้วิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ๆ ของแต่ละ
ระดับช้ัน ตลอดทั้งศกึ ษาวเิ คราะห์เกี่ยวกับความพร้อมด้านพฤติกรรม และองค์ประกอบความพร้อมด้านต่าง ๆ
ดังนี้

1) ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
(1) ความรูพ้ นื้ ฐานของวชิ าท่ีจะทำการสอนในระดับชน้ั นั้น ๆ
(2) ความสามารถในการแกป้ ญั หา
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรยี นรู้

2) ความพร้อมด้านสติปญั ญา
(1) ความคิดรเิ ริ่ม สรา้ งสรรค์
(2) ความมีเหตผุ ล
(3) ความสามารถในการเรียนรู้ / การลำดับความ

3) ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม
(1) การแสดงออก
(2) การควบคมุ อารมณ์
(3) ความมงุ่ ม่นั ขยนั หมนั่ เพียร อดทน
(4) ความรบั ผิดชอบ

4) ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกายและจิตใจ
(1) ดา้ นสขุ ภาพร่างกายสมบรู ณ์
(2) การเจรญิ เติบโตสมวัย
(3) ความสมบรู ณ์ดา้ นสขุ ภาพจติ

5) ความพรอ้ มด้านสังคม
(1) การปรับตัวเขา้ กบั คนอืน่
(2) การชว่ ยเหลอื เสยี สละ แบ่งปนั
(3) การเคารพ ครู กตกิ า และมรี ะเบียบวนิ ัย

4

2. การวิเคราะห์ลักษณะบุคลิกภาพของผู้เรียนตามแนวคิดของแอนโทนี่ เอฟ กราชา และไรช์แมน

(Anthony F.Grasha and Sheryl Reichman, 1980)

ให้สำรวจตนเอง นอกจากนี้ ครูสามารถสังเกตจากพฤติกรรมของนักเรียนขณะทีอ่ ยู่ในชั้นเรียนจาก

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูผู้สอน และสังเกตจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับเพื่อนร่วมห้อง ซึ่ง

แนวคิดน้ี แบ่งผ้เู รยี นในชัน้ เรยี นตามลกั ษณะบุคลกิ ภาพ 6 แบบ คือ

บุคลกิ ภาพ ลักษณะของผ้เู รยี น

แบบอสิ ระ - ชอบคดิ ด้วยตนเอง

(independent style) - ชอบทำงานด้วยตนเอง

- ฟงั ความคิดเห็นของเพอ่ื นรว่ มชน้ั

- เช่ือมนั่ ความสามารถในการเรยี นร้ขู องตนเอง

- เรยี นรเู้ นอื้ หาทต่ี นคิดว่าสำคญั

แบบหลกี เลย่ี ง - ไม่สนใจเรียนรายวชิ าทมี่ ใี นหอ้ งเรยี น

(avoidant style) - ไมม่ ีสว่ นร่วมกับครู และเพอ่ื นในชั้นเรียน

- ไมส่ นใจ หรือมองข้ามเหตกุ ารณ์ในชัน้ เรยี น

แบบรว่ มมอื - รู้สึกวา่ เรยี นไดด้ ที ส่ี ดุ ด้วยการแลกเปลยี่ นความคดิ และไหวพรบิ

(collaborative style) - ใหค้ วามร่วมมือแกค่ รแู ละเพ่ือน

- ชอบทำงานรว่ มกบั ผ้อู ื่น

- ถือหอ้ งเรยี นเป็นแหลง่ ปฏสิ มั พันธท์ างสังคมและการเรยี นรเู้ นื้อหาวชิ า

แบบพงึ่ พา - ความอยากรู้ทางวชิ าการมนี ้อย

(dependent style) - ต้องการเรียนเฉพาะทก่ี ำหนดให้เรียน

- พ่ึงครูและเพอื่ นทเ่ี ขาคดิ ว่าจะเป็นแหล่ง และผู้สนบั สนุนทางวชิ าการ

- ทำตามแนวทางของผูม้ ีอำนาจ

- ต้องการทำงานตามคำบอก

แบบแขง่ ขนั - เรียนเพอื่ ให้มผี ลการเรยี นดกี ว่าเพอ่ื นในชั้น

(competitive style) - ตอ้ งการรางวลั ในชน้ั เรียน เชน่ คำชม สิ่งของหรอื คะแนน

- มองหอ้ งเรยี นเปน็ สนามแขง่ ขัน มีแพ้มชี นะ

- ต้องการเอาชนะเพ่ือนดว้ ยกนั

แบบมีสว่ นรว่ ม - ชอบเรียน

(participant style) - ต้องการเรยี นรู้เนอ้ื หารายวชิ า

- รับผดิ ชอบการรับรูเ้ นื้อหาในชน้ั ให้ไดม้ ากท่สี ดุ

- รบั ผิดชอบตอ่ งานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากชัน้ เรยี น

- ตอ้ งการมีส่วนรว่ มมากท่ีสดุ สำหรบั กิจกรรมในชนั้ เรยี น

- ไม่ต้องการหรือตอ้ งการน้อยท่สี ดุ ที่จะรว่ มกิจกรรมทีไ่ ม่อย่ใู นรายวิชาทเ่ี รียน

5

3. การวิเคราะหผ์ ู้เรยี นตามการรบั รทู้ างสายตา ทางหู และทางรา่ งกาย
นักจิตวิทยาที่ศึกษารูปแบบการเรียนรู้หรือลีลาการเรียนรู้ของมนุษย์ (Learning style) ได้พบว่า

มนุษย์สามารถรับข้อมูลโดยผ่านเส้นทางการรับรู้ 3 ทาง คือ การรับรู้ทางสายตาโดยการมองเห็น (Visual
preceptor’s) การรับรู้ทางโสตประสาทโดยการได้ยิน (Auditory preceptor’s) และการรับรู้ทางร่างกาย
โดยการเคลื่อนไหวและการรู้สึก (Kinesthetic preceptor’s) ซึ่งสามารถนำมาจัดเป็นลีลาการเรียนรู้ได้ 3
ประเภทใหญ่ ๆ ผู้เรียนแตล่ ะประเภทจะมคี วามแตกต่างกนั คือ

1) ผู้ที่เรียนรู้ทางสายตา (Visual learner) เป็นพวกที่เรียนรู้ได้ดีถ้าเรียนจากรูปภาพ แผนภูมิ
แผนผังหรือจากเนื้อหาที่เขียนเป็นเรื่องราว เวลาจะนึกถึงเหตุการณ์ใด ก็จะนึกถึงภาพเหมือนกับเวลาที่ดู
ภาพยนตร์คอื มองเห็นเป็นภาพท่สี ามารถเคล่ือนไหวบนจอฉายหนงั ได้ เนื่องจากระบบเกบ็ ความจำไดจ้ ดั เก็บ
สิ่งที่เรียนรู้ไว้เป็นภาพ ลักษณะของคำพูดที่คนกลุ่มนี้ชอบใช้ เช่น “ฉันเห็น” หรือ “ฉันเห็นเป็นภาพ…..”

