The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1. คู่มือชุดที่ 1 ทัศนะเกี่ยวกับนิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. คู่มือชุดที่ 2 ทัศนะเกี่ยวกับความสำคัญของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
3. คู่มือชุดที่ 3 ทัศนะเกี่ยวกับลักษณะของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
4. คู่มือชุดที่ 4 ทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
5. คู่มือชุดที่ 5 ทัศนะเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
6. คู่มือชุดที่ 6 ทัศนะเกี่ยวกับการประเมินผล ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khacha2531, 2022-06-05 04:05:07

คู่มือชุดที่1-6RD-คชา

1. คู่มือชุดที่ 1 ทัศนะเกี่ยวกับนิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. คู่มือชุดที่ 2 ทัศนะเกี่ยวกับความสำคัญของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
3. คู่มือชุดที่ 3 ทัศนะเกี่ยวกับลักษณะของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
4. คู่มือชุดที่ 4 ทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
5. คู่มือชุดที่ 5 ทัศนะเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
6. คู่มือชุดที่ 6 ทัศนะเกี่ยวกับการประเมินผล ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

Keywords: คู่มือชุดที่1-6RD-คชา

คำนำ

โปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเองเพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ของอาจารย์สู่การพัฒนานักศึกษาเป็นผู้นำ
การเปลี่ยนแปลง นี้ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีพัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and
Development: R&D) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงาน อันสืบ
เนื่องมาจากการกำหนดความคาดหวังใหม่ที่ท้าทายของหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การ
ทำงานจากเก่าสู่ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการศึกษาเกิดขึ้น
มากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้วนำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ
(Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To
Do, Then Encourage Them Do What They Know” หรอื “Link To On-The-Job Application”

จากหลักการของการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว ทำให้ได้โปรแกรมอบรมออนไลน์ดว้ ยตนเองเพื่อเสริมพลัง
การเรยี นรขู้ องอาจารยส์ กู่ ารพฒั นานักศึกษาเป็นผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ทป่ี ระกอบด้วยสองโครงการ คือ โครงการ
พัฒนาเพอ่ื เสริมพลงั การเรียนรขู้ องอาจารย์สู่การพัฒนานักศกึ ษาเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง2) โครงการอาจารย์นำ
ผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษาเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ให้กับนักศึกษา โดยมีคู่มือประกอบแต่ละโครงการ
ในสว่ นของโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรขู้ องอาจารย์ ประกอบด้วยหลกั การ แนวคิด และทฤษฎใี น 6 ประเด็น คอื
1) นิยาม 2) ความสำคัญ 3) ลักษณะ 4) แนวทางการพัฒนา 5) ขั้นตอนการพัฒนา และ 6) การประเมินผล ซึ่งแต่
ละประเดน็ ได้นำมาสร้างเปน็ คูม่ ือเพ่ือการเรยี นรู้ของอาจารย์ทีเ่ น้นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) จำนวน
6 ชุด ที่คาดหวังให้อาจารย์เกิดความรู้ความเข้าใจและนำไปเป็นแนวทางการพัฒนาให้แก่นักศึกษาต่อไปตาม
โครงการอาจารย์นำผลการเรยี นรสู้ ่กู ารพัฒนา ซึ่งจะมคี มู่ ือเชงิ ปฏบิ ัติการประกอบดว้ ยอีก 1 ชุด

โปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเองเพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ของอาจารย์สู่การพัฒนานักศึกษาเป็นผู้นำ
การเปล่ียนแปลงดังกล่าวข้างตน้ พัฒนาขึ้นตามหลักการพัฒนาอาจารย์ที่ว่า “การพัฒนาอาจารย์เรือ่ งใดๆจะต้อง
คำนึงถึงความมีประโยชน์ต่อนักศึกษาซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการศึกษาและการบริหาร
การศึกษา” และตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่คุรุสภากำหนดว่า “ปฏิบัติกิจกรรมโดยคำนงึ ถงึ ผลทีจ่ ะเกดิ ข้นึ กบั
การพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพ พัฒนา
และใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ และสร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุก
สถานการณ์” ดังนั้น จึงคาดหวังว่า หลังจากท่านศึกษาเพื่อการเรียนรู้จากคู่มือแต่ละชุดแล้ว จะได้นำความรู้ไป
พฒั นานกั ศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลต่อไป

นายคชา ปราณีตพลกรัง

สารบญั

1. คู่มือประกอบโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรูข้ องอาจารย์ หนา้
1.1 คมู่ อื ชุดท่ี 1 ทัศนะเก่ยี วกับนิยามของ ผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง มี 3
องคป์ ระกอบ คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำช้แี จง ทัศนะเก่ยี วกับ 12
นยิ าม แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง 22
1.2 ค่มู ือชุดที่ 2 ทัศนะเก่ียวกับความสำคัญของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง 46
มอี งค์ประกอบ คือ วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ คำชแ้ี จง ทัศนะ
เกีย่ วกบั ความสำคัญ แบบประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง 73
1.3 คมู่ ือชุดท่ี 3 ทัศนะเกย่ี วกบั ลกั ษณะของ ผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง มี
องค์ประกอบ คือ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คำชแ้ี จง ทัศนะเก่ยี วกับ 89
ลักษณะ แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งอิง
1.4 คู่มือชดุ ท่ี 4 ทัศนะเก่ยี วกบั แนวทางการพฒั นา ผู้นำการ 103
เปล่ียนแปลง มอี งค์ประกอบ คือ วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ คำช้แี จง
ทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา แบบประเมินตนเอง และ
เอกสารอา้ งอิง
1.5 คูม่ อื ชุดท่ี 5 ทัศนะเก่ยี วกับขัน้ ตอนการพฒั นา ผนู้ ำการ
เปลย่ี นแปลง มีองค์ประกอบ คอื วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คำชีแ้ จง
ทัศนะเกี่ยวกบั ขั้นตอนการพัฒนา แบบประเมนิ ตนเอง และ
เอกสารอ้างอิง
1.6 คมู่ ือชุดที่ 6 ทัศนะเกย่ี วกบั การประเมินผล ผ้นู ำการเปล่ียนแปลง มี
องค์ประกอบ คือ วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ คำช้ีแจง ทัศนะเกยี่ วกบั
การประเมนิ ผล แบบประเมนิ ตนเอง และเอกสารอา้ งอิง

2. คู่มอื ประกอบโครงการอาจารย์นำผลการเรยี นรู้สู่การพัฒนานักศกึ ษา
2.1 คมู่ ือเพ่ือการปฏิบัตกิ ารในการพัฒนา ผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง ของ
นกั ศึกษา มีองค์ประกอบ คือ วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือการปฏิบัติ และแนว
ปฏิบตั ิ





3

คมู่ อื ชุดที่ 1
ทัศนะเกีย่ วกบั นิยามของผู้นำการเปลยี่ นแปลง

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจาํ แนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเปน็ 6 ระดบั เรยี งจากพฤติกรรมท่ีสลบั ซับซ้อนน้อยไป
หามาก หรอื จากทกั ษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขน้ั สงู กวา่ ดังนี้ คือ ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขียนลำดบั อธบิ าย บรรยาย ขีดเสน้ ใต้ จำแนก หรือระบุนยิ ามของผู้นำ
การเปลย่ี นแปลง ได้

2) แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรปุ ความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรอื เรียบเรยี ง
นิยามของผูน้ ำการเปลย่ี นแปลงได้

3) แก้ปญั หา สาธติ ทำนาย เช่ือมโยง ความสมั พันธ์ เปลยี่ นแปลง คำนวณ หรอื ปรบั ปรุงนิยาม
ของผูน้ ำการเปล่ียนแปลงได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกใหเ้ ห็นความแตกต่าง หรอื บอกเหตุผลนิยามของผูน้ ำการ
เปลีย่ นแปลงได้

5) วดั ผล เปรยี บเทยี บ ตคี า่ ลงความเหน็ วจิ ารณ์นิยามของผู้นำการเปลยี่ นแปลงได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สร้าง ประดิษฐ์ หรอื วางหลักการนยิ ามของผ้นู ำการ

เปลีย่ นแปลง ได้
โดยมที ัศนะเกี่ยวกบั นิยามของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง ของแหลง่ อ้างองิ ทางวชิ าการตา่ งๆ ดังนี้
1) นยิ ามของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Lares
2) นยิ ามของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Galloway
3) นยิ ามของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Gimsley
4) นยิ ามของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Jargons
5) นิยามของผู้นำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Tanuja
6) นิยามของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Akpoveta