พวก Visual learner จะเรยี นได้ดีถา้ ครบู รรยายเป็นเรื่องราว และทำขอ้ สอบได้ดถี ้าครูออกข้อสอบ
ในลักษณะที่ผูกเป็นเรื่องราว นักเรียนคนใดที่เป็นนักอ่าน เวลาอ่านเนื้อหาในตำราเรียนที่ผู้เขียนบรรยายใน
ลกั ษณะของความรู้ กจ็ ะนำเรอื่ งทีอ่ า่ นมาผูกโยงเป็นเร่ืองราวเพอ่ื ทำใหต้ นสามารถจดจำเนอื้ หาได้ง่ายข้ึน เด็ก ๆ
ที่เป็น Visual learner ถ้าได้เรียนเนื้อหาที่ครูนำมาเล่าเป็นเรื่อง ๆ จะนั่งเงียบ สนใจเรียน และสามารถ
เขียนผูกโยงเป็นเรื่องราวได้ดี ผู้ที่เรียนได้ดีทางสายตาควรเลือกเรียนทางด้านสถาปัตยกรรม หรือด้านการ
ออกแบบ และควรประกอบอาชพี มัณฑนากร วศิ วกร หรือหมอผ่าตดั พวก Visual learner จะพบประมาณ
60-65 % ของประชากรทัง้ หมด

2) ผ้ทู เี่ รยี นร้ทู างโสตประสาท (Auditory Learner) เปน็ พวกท่เี รยี นรไู้ ด้ดีท่ีสดุ ถ้าไดฟ้ ังหรือได้พูด
จะไม่สนใจรูปภาพ ไม่สร้างภาพ และไม่ผูกเรื่องราวในสมองเป็นภาพเหมือนพวกที่เรียนรู้ทางสายตา แต่
ชอบฟังเรื่องราวซ้ำ ๆ และชอบเล่าเรื่องให้คนอื่นฟัง คุณลักษณะพิเศษของคนกลุ่มนี้ ได้แก่ การมีทักษะใน
การได้ยิน/ได้ฟังที่เหนือกว่าคนอื่น ดังนั้นจึงสามารถเล่าเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างละเอียดลออ และรู้จักเลือกใช้
คำพูด

ผู้เรียนที่เป็น Auditory learner จะจดจำความรู้ได้ดีถ้าครูพูดให้ฟัง หากครูถามให้ตอบ ก็จะ
สามารถตอบได้ทันที แต่ถ้าครูมอบหมายให้ไปอ่านตำราล่วงหน้าจะจำไม่ได้จนกว่าจะได้ยินครูอธิบายให้ฟัง
เวลาท่องหนังสือก็ต้องอ่านออกเสียงดังๆ ครูสามารถช่วยเหลือผู้เรียนกลุ่มนี้ได้โดยใช้วิธีสอนแบบอภิปราย
แต่ผู้ที่เรียนทางโสตประสาทก็อาจถูกรบกวนจากเสียงอื่น ๆ จนทำให้เกิดความวอกแวก เสียสมาธิในการฟงั
ไดง้ า่ ยเชน่ กันในด้านการคดิ มกั จะคดิ เปน็ คำพูด และชอบพูดว่า“ฉนั ไดย้ ินมาว่า……../ ฉันได้ฟงั มาเหมือนกับ
วา่ ……” พวก Auditory learner จะพบประมาณ 30-35 % ของประชากรทง้ั หมด และมกั พบในกลมุ่ ทีเ่ รยี น
ด้านดนตรี กฎหมายหรือการเมอื ง สว่ นใหญ่จะประกอบอาชพี เปน็ นกั ดนตรี พิธีกรทางวิทยแุ ละโทรทศั น์ นัก
จัดรายการเพลง (disc jockey) นักจิตวทิ ยา นกั การเมือง เป็นตน้

3) ผู้ที่เรียนรู้ทางรา่ งกายและความรู้สึก (Kinesthetic learner) เป็นพวกทีเ่ รียนโดยผ่านการรับรู้
ทางความรู้สึก การเคลื่อนไหว และร่างกาย จึงสามารถจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ดีหากได้มีการสัมผัสและเกิด
ความรู้สึกที่ดีต่อสิ่งที่เรียน เวลานั่งในห้องเรียนจะนั่งแบบอยู่ไม่สุข นั่งไม่ติดที่ ไม่สนใจบทเรียน และไม่

6

สามารถทำใจให้จดจ่ออยู่กับบทเรียนเป็นเวลานาน ๆ ได้ คือให้นั่งเพ่งมองกระดานตลอดเวลาแบบพวก
Visual learner ไม่ได้ ครูสามารถสังเกตบุคลิกภาพของเด็กที่เป็น Kinesthetic learner ได้จากคำพูดที่ว่า
“ฉนั ร้สู ึกวา่ ……”

พวกที่เป็น Kinesthetic learner จะไม่ค่อยมีโอกาสเป็นพวก Visual learner จึงเป็นกลุ่มที่มี
ปัญหามากหากครูผู้สอนให้ออกไปยืนเล่าเรื่องต่าง ๆ หน้าชั้นเรียน หรือให้รายงานความรู้ที่ต้องนำมาจัด
เรียบเรยี งใหมอ่ ย่างเป็นระบบระเบยี บ เพราะไม่สามารถจะทำได้ ครทู ย่ี งั นยิ มใชว้ ิธสี อนแบบเก่า ๆ อย่างเช่น
ใช้วิธีบรรยายตลอดชั่วโมง จะยิ่งทำให้เด็กเหล่านี้มีปัญหามากขึ้น ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าความรู้สึกของเด็ก
เหล่านี้ได้ถูกนำไปผูกโยงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งที่เป็นปัจจุบันเท่านั้น ไม่ได้ผูกโยงกับอดีตหรือ
เหตุการณ์ท่ียังมาไม่ถึงในอนาคต ครูจึงควรช่วยเหลือพวก Kinesthetic learner ให้เรียนรู้ได้มากขึ้น โดย
การให้แสดงออกหรือให้ปฏบิ ัติจรงิ เช่น ให้เล่นละคร แสดงบทบาทสมมติ สาธิต ทำการทดลอง หรือให้พดู
ประกอบการแสดงท่าทาง เปน็ ตน้ พวก Kinesthetic learner จะพบในประชากรประมาณ 5-10 % เทา่ น้นั
สาขาวิชาที่เหมาะกับผู้เรียนกลุ่มนี้ได้แก่ วิชาก่อสร้าง วิชาพลศึกษา และควรประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับงาน
ก่อสร้างอาคาร หรืองานด้านกีฬา เช่น เป็นนักกีฬา หรือประเภทที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ งานที่ต้องมี
การเต้น การรำ และการเคล่ือนไหว

การแบ่งลีลาการเรียนรู้ออกเป็น 3 ประเภทดังทีก่ ลา่ วมาแลว้ ข้างต้น เป็นการแบ่งโดยพจิ ารณาจาก
ช่องทางในการรับรู้ข้อมูล ซึ่งมีอยู่ 3 ช่องทาง ได้แก่ ทางตา ทางหู และทางร่างกาย แต่หากนำสภาวะของ
บุคคลในขณะที่รับรู้ข้อมูลซึ่งมีอยู่ 3 สภาวะคือสภาวะของจิตสำนึก (Conscious) จิตใต้สำนึก
(Subconscious) และจิตไรส้ ำนึก (Unconscious) เขา้ ไปร่วมพิจารณาด้วย แลว้ นำองคป์ ระกอบทงั้ 2 ด้าน
คือ องค์ประกอบด้านช่องทางการรับข้อมูล (Perceptual pathways) กับองค์ประกอบด้านสภาวะของ
บุคคลขณะทีร่ บั รู้ข้อมลู (States of consciousness) มาเชื่อมโยงเขา้ ด้วยกัน จะสามารถแบ่งลีลาการเรยี นรู้
ออกได้ถึง 6 แบบ คือ

1) ประเภท V-A-K เป็นผู้ที่เรยี นรูไ้ ด้ดีที่สดุ หากได้อ่านและได้เล่าเรื่องต่าง ๆ ให้ผู้อื่นฟัง เป็นเด็ก
ดที ่ขี ยันเรียนหนงั สือ แต่ไม่ชอบเลน่ กีฬา

2) ประเภท V-K-A เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดหากได้ลงมือปฏิบัติตามแบบอย่างที่ปรากฏอยู่
ตรงหนา้ และไดต้ งั้ คำถามถามไปเร่อื ย ๆ โดยปกติจะชอบทำงานเป็นกลุ่ม

3) ประเภท A-K-V เป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดหากได้สอนคนอื่น ชอบขยายความเวลาเล่าเรื่อง
แต่มักจะมปี ัญหาเก่ียวกับการอา่ นและการเขยี น

4) ประเภท A-V-K เป็นผูท้ ่ีมคี วามสามารถในการเจรจาตดิ ตอ่ สอ่ื สารกับคนอ่นื พดู ไดช้ ัดถอ้ ยชดั
คำ พูดจามีเหตุมผี ล รักความจริง ชอบเรียนวิชาประวัติศาสตร์ และวิชาที่ต้องใชค้ วามคิดทุกประเภท เวลา
เรียนจะพยายามพูดเพอ่ื ให้ตนเองเกิดความเข้าใจ ไมช่ อบเรียนกีฬา

5) ประเภท K-V-A เป็นผู้ท่เี รียนไดด้ ที ีส่ ดุ หากได้ทำงานทใี่ ช้ความคิดในสถานท่เี งียบสงบ สามารถ
ทำงานที่ตอ้ งใชก้ ำลงั กายไดเ้ ป็นอย่างดโี ดยไมต่ ้องใหค้ รคู อยบอก หากฟงั ครพู ดู มาก ๆ อาจเกดิ ความสับสนได้

7

6) ประเภท K-A-V เป็นผู้ที่เรียนได้ดีหากไดเ้ คลื่อนไหวร่างกายไปด้วย เป็นพวกที่ไม่ชอบอย่นู ่งิ
จึงถูกใหฉ้ ายาวา่ เปน็ เดก็ อยไู่ ม่สุข มกั มีปญั หาเกย่ี วกับการอา่ นและการเขยี น

ตัวอย่างเช่น ผู้ที่เป็น Visual learner (V) ในสภาวะของจิตสำนึก เป็น Kinesthetic learner (K)
ในสภาวะของจติ ใตส้ ำนึกและเปน็ Auditory learner (A) ในสภาวะของจติ ไร้สำนกึ จะมีลีลาการเรียนรู้เป็น
ประเภท V-K-A เวลเดน (Whelden) นักจติ บำบัดและผู้ใหค้ ำปรกึ ษาในโรงเรียนกล่าววา่ ส่วนใหญ่แลว้ พวก
เราทุกคนจะมีลลี าการเรยี นรู้เฉพาะตวั เป็นแบบใดแบบหนึ่งใน แบบนี้เสมอ โดยลีลาการเรียนรู้เหล่านี้จะถกู
กำหนดเป็นแบบแผนที่ตายตัวเมื่ออายุประมาณ 7 ขวบ แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้ในเด็กบางคนซึ่งก็เกิดขึ้นไม่
บ่อยนัก

การที่ครูได้รู้ว่าเด็กในชั้นเรียนมีลีลาการเรียนรู้เป็นแบบใด จึงมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดสภาพ
การเรียนการสอน และยังช่วยให้ครู สามารถช่วยเหลือเด็กใหร้ ู้จกั คิดและเรยี นรู้สิง่ ต่างๆ ให้ดีที่สุดเท่าท่ีเด็ก
จะสามารถทำได้เขา้ ใจพฤติกรรมการเรยี นรู้ของเด็กที่ไม่เหมอื นกนั และขา้ ใจปญั หาท่ีเกิดจากการเรียนรู้ของ
เด็กแตล่ ะคน

การแกไ้ ขจุดบกพรอ่ งที่เกดิ จากลีลาการเรียนรู้
1. เด็กทมี่ ปี ัญหาการเรียนรทู้ างด้านการฟัง (Auditory learning)

-ให้ฝกึ ทกั ษะในการฟงั
-ฝกึ ทักษะในการจดโน้ตยอ่
-ฝกึ สมาธิในการฟงั คำบรรยาย
-เรียนวชิ าท่ีเกย่ี วกับการพดู ในท่ีสาธารณะ
-พกสมุดโนต้ เล่มเลก็ ๆ เพอ่ื คอยจดขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการฟงั
-สรปุ เนือ้ หาสาระทไี่ ดจ้ ากการฟัง
-ศึกษาบทเรียนรว่ มกบั เพอื่ นทีม่ ีลักษณะเป็น Auditory learner
2. เดก็ ทมี่ ีปญั หาการเรยี นรใู้ นดา้ นการมองเห็น (Visual learning)
-ใหเ้ รียนรเู้ กีย่ วกับวธิ เี ขยี นและเวลาท่เี หมาะสมในการเขยี นแผนภาพ
-เรียนรวู้ ธิ ีทำแผนผังความคิด (Mapping)
-นำโนต้ ย่อท่จี ดไว้จากกระดานดำมาคัดลอกหรอื มาเขยี นซำ้ ใหม่หลาย ๆ ครัง้
-ศึกษาการทำงานของภาพลายเสน้
-ศึกษาบทเรยี นรว่ มกบั เพอ่ื นทม่ี ีลกั ษณะเปน็ Visual learner
-เรยี นรวู้ ิธสี ังเกตและวธิ อี า่ นภาพทว่ั ไปและภาพลายเสน้
3. เดก็ ทีม่ ีปัญหาการเรยี นรู้ในดา้ นการประยกุ ต์ใช้ (Applied learning)
-ให้ใส่ใจเกย่ี วกับการนำบทเรยี นไปประยุกต์ใชใ้ นดา้ นต่าง ๆ
-ฝึกถามและตอบคำถามทว่ี า่ “ฉันจะนำขอ้ มลู ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไร?”
-ศึกษาคำถามเพ่ือการอภปิ รายท่อี ยทู่ ้ายบทของหนังสอื ตำรา