4

7) นิยามของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Knowledge Brief Website
8) นยิ ามของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทัศนะของ Root

คำช้ีแจง
1) โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทศั นะ โดยแต่ละทศั นะทา่ นจะต้องทำความเข้าใจทีส่ ามารถอธบิ ายกับตวั เองได้วา่ เขาให้นิยาม
ของผูน้ ำการเปลี่ยนแปลงว่าอยา่ งไร
2) หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีกครั้งจาก
แบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของคู่มือ
3) เนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่ง
อ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้น
ต่อไดจ้ ากเว็บไซตท์ ร่ี ะบไุ วใ้ นแหลง่ อ้างอิงนนั้ ๆ

ทัศนะเกย่ี วกับนิยามของ ผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง
1. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Lares หมายถึง ผู้นํามุ่งเน้นในการ

เปล่ยี นแปลงในขอบเขตขนาดใหญ่ (Large-scale) ภายในองค์กรโดยผนู้ าํ การเปลี่ยนแปลงทแี่ ทจ้ ริง (Real
Change Leaders, RCLs) จะมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักในด้านการเปลี่ยนแปลง วิสัยทัศน์เชิงธุรกิจ
และการเพิ่มขีดจํากัดความสามารถของบุคลากรให้เพียงพอในการสร้างสรรค์วิสัยทศั น์ใหม่ๆ ถึงอย่างไรก็
ตามผู้นาํ การเปล่ยี นแปลงแมจ้ ะมีประสิทธภิ าพในด้านการออกนอกกรอบการควบคุมแต่ยงั มีความเสี่ยงใน
เรื่องการมองข้ามการพิจารณารายละเอียดเล็กน้อยในการทำงานและนอกจากนั้นอง์กรอาจจะไม่ได้
ดำเนนิ การเปล่ยี นแปลงทุกจดุ ประสงค์ของโครงสร้างองคก์ รอีกดว้ ย

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจนิยามของ ผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง ตาม
ทัศนะของ Lares ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

5

2. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Galloway หมายถึง ในโลกปัจจุบันนี้ที่ซ่ึง
เป็นยุคของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและโลกาภิวัตน์ (globalization) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพภายใน
องค์กร ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจะต้องเป็นผู้ที่ยอมรับสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง (dynamic
environment) Braum ผู้บริหารของ Tech Biz ได้ทำการประชุมร่วมกับผู้บริหารท่านอื่นๆ เพื่อทำการ
ยกระดับความเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงในองค์กรโดยเชื่อว่าความเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงจะเป็น
ความสามารถท่ีส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรเปน็ อย่างมาก ซงึ่ ในสว่ นท้ายของบทสรุปน้ี
จะเป็นการอภิปรายเกี่ยวกับระดับของการเป็นผู้ นําการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของการเป็นผู้นําการ
เปลี่ยนแปลงรวมถึงการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างการเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงและทักษะการ
บรหิ ารจดั การการเปลี่ยนแปลง (change management)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนิยามของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง ตาม
ทศั นะของ Galloway ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

3. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Gimsley หมายถึง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
(Change agent) สามารถเป็นไดท้ ้ังผูท้ ่ีอยภู่ ายในหรอื ภายนอกองค์กร ซงึ่ เปน็ ผู้ทาํ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง
ภายในองค์กรโดยมุ่งเน้นในเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพและการพัฒนาขององค์กร โดยทั่วไปแล้วนั้น
ผู้บริหารการเปลี่ยนแปลงจะพยายามมุ่งเน้นในเรื่องของผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กร หน้าที่รับผิดชอบของบุคลากรแต่ละบุคคลรวมถึงความสัมพันธ์ภายใน
องคก์ ร ทีม่ ุง่ เนน้ ไปทตี่ ัวบคุ คลและบคุ คลท่ีมีเกีย่ วข้องกบองค์กร

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจนิยามของ ผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตาม
ทศั นะของ Gimsley วา่ อยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
............................................................................................................................. ........
............................................................................................. ........................................

6

4. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Jargons หมายถึง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
สามารถเป็นได้ทั้งบุคคลเดียวและกลุ่มบุคคล ซึ่งมีหน้าที่ทำการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายใน
องค์กร รวมถึงการเปลี่ยนแปลงการจัดการภายในองค์กร โดยผู้นำจะเป็นผู้มีอิทธิพลทั้งทางตรงหรือ
ทางอ้อมในการเปลีย่ นแปลงนัน้ ๆ เช่น ผู้บริหารการเปลี่ยนแปลงจะถูกแต่งตั้งขึ้นโดยองค์กรเพื่อทำใหเ้ กดิ
การเปลยี่ นแปลงวธิ กี ารดําเนนิ งาน การบริหารการจัดการภายในองค์กรหรือในการดำเนนิ ธรุ กจิ

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจนยิ ามของ ผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ตาม
ทัศนะของ Jargons ว่าอย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
....................................................................................... ..............................................
............................................................................................. ........................................

5. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Tanuja หมายถึง แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงจะ
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง (Continuous process) ซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้จัดการในทุกระดับชั้น ซึ่งเป็นผู้ที่
ควรเป็นผู้ริเริ่มและผู้ออกแบบแผนการเปลี่ยนแปลง (Planned change) การเปลี่ยนแปลงตามแผนงาน
ดงั กลา่ วสามารถถูกแนะนําได้จากผู้บรหิ ารการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นผ้บู รหิ ารการเปลี่ยนแปลงคือบุคคลผู้ซ่ึง
รเิ ริ่มให้เกิดการเปลยี่ นแปลงภายในองคก์ รเพื่อชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธิผลให้แก่องค์กร

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง ตาม
ทัศนะของ Tanuja ว่าอย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
.....................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........

6. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Akpoveta ได้กล่าวว่าในช่วงหลายปีทีผ่าน
มาคําจํากัดความของการเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงที่เป็นที่แพร่หลายได้ถูกนิยามโดย Higgs และ
Rowland ไว้วา่ การเป็นผนู้ ําการเปลี่ยนแปลงเปน็ ความสามารถในการชักจูง การสร้างความกระตือรือร้น
ในการขบั เคล่ือนวสิ ยั ทัศน์เพื่อการสรา้ งพ้นื ฐานท่มี ั่นคงในการเปลีย่ นแปลงทั่งตอ่ ผู้อืน่ และตนเอง

7

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตาม
ทศั นะของ Akpoveta ว่าอย่างไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

7. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Knowledge Brief Website หมายถึง
ความสามารถในการชักจูง การสร้างความกระตือรือร้นในการขับเคล่ือนวิสัยทัศน์เพื่อการสร้างพื้นฐานที่
ม่ันคงในการเปลย่ี นแปลงทนั ตอ่ ผู้อนื่ และตนเอง

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจนิยามของ ผู้นำการเปล่ยี นแปลง ตาม
ทัศนะของ Knowledge Brief Website วา่ อย่างไร ?
............................................................………………………………………………………………
………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………….....................................................................................................

8. นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Root ได้ทำการศึกษาความเป็นผู้นําการ
เปล่ียนแปลงคืออะไรและได้ให้คํานิยามของความเป็นผนู้ ําการเปลยี่ นแปลงว่าหหมายถึง แนวทางเชิงรุกใน
การบริหารการเปลี่ยนแปลง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดงั กล่าวถูกมองว่าเป็นโอกาสในการสร้างการเติบโตและ
การพัฒนาองค์กรมากกว่าการสร้างความมั่นคงของโครงการ ผู้นําการเปล่ียนแปลงจะเปน็ ผู้สร้างวิสัยทัศน์
ท่สี ร้างแรงบนั ดาลใจและสนบั สนุนวิสยั ทัศนด์ ังกลา่ วให้เกดิ ข้ึนทั่วทั้งองคก์ ร

ผู้นําการเปลี่ยนแปลงจะใช้บุคคลเปน็ ศูนยก์ ลางในการสรา้ งความเปลีย่ นแปลง โดยพิจารณาวา่
การเปล่ียนแปลงดังกลา่ วจะเกิดผลกระทบอย่างไรต่อบุคคล กระบวนการการทำงาน รวมถึงเคร่ืองมือทีใช้
ในการทำงาน การสรา้ งความเปลย่ี นแปลงน้นั จะเกิดจากทำงานรว่ มกันระหว่างผ้นู ําภายในองค์กร และตัว
พนักงานเอง เพ่ือให้เกิดความสำเร็จและเกิดการบูรณาการการเปลี่ยนแปลงมากกว่าการบังคับให้เกิดขึ้น
ผู้นําการเปลีย่ นแปลงจะทำการค้นหาข้อมูลเชงิ ลึกและข้อเสนอแนะและนอกจากนั้นจะทำความเข้าใจทุก
ความท้าทายที่เกิดขึ้นจากการริเริ่มการเปลี่ยนแปลง ผู้นําการเปลี่ยนแปลงจะตระหนักทราบได้ว่าส่ิ งใด
เกิดขึ้นหรือไม่ได้เกิดจากการริเริ่มการเปลี่ยนแปลงและยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลท่ี
สนับสนนุ ตอ่ การรเิ รมิ่ การเปลี่ยนแปลงนนั้ ๆ

8

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนยิ ามของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง ตาม
ทศั นะของ Root ว่าอยา่ งไร ?
……………………………………………………………………………………………..............................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง
โปรดทบทวนความร้คู วามเขา้ ใจของท่านอกี ครง้ั จากแบบประเมนิ ผลตนเองน้ี

1) ท่านเขา้ ใจนยิ ามของ ผู้นำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Lares ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Lares กล่าวถึง
นิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ว่าอยา่ งไร?

2) ท่านเขา้ ใจนยิ ามของ ผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ตามทศั นะของ Galloway ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Galloway
กลา่ วถึงนิยามของ ผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง วา่ อย่างไร?

3) ท่านเข้าใจนยิ ามของ ผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทศั นะของ Gimsley ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Gimsley
กล่าวถึงนยิ ามของ ผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง วา่ อย่างไร?

4) ทา่ นเข้าใจนยิ ามของ ผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Jargons ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Jargons
กล่าวถงึ นิยามของ ผูน้ ำการเปล่ยี นแปลง วา่ อยา่ งไร?

5) ท่านเขา้ ใจนยิ ามของ ผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Tanuja ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดพี อ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครงั้ แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Tanuja กลา่ วถึง
นิยามของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?

9

6) ท่านเข้าใจนิยามของ ผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Akpoveta ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Akpoveta
กล่าวถงึ นิยามของ ผู้นำการเปล่ยี นแปลง ว่าอย่างไร?

7) ท่านเข้าใจนิยามของ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Knowledge Brief Website
ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Knowledge
Brief Website กล่าวถึงนยิ ามของ ผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง ว่าอยา่ งไร?

8) ทา่ นเขา้ ใจนยิ ามของ ผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Root ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Root กล่าวถึง
นิยามของ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดงั นี้

1) Lares, A: https://www.shapironegotiations.com/what-is-change-leadership/
2) Galloway, T: https://study.com/academy/lesson/what-is-change-leadership-

significance-types.html
3) Grimsley, S: https://study.com/academy/lesson/change-agent-definition-role-

quiz.html
4) Jargons, B: https://businessjargons.com/change-agent.html
5) Tanuja, A: https://www.businessmanagementideas.com/notes/management-

notes/organisational-change/change-agent-meaning-and-role-organisation/5299
6) Akpoveta, Y: https://thechangeleadership.com/change-leadership-defined/
7) Knowledge Brief Website: https://www.kbmanage.com/concept/change-leadership
8) Root, D: https://www.eaglesflight.com/blog/difference-between-change-

management-and-change-leadership

10

เอกสารอา้ งองิ
Akpoveta, Y. (2019). What is change leadership. Retrieved September 25, 2020, from

https://rb.gy/uxfze4
Galloway, T. (n.d.). The definition of change leadership. Retrieved September 25, 2020,

from https://rb.gy/buqigv
Grimsley, S. (n.d.). Change agent definition. Retrieved September 25, 2020, from

https://rb.gy/r8xpps
Jargons, B. (n.d.). Change agent. Retrieved September 25, 2020, from https://rb.gy/lrfleb
Knowledge Brief Website. (2020). Change leadership. Retrieved September 25, 2020,

from https://rb.gy/trdlnp
Lares, A. (n.d.). Definition of change leadership. Retrieved September 25, 2020, from

https://rb.gy/kaqkwi
Root, D. (2020). What is change leadership. In The difference between change

management and change leadership. Retrieved September 25, 2020, from
https://rb.gy/gego0u
Tanuja, A. (n.d.). Meaning of change agent. Retrieved September 25, 2020, from
https://rb.gy/9oo8yw

11

12

คู่มอื ชดุ ที่ 2
ทศั นะเกย่ี วกบั ความสำคญั ของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจาํ แนกพฤติกรรมในขอบเขตน้ีออกเปน็ 6 ระดบั เรยี งจากพฤติกรรมที่สลบั ซับซ้อนน้อยไป
หามาก หรือจากทักษะการคิดข้นั ต่ำกวา่ ไปหาทักษะการคิดข้นั สงู กวา่ ดังนี้ คือ ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดงั น้ี

1) บอกคณุ สมบัติ จับคู่ เขียนลำดบั อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุความสำคัญของ
ผนู้ ำการเปล่ยี นแปลงได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือเรยี บ
เรยี งความสำคญั ของผูน้ ำการเปลยี่ นแปลงได้

3) แกป้ ญั หา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพนั ธ์ เปลีย่ นแปลง คำนวณ หรอื ปรบั ปรงุ
ความสำคญั ของผนู้ ำการเปล่ียนแปลงได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกใหเ้ หน็ ความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลความสำคญั ของผู้นำการ
เปลย่ี นแปลงได้

5) วัดผล เปรยี บเทยี บ ตีค่า ลงความเห็น วจิ ารณ์ความสำคัญของผู้นำการเปล่ยี นแปลงได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สรา้ ง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการความสำคัญของผ้นู ำการ

เปลีย่ นแปลงได้
หลังจากการศึกษาทัศนะเกี่ยวกับความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในคู่มือชุดนี้แล้ว ท่าน
สามารถอธบิ ายไดถ้ ึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถงึ แตล่ ะทัศนะ ดังนี้
1) ความสำคัญของผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Baringa Website
2) ความสำคัญของผู้นำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Hogg
3) ความสำคญั ของผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Lunenburg
4) ความสำคัญของผูน้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทัศนะของ Miller
5) ความสำคัญของผู้นำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Gartenstein

13

6) ความสำคญั ของผูน้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Burch and Evans
7) ความสำคัญของผูน้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Pratap
8) ความสำคญั ของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทัศนะของ Enclaria Website

คำชแี้ จง
1) โปรดศกึ ษาเนอื้ หาเก่ียวกับความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทศั นะท่ีนำมากล่าวถึงแต่
ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กลา่ วถงึ ความสำคัญของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงวา่ อยา่ งไร
2) หลังจากการศกึ ษาเน้อื หาแต่ละทศั นะแลว้ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอกี คร้ังจาก
แบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ ือ
3) เนื้อหาเกี่ยวกับความสำคญั ของผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแตล่ ะทัศนะมี
แหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้น
ตอ่ ได้จากเว็บไซตท์ ี่ระบไุ วใ้ นแหลง่ อ้างองิ น้ันๆ

ทศั นะเก่ียวกับความสำคญั ของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง
1. ความสำคัญของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทัศนะของ Baringa Website
Baringa Website (2016) กล่าวถึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า “ความก้าวหน้า

จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีผู้นำที่เก่งและมีความสามารถในการคว้าโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้น”
Harry S. Truman ในการทำงานแบบสมัยใหม่เป็นการยากที่จะหลีกเลี่ยงการเปล่ียนแปลงในองค์กรที่
เกิดขึ้นในบางช่วงของชีวิตซึ่งการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเรื่องพื้นฐานของการทำธุรกิจ สาเหตุการ
เปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุรวมถึงการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการ
เตบิ โตของตลาดหรือสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจมหภาคที่กว้างข้นึ การเปล่ียนแปลงขนาดใหญ่ในองค์กร
จึ่งเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเพื่อที่จะประสบความสำเร็จได้นั้นต้องอาศัยผู้นำที่มี
ความเข้มแข็งในการกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง

14

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผู้นำการเปลยี่ นแปลง
ตามทัศนะของ Baringa Website ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....………
……………….................................................................................................................

2. ความสำคัญของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Hogg
Hogg (2020) กล่าวถึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 4 เหตุผลสำคัญของผู้นำท่ี
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงเป็นความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างผู้จัดการและผู้นำคือ วิธีการที่พวกเขาจัดการ
กบั การเปลย่ี นแปลงขององค์กรท่เี กิดข้ึน ซึ่งผู้นำจะมวี ิสัยทศั นท์ ี่แตกต่างอยา่ งสนิ้ เชงิ กับผูจ้ ัดการ โดยทั่วไป
แล้วผู้จัดการจะกลัวการเปลี่ยนแปลงเพราะมันจะทำให้วิถีชีวิตที่อยู่ภายใต้กรอบระเบียบของพวกเขา
เปล่ียนแปลงไป ในขณะท่ผี ูน้ ำจะยอมรับการเปล่ียนแปลงเนอื่ งจากพวกเขารวู้ ่าการเปลย่ี นแปลงจะนำไปสู่
การเติบโตและความสำเรจ็ ในรปู แบบใหม่ๆ
หลกั การเปลย่ี นแปลง 4 ประการน้ี เป็นหลักการท่ผี นู้ ำต้องทำความเข้าใจเพื่อชว่ ยให้องค์กรและ
ทีมงานเตบิ โตและก้าวไปสรู่ ะดับต่อไปของการปฏิบัตงิ าน
1. การเปลยี่ นแปลงคอื แรงจูงใจ (Change is Motivating Change is Motivating)
2. การเปลี่ยนแปลงเป็นเรอ่ื งทน่ี า่ ตื่นเตน้ (Change is Exciting)
3. การเติบโตจะเกิดขึ้นเมื่อสิ่งต่างๆ เปลี่ยนไปเท่านั้น (Growth Only Happens when

Things Change Growth Only Happens when Things Change)
4. การเปลี่ยนแปลงจะเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ (To Change is to Become Part of

History)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลยี่ นแปลง
ตามทัศนะของ Hogg ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....………
………………..................................................................................................................

15

3. ความสำคัญของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลง ตามทศั นะของ Lunenburg
Lunenburg (2020) กล่าวถึงความสำคัญของผูน้ ำการเปลี่ยนแปลงว่า “ผู้นำการเปลีย่ นแปลง
คือใครก็ตามที่มีทักษะและอำนาจในการกระตุ้น อำนวยความสะดวก และประสานงานในการเกิดการ
เปลี่ยนแปลง” ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจะทำหน้าที่ปรับเปลี่ยนองค์กรเพื่อเพิ่มความพร้อมและการ
ตอบสนองต่อการเริ่มต้นการเปล่ยี นแปลงท้งั ภายในและภายนอก ผบู้ รหิ ารการเปลี่ยนแปลงจะมบี ทบาทใน
การฝึกอบรม การวจิ ัยและการใหค้ ำปรึกษาต่อการเปล่ยี นแปลงทจ่ี ะเกิดข้นึ (ทั้งภายในและภายนอก)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผูน้ ำการเปล่ยี นแปลง
ตามทศั นะของ Lunenburg วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....………
………………..................................................................................................................

4. ความสำคญั ของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Miller
Miller (2017) กล่าวถึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า ในช่วงเวลาที่มีการผันแปล
หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรความน่าเชื่อถือของผู้นำจะถูกคุกคาม ซึ่งในความเป็นจริงแล้วตัว
ผู้นำเองก็มักถูกระบุว่าเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญของความล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลง การสร้างผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงที่เข้มแข็งในองค์กรควรควบคู่ไปกับกระบวนการการทำงานแบบมีส่วนร่วมที่มี ประสิทธิภาพ
ซึ่งจะช่วยสร้างองค์กรที่มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวเพื่อช่วยในการรับมือกับความไม่แน่นอนที่อาจจะ
เกดิ ขึ้นในวันข้างหนา้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผ้นู ำการเปลย่ี นแปลง
ตามทัศนะของ Miller ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
……………….................................................................................................................

16

5. ความสำคญั ของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Gartenstein
Gartenstein (2019) กล่าวถึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า ถึงแม้การ
เปลย่ี นแปลงจะนำมาซ่ึงความไม่มนั่ คงภายในองค์กร แต่ผู้นำทมี่ ีประสทิ ธภิ าพจะทำใหเ้ กิดความสอดคล้อง
โดยยังคงวิสัยทัศน์ที่ดีในช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนผ่านเหล่านี้ ในขณะที่ฝ่ายบริหารจะมุ่งเน้นไปที่การ
จัดการระบบและกระบวนการต่างๆ แต่ในส่วนของผู้นำนั้นจะใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของตนเพื่อทำงาน
ร่วมกับบุคคคลที่ขับเคลื่อนกระบวนการการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ผ่านความยากลำบากที่เกิดขึ้น ผู้นำที่มี
ประสิทธิภาพจะดำเนินการเปลี่ยนแปลงโดยประสานทักษะต่างๆ และพลังงานจากบุคคลที่หลากหลาย
เพ่อื ใหบ้ รรลผุ ลลพั ธ์ของการเปลยี่ นแปลงทแ่ี ท้จริง

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผ้นู ำการเปลย่ี นแปลง
ตามทศั นะของ Gartenstein ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

6. ความสำคัญของผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Burch and Evans
Burch and Evans (2014) กล่าวถึงความสำคัญการเปน็ ผูน้ ำการเปลี่ยนแปลงทีม่ ีประสิทธิผล
ในระหว่างการเกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรว่า ในส่วนที่ 4 ของงานเขียนบล็อคเรื่องการจัดการการ
เปลี่ยนแปลงได้พิจารณาถึงความเป็นผู้นำไว้ว่าว่า การเป็นผู้นำที่ยอดเยี่ยมสามารถเพิ่มความสำเร็จให้กบั
ทุกองค์กรได้อย่างไม่ต้องสงสัย ซึ่งผู้นำที่มีประสิทธิภาพจะมีความสำคัญอย่างยิ่งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมองค์กร

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลีย่ นแปลง
ตามทศั นะของ Burch and Evans ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
……………….................................................................................................................

17

7. ความสำคญั ของผูน้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Pratap
Pratap (2018) กล่าวถงึ ความสำคัญของผู้นำการเปลย่ี นแปลงว่า ขณะเกิดการเปล่ียนแปลงใน
องค์กร วิธีที่ผู้นำควรจัดการกับการเปลี่ยนแปลงว่า ในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงได้กลายมาเป็น
บทบาทที่สำคัญในธุรกิจอุตสาหกรรม เนื่องจากในศตวรรษนี้สภาพแวดล้อมทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว จึงทำให้องค์กรส่วนใหญ่ตกอยู่ภายใต้แรงกดดันอย่างมากในการตอบสนองต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วที่เกิดขึ้น ทั้งเรื่องของภาวะเศรษฐกิจไปจนถึงเทคโนโลยีและข้อมูลประชากร การ
เปลี่ยนแปลงหลายอย่างในสภาพแวดล้อมโลกทำใหธ้ ุรกิจต้องเปล่ียนแปลงแนวทางเชิงกลยุทธเ์ ชน่ กนั โดย
ต้องทำการปรับตัวและทำการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเพ่ือตอบสนองต่อปัจจัยต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีได้เกิดขึ้นในอัตราที่รวดเร็วมากและไอที (IT) ได้กลายเป็นส่วนสำคัญของ
ความสามารถในการแขง่ ขันและผลผลิตในธุรกจิ ตา่ งๆ

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลยี่ นแปลง
ตามทศั นะของ Pratap ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

8. ความสำคัญของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลง ตามทศั นะของ Enclaria Website
Enclaria Website (2011) กล่าวถึงความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า บุคคลที่ทำ
หน้าที่ดำเนินงานในการเปลี่ยนแปลงองค์กรต้องสวมหมวกหลายใบ (มีหลายบทบาทหน้าที่) ผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธภิ าพจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสามารถรอบตัวและทักษะที่หลากหลาย ซึ่งบทบาท
ของผนู้ ำการเปล่ียนแปลงท่มี ีตอ่ การเปล่ียนแปลงในองคก์ ร ดงั แสดงดังน้ี
1. สำรวจ (Investigate)
2. ใหก้ ำลงั ใจ (Encourage)
3. ใหก้ ำลงั ใจ (Encourage)
4. อำนวยความสะดวก (Facilitate)
5. ไกลเ่ กลีย่ (Mediate)
6. ให้คำแนะนำ (Advise)
7. บรหิ ารจดั การ (Manage)

18

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง
ตามทัศนะของ Enclaria Website วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Baringa Website ชัดเจนดี
แลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Baringa
Website กล่าวถึงความสำคญั ของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?
2) ทา่ นเขา้ ใจความสำคญั ของผู้นำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Hogg ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Hogg กล่าวถึง
ความสำคัญของผู้นำการเปลีย่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?
3) ท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Lunenburg ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Lunenburg
กลา่ วถงึ ความสำคัญของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ว่าอยา่ งไร?
4) ทา่ นเขา้ ใจความสำคัญของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Miller ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แล้วตอบคำถามในใจว่า Miller กล่าวถึง
ความสำคัญของผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง ว่าอย่างไร?