8

-หากมกี ารอภปิ รายเกี่ยวกับการประยกุ ต์ใช้ ใหจ้ ดบันทกึ ไว้
-เขยี นสรปุ ยอ่ เก่ียวกับขนั้ ตอน คำแนะนำ กระบวนการและวิธกี าร
-ใชภ้ าพประกอบ
-คน้ หาประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการลงมอื ปฏบิ ัตเิ พอื่ ให้เกดิ ความคดิ
-พยายามถามว่า “สงิ่ เหล่านนั้ ทำงานไดอ้ ย่างไร?” มากกว่าทจ่ี ะถามวา่ “ทำไมมนั จึงตอ้ งทำอยา่ ง
นั้น?”
4. เดก็ ท่ีมปี ัญหาการเรยี นรู้ในด้านความคิดรวบยอด (Conceptual learning)
-ฝึกถามและตอบคำถามอยา่ ง เช่น “ทำไมเร่ืองนั้นจึงมคี วามสำคญั ?” หรอื “เราจะรไู้ ดอ้ ย่างไร?”
หรือ “ทำไมจงึ ตอ้ งเปน็ อยา่ งนี้?” และ “อะไรจะเกดิ ขึน้ ถ้า………..”
-มองหาภาพที่มขี นาดใหญ่ แล้วศึกษาความสัมพันธข์ องสง่ิ ทีอ่ ยใู่ นภาพน้นั
-พยายามสร้างรปู แบบจำลองและทฤษฎใี ห้มาก ๆ
-จดั กลุ่มขอ้ มลู และความคิดแล้วแทนด้วยสัญลกั ษณ์
-มองหารูปแบบท่ีจัดเป็นระเบยี บแบบแผนไวแ้ ลว้
-สรปุ ยอ่ เนอ้ื หาทเ่ี รยี นในชน้ั และอา่ นงานท่คี รูมอบหมาย
-ใชว้ ธิ อี ่านเน้อื หาลว่ งหน้าใหม้ ากๆ
-พยายามเช่ือมโยงความสมั พนั ธข์ องเนอ้ื หา
-เชื่อมโยงคำบรรยายให้เขา้ กบั เนื้อหาท่คี รูมอบหมายใหอ้ า่ น
5. เด็กทีม่ ปี ัญหาการเรียนรู้ในด้านมิตสิ ัมพันธ์ (Spatial learning)
-ใหแ้ ปลความหมายแผนภูมแิ ละแผนภาพในรปู ของภาษา
-บันทึกข้นั ตอนและกระบวนการตา่ ง ๆ ในรูปของภาษา
-ศึกษาและวาดแผนภมู ทิ อ่ี ยใู่ นหนังสอื ตำราซ้ำหลาย ๆ ครั้ง
-สรปุ หนา้ ท่ีและประเด็นสำคญั ๆ ของแผนภมู ิโดยเขยี นในรปู ของภาษา
6. เดก็ ทีม่ ปี ญั หาการเรยี นร้ใู นดา้ นการเขา้ สงั คม (Social learning)
-ให้เขา้ ไปมสี ่วนรว่ มกบั กจิ กรรมของช้นั เรียน
-ใสใจกบั ความรสู้ กึ ของผคู้ น
-เรยี นรภู้ าษากาย
-เข้ากลุ่มหรือชมรมเพอ่ื ทำกจิ กรรมรว่ มกบั สมาชกิ ที่มีความสนใจในเรอ่ื งเดยี วกัน
-พยายามร้จู กั เพือ่ นในหอ้ งเรยี น
7. เดก็ ที่มีปญั หาการเรยี นรใู้ นดา้ นการพง่ึ ตนเอง (Independent learning)
-ฝึกทักษะเรอ่ื งการบรหิ ารเวลา
-ต้งั เปา้ หมายและดำเนินการให้เปน็ ไปตามเป้าหมายทวี่ างไว้
-กำหนดเวลาทแ่ี นน่ อนในการทำงานแตล่ ะคร้ัง

9

8. เดก็ ท่มี ปี ัญหาการเรยี นร้ใู นดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative learning)
-ใหเ้ ขยี นโดยอิสระ หรือใหร้ ะดมพลงั ความคิด (Brainstorming)
-ฝกึ คดิ สร้างสรรคโ์ ดยการสร้างภาพหรือคิดจินตนาการภาพ
-ศกึ ษาร่วมกับเพอื่ นท่มี ีหัวคดิ ในทางสร้างสรรค์

9. เด็กท่ีมปี ญั หาการเรียนรใู้ นดา้ นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Pragmatic learning)
-พฒั นาทกั ษะในการจดั สิ่งตา่ ง ๆ ให้เปน็ ระเบียบ
-ตงั้ เป้าหมายและกำหนดเวลาใหแ้ นน่ อน
-เขียนสรุปยอ่ เกยี่ วกบั กระบวนการและวธิ ใี นการปฏบิ ตั ิ
-ใชเ้ วลาแต่ละสัปดาหใ์ นการจดั การกบั อปุ กรณก์ ารเรียนวชิ าต่าง ๆ ใหเ้ รยี บรอ้ ย
-ศกึ ษาร่วมกบั เพอ่ื นท่ชี อบลงมือปฏบิ ตั เิ หมอื นกัน
-ใช้โครงร่างในการจดั ข้อมลู ใหเ้ ปน็ ระบบ

การนำผลการวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คลไปใชอ้ อกแบบการจัดการเรียนรู้
รปู แบบการเรยี นรู้ / เทคนิคการสอนท่ีเลอื กใช้จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เพ่อื ให้ตอบสนอง

ผเู้ รียน มีดงั น้ี
วิธสี อนแบบแบ่งกลุม่ ระดมพลังสมอง\การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้คำถาม (Questioning Method)

วธิ สี อนแบบโมเดลซปิ ปา
วิธสี อนแบบโครงงาน(Project Method)
การจดั การเรยี นรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน
การจัดการเรยี นรู้แบบคน้ พบ (Discovery Method)
การจดั การเรยี นรู้แบบนริ นยั (Deductive Method)
การจดั การเรยี นรู้แบบอปุ นยั (Induction Method)
วิธสี อนแบบแก้ปัญหา (Problem-Solving Method)
การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process)
วธิ สี อนแบบอภปิ ราย (Discussion Method)
วธิ สี อนแบบสบื สวนสอบสวน
วิธสี อนแบบแสดงบทบาท (Role Playing Method)
วธิ สี อนแบบปฏิบตั กิ ารหรอื การทดลอง (Laboratory Method)
วธิ สี อนแบบศึกษาดว้ ยตนเอง (Self Study Method)
วธิ สี อนแบบสาธิต
การสอนแบบบูรณาการ (Integration Instruction)
กระบวนการเรียนการสอนของรปู แบบ แอล.ที. ( L.T )

10

สรปุ
การศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะเกี่ยวกับความพร้อมของผู้เรียนในแต่ละด้านเป็นรายบุคคล จะทำให้