19

5) ท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Gartenstein ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Gartenstein
กลา่ วถึงความสำคญั ของผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง ว่าอย่างไร?

6) ท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Burch and Evans ชัดเจนดี
แลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Burch and
Evans กลา่ วถงึ ความสำคญั ของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?

7) ทา่ นเข้าใจความสำคญั ของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Pratap ชัดเจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหม่อีกคร้งั แล้วตอบคำถามในใจวา่ Pratap กล่าวถึง
ความสำคญั ของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง วา่ อย่างไร?

8) ท่านเข้าใจความสำคัญของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Enclaria Website ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Enclaria
Website กล่าวถึงความสำคญั ของผู้นำการเปล่ียนแปลง ว่าอย่างไร?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังนี้

1) Baringa Website: https://www.selfdirectedlearning.com/
2) Hogg, B: https://www.billhogg.ca/4-reasons-a-leader-embraces-change/
3) Lunenburg, F.C: https://eric.ed.gov/?id=EJ313257
4) Miller, D: https://infed.org/self-directed-learning/#intro
5) Gartenstein, D: https://bizfluent.com/about-6716485-importance-leadership-

managing-change.html

20

6) Burch, M. & Evans, P: https://www.welchllp.com/blog/benefits-effective-leadership-
organizational-change/

7) Pratap, A: https://notesmatic.com/role-of-leadership-in-change-management/
8) Enclaria Website: https://www.enclaria.com/2011/01/06/seven-roles-of-a-change-

agent/

เอกสารอา้ งอิง
Baringa Website. (2016). The importance of change leadership. Retrieved September 25,

2020, from https://rb.gy/bjwcjg
Hogg, B. (2020). 4 Important reasons a leader embraces change. Retrieved September 25,

2020, from https://rb.gy/koak8m
Lunenburg, F.C. (2020). The role of the change agent. Retrieved September 25, 2020,

from https://rb.gy/bp9pkh
Miller, D. (2017). The importance of change leadership. Retrieved September 25, 2020,

from https://rb.gy/jh46tw
Gartenstein, D. (2 0 1 9 ) . The importance of leadership in managing change. Retrieved

September 25, 2020, from https://rb.gy/wjqzow
Burch, M. & Evans, P. (2 0 1 4 ) . The benefits of effective leadership during organizational

change. Retrieved September 25, 2020, from https://rb.gy/4ec67a
Pratap, A. (2018). The critical role of leadership during organizational change: how leaders

should manage change. Retrieved September 25, 2020, from https://rb.gy/lisbte
Enclaria Website. (2011). Seven roles of a change agent. Retrieved September 25, 2020,

from https://rb.gy/11sluo

21

22

คู่มอื ชดุ ที่ 3
ทัศนะเกี่ยวกบั ลักษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง

วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรยี งจากพฤติกรรมท่สี ลับซับซ้อนน้อยไป
หามาก หรือจากทกั ษะการคดิ ข้นั ตำ่ กวา่ ไปหาทักษะการคดิ ขน้ั สูงกว่า ดงั นี้ คอื ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังนี้

1) บอกคณุ สมบตั ิ จับคู่ เขียนลำดับ อธบิ าย บรรยาย ขีดเสน้ ใต้ จำแนก หรือระบุลักษณะของ
ผู้นำการเปล่ยี นแปลงได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรปุ ความ ยกตวั อย่าง บอกความแตกต่าง หรือเรยี บเรียง
ลักษณะของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลงได้

3) แก้ปัญหา สาธติ ทำนาย เชือ่ มโยง ความสมั พนั ธ์ เปล่ียนแปลง คำนวณ หรือปรบั ปรุงลกั ษณะ
ของผู้นำการเปล่ียนแปลงได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกให้เหน็ ความแตกตา่ ง หรือบอกเหตุผลลกั ษณะของผู้นำการ
เปล่ยี นแปลงได้

5) วัดผล เปรยี บเทียบ ตคี า่ ลงความเห็น วิจารณ์ลักษณะของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลงได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สร้าง ประดิษฐ์ หรอื วางหลักการลักษณะของผ้นู ำการ

เปลีย่ นแปลงได้
หลังจากการศึกษาทัศนะเกี่ยวกับลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงได้ ในคู่มือชุดนี้แล้ว ท่าน
สามารถอธบิ ายได้ถึงลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลงได้ จากทศั นะทนี่ ำมากล่าวถงึ แตล่ ะทศั นะ ดังนี้
1) ลักษณะของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Nash
2) ลักษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Edmondson
3) ลักษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ The Five Forces of Change Website
4) ลกั ษณะของผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Juneja
5) ลกั ษณะของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Couros

23

6) ลกั ษณะของผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Folkman
7) ลักษณะของผูน้ ำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Hicks
8) ลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Gorman
9) ลักษณะของผู้นำการเปล่ียนแปลง ตามทศั นะของ Bond
10) ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Ready
11) ลักษณะของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง ตามทัศนะของ Daskal
12) ลักษณะของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Michigan State University Website
13) ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Root

คำชแี้ จง
1) โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกบั ลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะ โดยแต่ละทศั นะทา่ นจะต้องทำความเข้าใจท่สี ามารถอธิบายกับตวั เองไดว้ า่ เขากล่าวถึง
ลกั ษณะของผ้นู ำการเปลี่ยนแปลงว่าอย่างไรว่าอยา่ งไร
2) หลงั จากการศกึ ษาเนือ้ หาแตล่ ะทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความร้คู วามเข้าใจของทา่ นอกี คร้ังจาก
แบบประเมนิ ผลตนเองในตอนทา้ ยของคู่มือ
3) เนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมี
แหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะสืบค้น
ตอ่ ได้จากเว็บไซตท์ ีร่ ะบุไว้ในแหล่งอ้างองิ นัน้ ๆ

ทศั นะเก่ียวกบั ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง
1. ลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลงตามทัศนะของ Nash

Nash (2014) เป็นประธานกรรมการประจำภูมิภาค, ที่ปรึกษาสูงสุด และเป็นผู้นำวิธีปฏิบัติการ
เปลี่ยนแปลงและการส่งผ่านความเป็นผู้นำที่ Linkage (Linkage’s Change and Transition
Leadership Practice) เขามีประสบการณ์มากกว่า 20 ปี ด้านการเป็นผู้นำ การอำนวยสะดวก และการ
สนบั สนุนโครงการริเริ่มการเปล่ยี นแปลงขนาดใหญ่ และเขามคี วามชำนาญเฉพาะในดา้ นการอำนวยความ
สะดวกเพื่อให้เกิดผลต่างๆ แก่องค์กรโดยใช้วิธีทางเทคโนโลยี ระบบองค์กร และการพัฒนาการเป็นผู้นำ
เขาไดก้ ล่าวถึงลักษณะของผนู้ ำการเปล่ียนแปลงว่ามี 6 ลักษณะเฉพาะของผู้นำ “ท่มี ีความสามารถในการ
เปล่ยี นแปลง” (6 Characteristics of a “change capable” leader) ดังนี้

24

1) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) คือความเต็มใจ และความสามารถที่จะ
เข้าใจปฏิกิริยาทางอารมณ์ต่างๆ ว่าคนเราต้องเปลี่ยนแปลง (ความกลัว, ความขุ่นเคืองใจ,
ความตน่ื เต้น และอื่นๆ) และรวู้ ิธีชว่ ยเหลอื ผ้คู นจดั การกับปฏกิ ริ ิยาของพวกเขาในทางบวก

2) การเอาใจใส่ (Empathy) คือ ความตั้งใจและความสามารถในการชมเชยประสบการณ์การ
เปลย่ี นแปลงของบุคคลอน่ื อย่างเตม็ ที่และไมผ่ กู มัดกับการตดั สนิ คุณคา่ ของมัน

3) ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) คอื ความตั้งใจและความสามารถท่จี ะทดสอบเพ่ือความ
เข้าใจและความหมาย

4) ความยืดหยุ่น (Adaptability) คือ ความต้ังใจและความสามารถที่จะแกไ้ ขลักษณะของคนและ
เข้าใกล้ตามสถานการณ์ ตราคำอรรถาธิบาย และความต้องการของทีม กลุ่ม และ/หรือ
องคก์ าร

5) ความสามารถในการสอน (Teachability) คือ ความตั้งใจและความสามารถที่จะเรียนรู้จาก
ทกุ ๆ สถานการณ์

6) รับความเสย่ี งได้อย่างสบายใจ (Comfort with Risk) คือ ความต้ังใจและความสามารถในการ
ลองสิง่ ใหมๆ่ และสรา้ งสมดลุ ระหว่างความเส่ียง

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลกั ษณะของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง
ตามทัศนะของ Nash วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

2. ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลงตามทศั นะของ Edmondson
Edmondson (2017) ทำหน้าที่เป็น ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของการเป็นผู้นำเครือข่ายและ
ขณะที่เป็นบาทหลวงมีประวัติยาวนานในด้านธุรกิจ, การปกครองและไม่แสวงผลกำไรในการทำงาน ได้
กล่าวถึง ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลีย่ นแปลงว่า 7 ลักษณะเฉพาะของประสิทธิภาพของผู้นำการ
เปลย่ี นแปลงดังน้ี
1) ยืดหยุ่นได้ (Flexible) คือ ไม่มีการออกแบบของพวกเขา พวกเขาต้องการความก้าวหน้าโดย

ความจริงใจไปส่วู สิ ัยทศั น์ทง้ั หมด ผูน้ ำการเปล่ียนแปลงเหล่านี้ไม่เคยดื้อรั้นกับสถานการณ์ท่ีดู

25

เหมือนวา่ ไม่มีคุณค่าในการเปล่ยี นแปลงวิสยั ทัศน์ พวกเขานำทางไปสู่การแก้ไขปัญหา การให้
ผอู้ ืน่ มีวิธี "ของพวกเขา" ทุกคนเดินจากไปรู้สึกราวกับวา่ พวกเขาไดร้ บั ชัยชนะ
2) มคี วามกล้าหาญ (Courageous) คอื ผนู้ ำการเปลีย่ นแปลงจะต้องน้อมรับคำวจิ ารณ์และยังคง
เดินหน้าตอ่ ไปพวกเขารู้ว่าวิธีคัดกรองว่าอะไรคือคำวจิ ารณ์ท่ีถกู ต้อง การพิจารณาที่มีค่า และ
อะไรคือการแสดงออกอย่างชัดเจนของความสนใจส่วนบคุ คล
3) ความสัมพันธ์ (Relational) คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ดีให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของ
ผู้อื่นและทำงานหนักเพื่อให้ได้รับความไว้วางใจ พวกเขารู้ว่าการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดไม่
สามารถเกิดขึ้นได้หากไม่มีทุนมนุษย์และพวกเขาลงทุนในความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพราะ
ความสัมพนั ธเ์ ปน็ เครอื ขา่ ยทเ่ี ปน็ หน่ึงในเครื่องมือทีย่ ง่ิ ใหญ่ทีส่ ดุ ของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลง
4) กลยุทธ์ (Strategic) คอื ผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงต้องตระหนักว่ามีขนั้ ตอนในการดำเนนิ การ และ
พวกเขาต้องเลือกเวลาที่เหมาะที่สุดอย่างระมัดระวังเมื่อต้องดำเนินการ พวกเขาเกือบจะมี
ความรู้สึกหยั่งรู้อย่างหลักแหลม ถ้าพูดถึงความรู้ว่าเมื่อใดควรเหนี่ยวไก เมื่อใดควรรอ และ
เมือ่ ใดควรดึงปลกั๊ จนสุด
5) ริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative) คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ดีต้องสามารถเห็นแนวทางที่จะ
ประสบผลสำเร็จก่อนผู้อื่น มีบางคนสามารถค้นพบวิธีทำให้แนวคิดของพวกเขาทำงานได้ดี
เสมอ แตต่ อ้ งเสยี ค่าใช้จ่าย แตก่ ารเปลีย่ นแปลงเกิดขึ้นบ่อยคร้งั คนท่มี ีความคิดสร้างสรรค์จะ
ทำให้การเปลี่ยนแปลงมีประสิทธิภาพเป็นหนึ่งในรูปแบบที่ดีที่สุดของศิลปะของสาขาความ
เป็นผู้นำ นี้ต้องใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์
6) มีเจตจำนง (Intentional) คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงทำการเปลี่ยนวัตถุประสงค์เฉพาะ พวก
เขาไม่เคยเปลี่ยนแปลงเสียเปล่า พวกเรารู้ว่าทุกๆ การเปลี่ยนแปลงมีความเป็นไปได้ที่จะทำ
หรือยับยั้งทมี และพวกเขาทำงานอยา่ งขยันหม่ันเพียรเพอื่ นำไปสผู่ ลลพั ธท์ ด่ี ที สี่ ดุ
7) ความถี่ถ้วน (Thorough) คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ดีต้องปฏิบัติตามงานที่ได้รับมอบหมาย
และติดตามผลการเปลี่ยนแปลง พวกเขาจะไม่ยอมแพ้จนกว่าการประเมินผลจะสมบรู ณ์ และ
ไดเ้ รียนร้บู ทเรียนของการเปล่ียนแปลง

26

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจลกั ษณะของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง
ตามทัศนะของ Edmondson ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

3. ลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามทัศนะของ The Five Forces of Change
Website

The Five Forces of Change Website (2019) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ว่า ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่อะไรคือคุณลักษณะที่ทำให้พวกเขามีประสิทธิภาพ ใน
สาระสำคัญ มีเพียง 5 ประการ อย่างไรก็ตามไม่มีสิ่งใดที่ง่ายหรือได้มาง่ายๆ และบ่อยครั้งมักจะเสนอทีม
พวกเขามากกว่า ‘ผนู้ ำท่ีเปน็ เลศิ ’ ลักษณะ 5 ประการของผูน้ ำการเปลยี่ นแปลงทปี่ ระสบความสำเรจ็ ดงั น้ี

1) ลักษณะแรกของวัตถุประสงค์ทั้ง 5 ประการ (The first of these five characteristics
Purpose) คือการเปลี่ยนแปลง และ กระตือรือร้นในเป้าหมาย ความคิดที่ชัดเจนว่าอนาคตที่
ดกี วา่ จะเปน็ อย่างไร และความกลา้ หาญที่จะปฏิบัติผ่านรอ้ นผ่านหนาวไปดว้ ยกนั

2) อนั ดับท่ี 2 การมสี ่วนร่วม (The second is Engagement) คอื ความสามารถท่ีจะยกเลิกการ
ควบคุม ไม่กลัวที่จะรับฟังข้อคิดเห็นของคนอื่น รวมทั้งให้พวกเขามีส่วนร่วมในการกำหนด
แนวทางและดำเนินการเปลี่ยนแปลง และเพิ่มขีดความสามารถที่จะทำให้มันเกิดขึ้นสำหรับ
พวกเขา เปลยี่ นแปลงความล้มเหลว

3) อันดับที่ 3 ความก้าวหน้า (The third is Progression) คือ ความสามารถในการช่วยเหลือ
ผู้อื่นให้ละท้ิงอดีตตั้งอยู่บนหลักการของความเคารพนับถือสำหรบั ส่ิงทเี่ กดิ ขนึ้ ก่อนหน้าน้ี และ
ความรู้สึกของแต่ละการเปลี่ยนแปลง มีปรับตัวเพื่อเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสู่โลกภายนอก การ
ปรับตวั เหลา่ นี้ทำใหอ้ งค์กรยงั คงมีความสัมพนั ธก์ ันและประสบความสำเรจ็ ในระยะยาว