ครูผู้สอนรู้จักนักเรียนเปน็ รายบคุ คล และหาทางช่วยเหลือผู้เรียนท่ีมีข้อบกพร่องให้มีความพร้อมที่ดีขึน้ และ
จดั เตรียมการสอน ส่อื หรอื นวัตกรรม สำหรบั ดำเนินการจัดการเรียนรู้แกผ่ เู้ รียนได้สอดคล้องเหมาะสม ตรง
ตามความตอ้ งการของผู้เรยี นมากยิ่งข้นึ

11

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ การ

การวิเคราะห์ผเู้ รยี นรายบคุ คลทโี่ รงเรยี นวิทยานกุ ลู นารี จังหวดั เพชรบรู ณ์ มีวธิ กี ารดำเนินงาน ดังน้ี
1. กลุ่มทศี่ ึกษา

ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครง้ั น้ี ประกอบดว้ ยนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/1
โรงเรียนวิทยานกุ ูลนารี ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 34 คน (นักเรยี นไม่ประเมิน 2 คน)
2. เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย คือ แบบวเิ คราะหว์ ธิ เี รียนรขู้ องผเู้ รียนจำนวน 3 ชุด

1. แบบวเิ คราะห์ผู้เรียนรายบคุ คลดา้ นความพรอ้ มทางการเรยี น จำนวน 15 ขอ้
2. แบบวิเคราะหว์ ธิ ีการเรยี นรู้ตามลกั ษณะบุคลิกภาพ จำนวน 30 ขอ้
3. แบบวิเคราะห์วธิ ีการเรยี นรู้ตามลกั ษณะการรบั รู้ จำนวน 30 ข้อ
3. การสรา้ งเครอื่ งมอื วจิ ยั ผู้รายงานใชเ้ ครือ่ งมอื ในการวจิ ยั ซึ่งสรา้ งโดยงานวิจยั เพื่อพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาท่นี ำมาจาก แนวคิดของแอนโทนี เอฟ กราชา และไรช์ แมน (Anthony F. Grasha and Sheryl
Reichman, 1980) และ หนงั สือเพิม่ พลงั การเรียนรู้
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
4.1 ผวู้ จิ ัยให้นักเรยี นประเมินตนเองผา่ น link ทีจ่ ดั ทำขึ้น จาก Google form เพือ่ เวน้ ระยะห่าง
ตามนโยบายในสภาวะการแพรร่ ะบาดของไวรสั โควคิ -19
4.2 สงั เกต-บนั ทกึ พฤติกรรมนกั เรียนท่เี ข้าเรียน online และผา่ นการตดิ ต่อพูดคุยในชอ่ งทางตา่ งๆ
5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู
5.1 นำแบบวเิ คราะหว์ ธิ เี รียนรขู้ องผ้เู รียนมาวเิ คราะห์โดยใชโ้ ปรแกรม WKASP : โปรแกรมวเิ คราะห์
ผเู้ รียนรายบคุ คล โรงเรียนวทิ ยานกุ ูลนารี
เกณฑก์ ารประเมนิ รายข้อ

1 หมายถึง ระดับปรบั ปรุง
2 หมายถึง ระดับปานกลาง
3 หมายถงึ ระดบั ดี
เกณฑ์การประเมินทใ่ี ชต้ ัดสิน
คา่ เฉลีย่ 1.00 – 1.49 หมายถึง ระดบั ปรับปรงุ
ค่าเฉล่ยี 1.50 – 1.99 หมายถึง ระดบั ปานกลาง

12

คา่ เฉลย่ี 2.00 – 3.00 หมายถงึ ระดบั ดี
5.2 สถิติทใี่ ช้ คือ ค่าเฉลี่ยและรอ้ ยละ

13

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

การวเิ คราะหผ์ ูเ้ รยี นรายบุคคล ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/1 ปกี ารศกึ ษา 2564
มผี ลการวเิ คราะหข์ ้อมูลดังตอ่ ไปนี้
ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนรายบุคคลดา้ นความพรอ้ มทางการเรียน

ตารางท่ี 1 คา่ เฉลย่ี ระดบั ความพรอ้ มทางการเรียนของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ปีการศกึ ษา 2564

ดา้ นที่ รายการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น ผลการวิเคราะห์ สรุปผล
ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ เฉล่ีย ความหมาย
2.35 ดี
ดา้ นความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์ 2.29 ดี
2.24 ดี
1 1.ความรู้พนื้ ฐาน 41.18 58.82 0.00 2.53 ดี
2.ความสามารถในการแกป้ ัญหา 44.12 55.88 0.00 2.53 ดี
64.71 32.35 2.94 2.59 ดี
3.ความสนใจ/สมาธกิ ารเรยี นรู้ 2.53 ดี
2.47 ดี
ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ัญญา 2.45 ดี
2.24 ดี
2 1.ความคดิ ริเรมิ่ 55.88 41.18 2.94 2.71 ดี
2.ความมีเหตุผล 64.71 32.35 2.97 2.41 ดี
58.82 35.29 5.88 2.69 ดี
3.ความสามารถในการเรยี นรู้ 2.65 ดี
2.65 ดี
ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม 2.76 ดี
2.82 ดี
3 1.การแสดงออก 26.47 64.71 8.82 2.71 ดี
2.การควบคมุ อารมณ์ 79.41 2.59 0.00 2.82 ดี
52.94 44.12 2.94 2.94 ดี
3.ความมุ่งม่ันขยันหมั่นเพยี ร 2.57 ดี

ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ

4 1.สุขภาพรา่ งกายสมบรู ณ์ 70.59 29.41 26.47
2.การเจรญิ เตบิ โตสมวยั 73.53 26.47 0.00
70.59 29.41 0.00
3.สขุ ภาพจิต

ความพรอ้ มดา้ นสังคม

5 1.การปรับตัวเขา้ กับผอู้ น่ื 67.65 32.35 0.00
2.การเสียสละไมเ่ หน็ แก่ตวั 79.41 20.59 0.00
85.29 11.76 2.94
3.มีระเบียบวนิ ยั เคารพกตกิ า

ภาพรวม (เฉล่ยี )

14

จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียนมีความพร้อมทางการเรียน ภาพรวม อยู่ในระดับ ดี ( X = 2.57)
โดยมคี วามพรอ้ มมากท่ีสุดเรยี งจากมากไปหาน้อย คือ ความพรอ้ มด้าน สงั คม ระดับดี ( X = 2.82) ความ
พร้อมด้านร่างกาย จิตใจ ระดับดี ( X = 2.69) ความพร้อมด้านสติปัญญา ระดับดี ( X = 2.53) ความ
พร้อมด้านพฤติกรรม ระดับดี ( X = 2.45) และความพร้อมด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์
ระดับดี ( X = 2.35) นักเรียนอยู่ในกลุ่ม ดี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากมีนักเรียนไม่
ประเมนิ จำนวน 2 คน