4) คุณลักษณะที่ 4 คือการฝึกพิเศษ (The fourth characteristic is Coaching) คือ ความรู้
คุณค่าอย่างลึกซึ้งของการฝึกอบรมและสนับสนุนบุคคล ขณะที่พวกเขาปีนไต่สู่เส้นทางแห่ง
ความรู้รวมทั้งทำให้ยอมรับในการทดลองสิง่ ใหม่ๆ และการล้มเหลว (ในระยะเวลาอันส้ัน) แต่
ไม่ยอมรับการยังคงอยู่ในอดตี และเพื่อช่วยใหบ้ ุคคลรักษาความรู้สึกของความสำเร็จ ในขณะ
ทพ่ี วกเขาต่อสู้กบั การเปลย่ี นแปลง

27

5) คุณลักษณะที่ 5 คือความแน่นอน (The fifth characteristic is Certainty) คือ ความมั่นใจ
เกี่ยวกับอนาคตและการมองโลกในแง่ดีเกี่ยวกับความสามารถของผู้คนในการปรับตัวเข้ากับ
โลกใหม่ความมั่นใจนี้จะมีค่า ถ้ามันถูกเสนอให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องผ่านความโปร่งใส เปิดเผย
ซือ่ ตรง และการสื่อสารต่อเน่ืองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทำไม อะไร และอย่างไร การส่ือสาร
นับจากช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงจนกระทั่งยาวนานหลังจาก มันได้ดำเนินการแล ะมี
ผลประโยชนเ์ กิดขน้ึ

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจลกั ษณะของผ้นู ำการเปลยี่ นแปลง
ตามทัศนะของ The Five Forces of Change Website วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

4. ลักษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงตามทัศนะของ Juneja
Juneja (2020) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า ผู้นำการเปลี่ยนแปลงทำหน้าที่
เป็นนักต่อสู้ หรือ ตัวเร่งการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลงอาจจะแสดงบทบาทสมมติของผู้ให้
คำปรึกษา ซึ่งช่วยเหลือทีมงานในการระบุกลยุทธ์ และวิธีการแก้ปัญหาเพื่อเอาชนะปัญหาขององค์กร
เปลยี่ นแปลงกระบวนการ วสิ ัยทัศน์ ภารกจิ และหลกั ปรชั ญาขององค์กร เพื่อการจัดการทม่ี ีประสิทธิภาพ
กับบทบาทที่หลากหลาย และวิธีการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้องควบคุม
คุณลักษณะพิเศษบางประการ ซึ่งจะทำให้พวกเขารู้สกึ แตกต่างจากคนอื่นๆ Havelock and Shaskin ได้
กลา่ วถึง คณุ ลักษณะสำคัญบางประการของผูน้ ำการเปลีย่ นแปลงดงั นี้
1) ความคล้ายคลึง (Homophily) ขอบเขตของความใกล้ชิด ซึ่งมีอยู่ในระหว่างผู้ตามและผู้นำ

การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงถูกคาดหวังว่าจะบรรลุผลสำเร็จ หากขอบเขตของความ
ใกล้ชดิ สูงขน้ึ ระหวา่ งพวเขา
2) การเอาใจใส่ (Empathy) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงควรที่จะเอาใจใส่และสามารถเข้าใจอารมณ์
และความคิดของคนอื่นๆ ความเข้าใจนี้จะทำให้ผู้ตามมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ
ความสัมพันธ์ของผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง จะปรับปรุงการสื่อสารซึ่งในทางกลับกันจะส่งผลดตี อ่
การเปลยี่ นแปลง

28

3) การเช่ือมตอ่ (Linkage) คือขอบเขตความสัมพันธ์เกย่ี วกบั การรว่ มมือกัน ยังคงมรี ะหว่างผู้ตาม
และผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความแข็งแกร่งกว่าคือข้อผูกมัด มีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จ
มากขึน้ จากการดำเนนิ การเปลยี่ นแปลง

4) ความใกล้ชิด (Proximity) ผู้ตามรวมทั้งผู้นำการเปลี่ยนแปลง ควรจะเข้าถึงซึ่งกันและกัน
ได้ง่าย เพราะว่าการสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น และความแข็งแกร่งกว่าจะเป็นข้อผูกมัดหรือ
ความสัมพันธร์ ะหว่างทงั้ สองฝา่ ย

5) องค์ประกอบ (Structuring) มีองค์ประกอบนี้เกี่ยวข้องกับการวางแผนกิจกรรมต่างๆ แบบ
เปน็ ขั้นเป็นตอน กับวิธีการเปลย่ี นแปลง การวางแผนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพชว่ ยเพ่มิ ความเป็นไปได้
ของความสำเร็จมากเทา่ ที่จะมากได้ในการดำเนนิ การตามกระบวนการเปลยี่ นแปลง

6) ความสามารถ (Capacity) ปัจจัยนี้จะเชื่อมต่อกับความสามารถขององค์กรในด้านการจัดการ
ทรัพยากรที่กำหนด ซึ่งเป็นปัจจัยที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการดำเนินการตามมาตรการการ
แทรกแซงเพอ่ื การพัฒนาองค์กรและการเปล่ียนแปลงใหป้ ระสบผลสำเรจ็

7) การเปิดใจกว้าง (Openness) ความสามารถของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเช่นเดยี วกับการจัดการ
ในการอำนวยความสะดวกของสภาพแวดล้อมแบบเปิด สำหรับการสร้างกลไกการอำนวย
ความสะดวกและให้กำลงั ใจซ่ึงกันและกัน ความไว้วางใจ และความเฉียบแหลม ต่อความรู้สึก
ของคนอื่นๆ การเปิดใจกว้างในระดับท่ีสูงกว่า ผู้ที่สูงกว่ามีความเป็นไปได้ทีจ่ ะบรรลุผลสำเร็จ
จากการดำเนินการเปล่ียนแปลง

8) รางวัล (Reward) การริเริ่มเปลี่ยนแปลงใดๆ ควรมีสิทธิพิเศษแก่ผู้ได้รับผลประโยชน์ทั้งใน
ระยะสั้นและระยะยาว มีศักยภาพสูง การรับรางวัลก็ยิ่งสูงขึ้น ผู้ที่สูงกว่าอาจจะมีคาดหวังใน
ข้อผูกมัดของผูเ้ ข้าร่วมในการดำเนินการเปล่ยี นแปลงตามที่กำหนด

9) พลงั งาน (Energy) ขอบเขตของความพยายามที่ประยุกต์ได้สำหรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นจริง
พลังงานเกี่ยวข้องทั้งด้านจิตใจและร่างกาย มุ่งเน้นไปในทางมารยาทเพื่อผลลัพธ์ของ
ความสำเรจ็ ในการทำงานร่วมกัน

10) การทำงานร่วมกัน (Synergy) หมายถึงการรวมของคนสองคนหรือมากกว่านั้น ผลลัพธ์ของ
การทำงานร่วมกันจะเกิดขึ้น เมื่อปัจจัยทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นถูกรวมเข้ากับบุคคล
ทรพั ยากรและกิจกรรมท่เี หมาะสม

29

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจลกั ษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง
ตามทศั นะของ Juneja ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………................................................................................................. .................

5. ลกั ษณะของผ้นู ำการเปลีย่ นแปลงตามทศั นะของ Couros
Couros (2013) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 5 ลักษณะของตัวแทนการ
เปลี่ยนแปลง (Characteristics of a Change Agent) ดังนี้
1) มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน (Clear Vision) ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้มีอำนาจ แต่