ครูผู้สอนได้นำข้อมูลผลการวิเคราะห์ผู้เรียนมาจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม โดยพิจารณา
จากเกณฑ์การประเมนิ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ความพรอ้ มด้านสติปญั ญา ความพร้อมด้าน
พฤตกิ รรม ความพรอ้ มด้านรา่ งกายและจติ ใจ และความพร้อมดา้ นสังคม ดงั น้ี

เกณฑ์การประเมนิ จำนวน ร้อยละ
กลุม่ ดี 34 100
กลุ่มปานกลาง 0 0
กลุ่มตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข 0 0
ไม่ประเมนิ 2 -

15

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ผูเ้ รยี นดา้ นบคุ ลิกภาพและลลี าการเรยี นรู้

ผลการวิเคราะห์ผ้เู รียนรายบคุ คลดา้ นบคุ ลิกภาพ ดา้ นลลี าการเรียนรู้ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/1
ปีการศกึ ษา 2564 แสดงดงั ตารางที่ 2 – 3 และภาพท่ี 1 - 2
ตารางท่ี 2 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำแนกตามบุคลกิ ภาพ

อสิ ระ/ หลบหลีก ร่วมมอื พึ่งพา แข่งขนั มสี ว่ นรว่ ม ผสมผสาน
พง่ึ ตนเอง

5.88 5.88 23.53 0.00 0.00 8.82 55.88

ภาพท่ี 1 รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี น ม. 2/1 ปีการศกึ ษา 2564 จำแนกตามบคุ ลิกภาพ

จากตารางที่ 2 และภาพที่ 1 พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีบุคลิกภาพการเรียนรู้แบบผสมผสาน ร้อย
ละ 55.88 รองลงมาคือมบี คุ ลิกภาพการเรียนรแู้ บบร่วมมือ ร้อยละ 23.53 และมบี คุ ลิกภาพการเรียนรแู้ บบมี
ส่วนรว่ ม รอ้ ยละ 8.82 จะเหน็ ได้ว่านกั เรยี นในช้ันเรียน มบี คุ ลิกภาพการเรียนรทู้ ี่ผสมผสาน อาศัยความร่วม
ในชั้นเรียนและเพื่อนร่วมเรียน มากกว่ารูปแบบการเรียนคนเดียว อีกทั้งยังพบว่า ไม่มีรูปแบบการพึ่งพา
ผู้เรยี นเพยี งฝา่ ยเดยี ว และไม่มรี ูปแบบการเรยี นแบบแข่งขันเลย

16
ตารางท่ี 3 รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี น ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตาม

ลลี าการเรยี นรู้
ลีลา

เห็น ฟัง สัมผัส ผสม
61.76 8.82 20.59 8.82

ภาพท่ี 2 รอ้ ยละของจำนวนนักเรียน ม.2/1 ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามลลี าการเรียนรู้
จากตารางท่ี 3 และภาพที่ 2 พบว่า นักเรียนมลี ีลาการเรยี นรู้ด้วยการเห็น มากท่ีสุด รอ้ ยละ 61.76
รองลงมา คือการเรียนรู้ด้วยการสัมผสั รอ้ ยละ 20.59 และการเรยี นรดู้ ว้ ยการฟังเทา่ กบั การเรียนรู้แบบผสม
คิดเป็นร้อยละ 8.82 จะเห็นได้ว่าในชั้นเรียนนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีด้วยการมองเห็นดังนั้นในการทำ
กจิ กรรมหรอื การจัดการเรยี นรู้ ครผู ้สู อนควรให้นักเรียนสามารถมองเห็นภาพ แผนผงั ตาราง อีกทัง้ ไดเ้ รยี นรู้
ดว้ ยการสมั ผสั ลงมือปฏิบตั ิ เพ่อื ชว่ ยให้นกั เรยี นเรยี นรไู้ ด้ดมี ากข้นึ

17

บทท่ี 5
สรปุ และข้อเสนอแนะ

การวิเคราะหผ์ ูเ้ รยี นรายบุคคล ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2/1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สรปุ ไดด้ งั น้ี
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อศึกษา วเิ คราะหว์ เิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คลดา้ นความพรอ้ มทางการเรยี น
2. เพอ่ื ศึกษา วเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคลด้านลักษณะบุคลกิ ภาพ
3. เพ่อื ศึกษา วเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบคุ คลด้านวธิ ีการเรียนรตู้ ามลักษณะการรบั รู้

ประชากร
ประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ ประกอบดว้ ยนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2/1

โรงเรยี นวิทยานุกูลนารี ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 36 คน

เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย คือ แบบวิเคราะห์วธิ เี รยี นร้ขู องผเู้ รียนจำนวน 3 ชดุ
1. แบบวิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคลด้านความพรอ้ มทางการเรียน
2. แบบวเิ คราะห์วธิ ีการเรยี นรูต้ ามลกั ษณะบุคลกิ ภาพ
3. แบบวิเคราะหว์ ธิ ีการเรียนร้ตู ามลกั ษณะการรบั รู้

การเกบ็ รวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มูล
1. เก็บรวบรวมข้อมลู โดย แจกแบบวิเคราะห์วธิ เี รียนรขู้ องผเู้ รียนให้นกั เรียนทำ และสังเกต

พฤติกรรม
2. วเิ คราะห์โดยใช้โปรแกรม WKASP : โปรแกรมวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบคุ คล โรงเรียน

วทิ ยานุกลู นารี โดยใช้ คา่ เฉลี่ย ( X ) และรอ้ ยละ

สรปุ ผลการวิจัย

ผลการวเิ คราะห์นักเรยี น ช้นั ม. 2/1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สรปุ ได้ดังน้ี
1. นักเรียนมีความพร้อมทางการเรียน ภาพรวม อยู่ในระดับ ดี ( X = 2.57) โดยมีความพร้อม
มากที่สดุ เรยี งจากมากไปหาน้อย คอื ความพรอ้ มด้าน สังคม ระดับดี ( X = 2.82) ความพร้อมด้านรา่ งกาย
จิตใจ ระดับดี ( X = 2.69) ความพร้อมด้านสติปัญญา ระดับดี ( X = 2.53) ความพร้อมด้านพฤติกรรม
ระดับดี ( X = 2.45) และความพร้อมด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ระดับดี ( X = 2.35)
นักเรยี นอยู่ในกลมุ่ ดี จำนวน 34 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 เนอื่ งจากมีนักเรยี นไม่ประเมนิ จำนวน 2 คน

18

2. นักเรียนส่วนใหญม่ ีบุคลิกภาพการเรียนรแู้ บบผสมผสาน รอ้ ยละ 55.88 รองลงมาคอื มีบุคลกิ ภาพ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ ร้อยละ 23.53 และมีบุคลิกภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ ม ร้อยละ 8.82 จะเห็นได้
ว่านักเรียนในชั้นเรียน มีบุคลิกภาพการเรียนรู้ที่ผสมผสาน อาศัยความร่วมในชั้นเรียนและเพื่อนร่วมเรียน
มากกว่ารูปแบบการเรียนคนเดียว อีกทั้งยังพบว่า ไม่มีรูปแบบการพึ่งพาผู้เรียนเพียงฝ่ายเดียว และไม่มี
รูปแบบการเรียนแบบแข่งขันเลย

3. นักเรยี นมีลลี าการเรียนรู้ด้วยการเห็น มากที่สดุ ร้อยละ 61.76 รองลงมา คือการเรียนรู้ด้วยการ
สัมผัส ร้อยละ 20.59 และการเรยี นรู้ด้วยการฟังเท่ากบั การเรยี นรู้แบบผสม คิดเป็นรอ้ ยละ 8.82 จะเห็นได้
ว่าในชั้นเรียนนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีด้วยการมองเห็นดังนั้นในการทำกิจกรรมหรือการจัดการเรียนรู้
ครูผู้สอนควรให้นักเรียนสามารถมองเห็นภาพ แผนผัง ตาราง อีกทั้งได้เรียนรู้ด้วยการสัมผัส ลงมือปฏิบัติ
เพอื่ ชว่ ยให้นกั เรียนเรียนรไู้ ด้ดมี ากขึ้น

ข้อเสนอแนะ

1. สำหรับนกั เรยี นท่ีมีความพรอ้ มนอ้ ยกว่านกั เรยี นอ่ืนๆ ผู้สอนควรเตรยี มนักเรียนให้มีความพร้อม
ดีขึ้นก่อน จึงค่อยดำเนินการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นที่จะทำการสอน ส่วนความพร้อมด้านอื่น ๆ ให้
พยายามปรับปรุงแก้ไขใหด้ ีข้นึ ในลำดับตอ่ ไป

2. ครูเก็บรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ของนักเรียนห้องอื่น ๆ จากครูที่ปรึกษาประจำห้องน้นั เพม่ิ
เพื่อทำใหม้ ีข้อมลู ของนักเรยี นทีส่ อนครบถ้วนทกุ คน

19

บรรณานุกรม

สุขภาพจติ ,กรม, 2543. ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น.
มานะ ไชยโชติ. รายงานการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นรายบคุ คลของนกั เรียนช้นั ม. 3

โรงเรยี นบวั เจรญิ วทิ ยา. จงั หวดั ศรสี ะเกษ : ถ่ายเอกสาร, 2552
มัณฑรา ธรรมบุศย.์ ลีลาการเรยี นรู้ (Learning Style).
http://edu.chandra.ac.th/teacherAll/mdra/data/learnstyle.doc, 1 ธันวาคม 2552.
http://www.0-pin.com/0-pin-gallery/fileup/vikhorpurian.pdf, 16 มถิ นุ ายน 2556.
http://haneesoh.blogspot.com/2012/09/learning-style.html, 16 มถิ นุ ายน 2556.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ผ้เู รยี นรายบคุ คล

แบบประเมินผ้เู รยี นรายบุคคล รายวิชา วทิ ยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์

ชอื่ -สกุล .................................................................ช้ัน........../...............เกรดเฉลย่ี ..................................

ด้านที่ รายการวิเคราะหผ์ ูเ้ รียน ผลการประเมนิ ผเู้ รยี น การปรบั ปรงุ

ดี ปานกลาง ปรบั ปรุงแกไ้ ข แก้ไข

1. ดา้ นความรู้ความสามารถและประสบการณ์

1. ความรพู้ น้ื ฐาน

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

3. ความสนใจ/สมาธกิ ารเรยี นรู้

2. ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา

1. ความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์

2. ความมเี หตผุ ล

3. ความสามารถในการเรียนรู้

3. ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม

1. การแสดงออก

2. การควบคมุ อารมณ์

3. ความมุ่งม่ันขยนั หมนั่ เพยี ร

4. ความพร้อมดา้ นร่างกายและจิตใจ

1. สุขภาพร่างกายสมบูรณ์

2. การเจริญเตบิ โตสมวยั

3. ด้านสุขภาพจติ

5. ความพรอ้ มดา้ นสงั คม

1. การปรับตวั เข้ากับผู้อื่น

2. การเสียสละไมเ่ หน็ แกต่ วั

3. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎกติกา

แบบวเิ คราะหว์ ิธีการเรยี นรตู้ ามลักษณะบุคลิกภาพ

ชือ่ ..........................................................................ช้ัน..................เลขท่ี.............

คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนทำเคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งใช/่ ไมใ่ ช่ แล้วนบั ขอ้ ทต่ี อบใชม่ ากทีส่ ดุ ลงในชอ่ งสรปุ

ท่ี ข้อ ลีลาการเรยี นรู้ ใช่ ไม่ใช่ สรุปคะแนน

1 ชอบค้นควา้ หาความรูด้ ้วยตนเอง

2 ชอบเรียนเนอื้ หาทมี่ ลี กั ษณะเป็นปญั หาซงึ่ ผูเ้ รยี นมีโอกาสคดิ คำตอบเอง
1 3 สนใจทำกิจกรรมที่ตนคิดวา่ สำคัญเท่านนั้

4 มคี วามเชือ่ มน่ั ในความสามารถในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
5 สรปุ ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง

6 เม่อื ทำกจิ กรรมในห้องเรียนมกั รู้สกึ อึดอดั ไมค่ ่อยอยากทำ

7 ชอบใหม้ กี ารประเมนิ ตนเองมากกวา่ การสอบ

2 8 รูส้ ึกอดึ อัดเมือ่ ครตู ้ังใจสอนและเดินดูแลเอาใจใส่นักเรียนในชัน้ ทกุ คน

9 ไมช่ อบกฎข้อบังคบั ของหอ้ ง
10 ไมช่ อบใหค้ รมู อบหมายงานให้อ่านหรือค้นควา้ เอง
11 ยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ืน่
12 ชอบชว่ ยเหลอื เพ่อื นขณะทำกจิ กรรม
3 13 ชอบใหผ้ ้เู รียนมสี ่วนร่วมกำหนดเน้ือหาและชว่ ยประเมินเพ่ือนๆ

14 ชอบชว่ ยแก้ปัญหากิจกรรมในการเรยี น

15 มีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ท่ดี กี ับผอู้ ื่นในการทำกิจกรรม

16 จะทำงานไดด้ ีมากถา้ ครมู ตี วั อยา่ ง โครงร่าง ใหด้ ู

17 เรียนรูไ้ ด้ดถี ้ามีการจดบนกระดาน
4 18 ตอ้ งมีครแู ละเพือ่ นคอยช่วยเหลอื อธบิ ายเพม่ิ เติม

19 ชอบเรยี นเฉพาะในชว่ั โมงเรียนเท่านน้ั
20 ไม่ชอบคน้ คว้าเรยี นรเู้ พมิ่ เติมเองนอกหอ้ งเรยี น

21 เรยี นเพอื่ สอบใหไ้ ด้คะแนนสงู กวา่ ใครๆ

22 ชอบเปน็ ผนู้ ำกลุ่มในการอภิปราย

5 23 ชอบถามในชน้ั เรียนเพอ่ื หาคำตอบ

24 ชอบทำกจิ กรรมการเรียนที่ทา้ ทาย
25 ชอบการค้นหาคำตอบโดยการกำหนดเงอ่ื นไขเวลา
26 ชอบเรยี นมากถา้ ครูให้ทำกิจกรรมในหอ้ งเรียน
27 ชอบค้นคว้าความรนู้ อกชน้ั เรียนเพอ่ื ใหไ้ ดง้ านท่ดี ที สี่ ุด
6 28 ชอบครทู ่วี เิ คราะห์ สังเคราะห์ อธิบายเน้ือหาละเอยี ดไดด้ ี

29 ชอบเรยี นแบบแบง่ กลมุ่ แล้วอภิปราย

30 ใหค้ วามร่วมมอื ในกลมุ่ ทกุ ครัง้ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายงาน

สรปุ รปู แบบวธิ กี ารเรยี นรู้ของฉนั คือ

 แบบที่ 1 (ข้อ 1-5) แบบอิสระ (พ่งึ ตนเอง)  แบบท่ี 2 ( ข้อ 6-10) แบบหลบหลีก (แบบหลีกเลย่ี ง)

 แบบท่ี 3 ( ข้อ 11-15) แบบรว่ มมือ (แบบพ่ึงกลมุ่ )  แบบที่ 4 ( ข้อ 16-20) แบบพง่ึ พา (แบบพ่งึ ผู้อ่นื )

 แบบท่ี 5 ( ขอ้ 21-25) แบบแขง่ ขัน  แบบท่ี 6 ( ขอ้ 26-30) แบบมสี ่วนรว่ ม

 แบบผสมผสาน แบบ.......................................และแบบ..........................

แบบวิเคราะหว์ ธิ กี ารเรียนรู้ตามลกั ษณะการรบั รู้

ช่อื ……………………………………………………..…………ชน้ั .................. เลขท…ี่ ……..

คำชแี้ จง ใสเ่ คร่อื งหมาย ✓ ในช่อง ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ ทต่ี รงกบั ความรสู้ ึกหรอื การกระทำของนกั เรียน

ขอ้ พิจารณา ใช่ ไมใ่ ช่

1. ชอบขดี เขยี นอะไรเลอะเทอะไปหมด ขณะสนทนาทางโทรศพั ท์

2. ชอบการวางแผนระยะยาว

3. มักจะจำทางผิดบอ่ ย ๆ

4. ให้ความสำคญั กับการรักษาสุขภาพมากกวา่ การแต่งกาย

5. สามารถอ่านหนงั สอื ไดแ้ มจ้ ะมีเสยี งรบกวน

6. ชอบใหค้ รสู ่งั งานบนกระดานดำมากกวา่ ส่งั ดว้ ยวาจา

7. สามารถอ่านปา้ ยโฆษณาขา้ งทางได้ทนั ในขณะรถวิง่ ผ่าน

8. ถ้าครสู าธิตการทดลองแล้วไมอ่ ธบิ ายประกอบอยา่ งละเอียดจะไมเ่ ขา้ ใจ

9. ชอบฟังดนตรที กุ ชนดิ

10.สามารถอธิบายความคดิ ของตนเองไดช้ ดั เจน

11.ไมช่ อบใหม้ เี สยี งรบกวนขณะทำงาน

12.ชอบอา่ นหนงั สือไปดว้ ยฟงั เพลงไปดว้ ย

13.ชอบอา่ นหนงั สือในใจมากกวา่ อ่านออกเสยี ง

14.มกั ไดร้ บั คำชมวา่ อ่านทำนองเสนาะได้ดี

15.อยากเขา้ ชมรมนักพดู มากกวา่ ชมรมนกั เขยี น

16.จำเรื่องท่ีไดย้ นิ มาไดด้ ีกวา่ ทไี่ ดอ้ า่ นมา

17.ถา้ มีเวลาว่างจะหาเพื่อนคยุ

18.ชอบการออกไปพดู รายงานหน้าชนั้ มากกว่าเขยี นรายงาน

19.ตอบคำถามไมค่ อ่ ยไดด้ แี มจ้ ะเขา้ ใจเรือ่ งทถี่ าม

20.เมอื่ เข้ากลมุ่ จะเป็นผู้พดู มากกวา่ ผฟู้ งั

21.มกั ถกู เพ่ือน ๆ บอกให้พูดชา้ ลงกวา่ น้ี

22.เมือ่ พบของทีน่ า่ สนใจ ชอบหยบิ หรอื จับดเู สมอ

23.สามารถทำตามแบบได้ทนั ทแี ม้จะมีผทู้ ำใหด้ ูเพยี งครง้ั เดยี ว

24.ชอบดูผลงานทจี่ ดั นิทรรศการมากกวา่ ฟังการบรรยาย

25.จดจำรายละเอยี ดของสิ่งทพี่ บเหน็ ไดม้ าครบถ้วน

26.นัง่ เฉย ๆ หรือทำอะไรไดน้ านๆ โดยไม่รสู้ กึ เบ่ือ

27.มักแสดงทา่ ทางประกอบเวลาคุยกบั เพอ่ื น ๆ

28.ชอบชีน้ วิ้ ตามขา้ ความทอี่ า่ น

29.ลายมือยุ่งเหยิงไมเ่ ป็นระเบยี บ

30.ชอบเป็นผ้ชู มมากกว่าเปน็ ผแู้ สดง

เฉลยแบบสำรวจลีลาการเรยี นรู้ ดัดแปลงจาก เพมิ่ พลงั การเรียนรู้ กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น 2538

ข้อ 1-10 เปน็ ลลี าการเรียนรดู้ ว้ ยการเห็น ข้อ 1, 2, 5, 6, 7, 9, 10 ตอบใช่ได้ข้อละ 1 คะแนน ขอ้ 3, 4, 8 ตอบไมใ่ ช่ ได้ข้อละ 1 คะแนน

ข้อ 11-20 เปน็ ลีลาการเรียนรดู้ ว้ ยการฟงั ข้อ 14, 15, 16, 17, 18 ตอบใช่ไดข้ อ้ ละ 1 คะแนน ขอ้ 11, 12, 13, 19, 20 ตอบไมใ่ ช่ ไดข้ ้อละ 1 คะแนน

ข้อ 21-30 เปน็ ลลี าการเรียนรดู้ ้วยการสัมผัส ข้อ 22, 23, 24, 25, 27, 28 ตอบใช่ได้ขอ้ ละ 1 คะแนน ขอ้ 21, 26, 29, 30 ตอบไม่ใชไ่ ด้ขอ้ ละ 1 คะแนน

สรปุ ฉันมีลีลาการเรียนรู้ดว้ ยการ  เห็น  ฟงั  สมั ผัส  ผสมแบบ...........และ...............

ภาคผนวก ข

ภาพการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบคุ คล

ภาพการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คลออนไลนผ์ ่าน google form

ภาพการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คลออนไลนผ์ ่าน google form

ภาพการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คลออนไลนผ์ ่าน google form

ภาพการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คลออนไลนผ์ ่าน google form


Click to View FlipBook Version