อย่างไรก็ตามต้องมีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนและสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างชัดเจน ผู้คนจะรู้สึก
หงุดหงิดถ้าพวกเขารู้สึกว่ามีใครบางคนสับสนในสิ่งที่พวกเขาเห็นว่าสำคัญจึงมีแนวโน้มที่จะ
เปลี่ยนวิสัยทัศน์บอ่ ยๆ สิ่งนี้จะสร้างความหวาดกลวั ให้กับคนอื่นๆ เพราะพวกเขาไม่แน่ใจวา่
พวกเขาอยู่บนเรือที่กำลังจงจมหรือไม่ จึงเริ่มมองหาหนทางออก สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่า
วิสยั ทัศน์ท่ีชดั เจนไม่ได้หมายความวา่ จะมีวิธีเดียวท่จี ะทำเพ่ือให้ได้มา ในความเป็นจริงคือต้อง
ใช้จุดแข็งของคนที่คุณทำงานด้วยและช่วยให้พวกเขาเห็นว่ามีหลายวิธีในการทำงานเพ่ือ
จุดประสงค์รว่ มกัน
2) มีความอดทนและยืนหยัด (Patient yet Persistent) การเปลี่ยนแปลงไม่ได้เกิดขึ้นในช่ัว
ข้ามคืนและคนส่วนใหญ่รู้ดี การที่จะมีการเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายต่อผู้คนอย่างยั่งยืนนั้น
เป็นสิง่ ที่พวกเขาจะต้องยอมรับและเหน็ ความสำคญั ในการเปล่ียนแปลงก่อน คนสว่ นใหญ่ต้อง
เคยสัมผัสประสบการณ์บางอย่างก่อนที่จะเข้าใจสิ่งนั้นจริงๆ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
มหาวิทยาลัย เมื่อพูดเช่นนั้นหลายคนอาจรู้สึกท้อแท้ที่การเปลี่ยนแปลงไม่ได้เกิดขึ้นเร็วพอ
และพวกเขามักจะผลักดันให้ผู้คนห่างไกลจากวิสัยทัศน์จากนั้นจึงเข้าใกล้มากขึ้น ความยืน
หยัดจะเกิดขึ้นเมื่อคุณช่วยให้ผู้คนเข้าใกล้วิสัยทัศน์เมื่อพวกเขาพร้อมบ่อยๆ ไม่ใช่จะยอมแพ้
หลังจากลองช่วยครั้งแรก

30

3) ถามคำถามที่ยาก (Asks Tough Question) อาจเป็นเรื่องง่ายทีใ่ ครบางคนจะเข้ามาและบอก
คุณว่าควรแก้ปัญหาอย่างไร แต่ก็เป็นวิธีแก้ปัญหาของคนอื่น เมื่อวิธีแก้ปัญหานั้นเป็นของคน
อนื่ เราจะไม่รู้สึกมคี วามรับผิดชอบใดๆ ที่จะทำให้สำเร็จ เมอื่ ผ้คู นรสู้ กึ เช่ือมโยงทางอารมณ์กับ
บางส่ิงนัน่ หมายถงึ พวกเขาจะก้าวไปข้างหน้าอย่างแทจ้ รงิ

4) มีความรู้และเป็นผู้นำโดยแสดงเป็นตัวอย่าง (Knowledgeable and Leads by Example
ผู้นำมี กับบทบาทและความน่าเชื่อถือ พวกเขาไม่เพียงถูกมองว่าเป็นคนดี แต่พวกเขายังมี
ความรู้ในสิง่ ทีพ่ วกเขากำลังพดู ถงึ หลายครง้ั ทนี่ กั การศกึ ษารสู้ กึ ว่าผู้บริหารของตน “ขาดความ
ใกล้ชิด” กับสิ่งที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและหลายครั้งที่พวกเขาคิดถูก คนที่กระตือรือร้นไม่
จำเป็นต้องเป็นแคใ่ นเรื่องการสอน แต่กระตอื รือรน้ ในการเรยี นร้แู ละทำงานรว่ มกบั ผเู้ รียนและ
สามารถแสดงเป็นตัวอย่างให้เห็นว่าการเรียนรู้มีลักษณะอย่างไรจะมีความน่าเชื่อถือมาก
ขึ้นกับผู้อื่น หากคุณต้องการสร้าง “การเปลี่ยนแปลง” คุณไม่เพียงแต่ต้องสามารถพูดให้
ชดั เจนวา่ การเปลี่ยนแปลงมลี ักษณะอย่างไร แต่ต้องแสดงให้คนอน่ื เหน็ ด้วย

5) ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นทำให้เกิดความไว้วางใจ (Strong Relationships Built on Trust)
ทั้งหมดข้างต้นไม่มีความหมายอะไรเลยถ้าคุณไม่มีความสัมพันธ์ที่มั่นคงกับคนที่คุณให้
คำแนะนำ ผู้คนจะไม่ต้องการเติบโตหากพวกเขาไม่ไว้วางใจบุคคลที่ผลักดันการเปลี่ยนแปลง
ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่เข้าถึงได้ง่ายและเชื่อถือได้มาก คุณไม่ควรกลัวที่จะเข้าหาบุคคลนั้น
เพราะเขามี "อำนาจ" และโดยปกติแล้วพวกเขาจะหาทางเพอ่ื เชื่อมต่อกับคุณ

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจลักษณะของผู้นำการเปลยี่ นแปลง
ตามทัศนะของ Couros ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

31

6. ลักษณะของผูน้ ำการเปลีย่ นแปลงตามทัศนะของ Folkman
Folkman (2020) เปน็ ผ้กู ่อตง้ั บริษัทพฒั นาผู้นำ 2 แหง่ คอื Novations และ Zenger Folkman
ในชว่ งหลายปีท่ีผ่านมา ได้พฒั นาวธิ ีการท่ีเป็นเอกลักษณ์และไดร้ ับการพสิ ูจน์แลว้ เพ่ือปรับปรุงองค์กรและ
พัฒนาพนักงานด้วยการสร้างจุดแข็ง ได้กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 5 ทักษะที่จำเป็น
สำหรบั การนำการเปลยี่ นแปลง (5 Required Skills for Leading Change) ดงั น้ี
1) ส่งเสริมนวัตกรรม (Foster Innovation) นวัตกรรมเป็นส่วนผสมลับอย่างหนึ่งที่ทำให้การ

เปลี่ยนแปลงที่ยากลำบากและดูเป็นไปไม่ได้ให้กลายเป็นเรื่องง่าย มักจะมีวิธีที่ดีกว่า แต่ก็
บอ่ ยครงั้ ทีผ่ ้นู ำร้นั ท่ีจะเดินหนา้ โดยไม่มองหาทางเลือกท่ีมีนวตั กรรมและสรา้ งสรรค์มากกว่าน้ัน
ผูน้ ำไม่จำเป็นต้องมีนวัตกรรมเปน็ การส่วนตัว มีความแตกตา่ งระหว่างการมีนวัตกรรมและการ
สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมในตัวผู้อื่น บ่อยครั้งที่ใครบางคนในองค์กรหรือเครือข่ายของคุณมี
ความคิดที่ยอดเยี่ยมซึ่งจะทำให้การเปลี่ยนแปลงง่ายขึ้นเร็วขึ้นและบาดเจ็บน้อยลง พวกเขา
ตอ้ งการการผลกั ดันและสนบั สนนุ จากคุณ
2) ลงมอื ทำอยา่ งรวดเรว็ (Act Quickly) เราคน้ พบในการวจิ ยั ของเราว่าผูน้ ำท่ีสามารถดำเนินการ
ไดอ้ ย่างรวดเร็วมปี ระสิทธิภาพในการทำให้การเปล่ยี นแปลงเกดิ ขึน้ ได้สองเทา่ พวกเราส่วนใหญ่
ระบุกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างเชื่องช้าและลังเล ซึ่งเพิ่มความยาก การต่อต้าน และความ
ลำบาก ผู้นำที่เพิ่มความเร็วของกระบวนการเปลี่ยนแปลงเท่าที่ทำได้มักจะมีประสิทธิผล
มากกว่าในระยะยาว
3) รักษามุมมองเชิงกลยุทธ์ (Maintain Strategic Perspective) เป้าหมายคืออะไร? องค์กร
ใฝ่ฝนั ทจ่ี ะเปน็ อย่างไร? การเปลย่ี นแปลงท่ีเรากำลังใคร่ครวญจะทำให้เราเข้าใกล้หรือนำเราไป
ไกลกว่าเปา้ หมายน้ันหรือไม่? การเปล่ียนแปลงโดยไม่มีกลยทุ ธ์ทชี่ ัดเจนกเ็ หมือนกับการหลงป่า
และตัดสินใจทีจ่ ะเดินใหเ้ ร็วขึ้นท้ัง ๆ ที่ไม่มีเส้นทางท่ีชดั เจนไปสูจ่ ุดหมาย บ่อยครั้งที่องค์กรจม
อยู่กับกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยลืมที่จะนำการเปลี่ยนแปลงนั้นผูกกลับเข้ากับกลยุทธ์ของ
องคก์ ร
4) พัฒนามุมมองภายนอก (Develop External Perspective ภาพรวมคืออะไร? มีแนวโน้ม
อย่างไร เกิดอะไรขึ้นในตลาดหรืออุตสาหกรรมของคุณ? ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติอย่าง
หนึ่งของการเปลย่ี นแปลงองคก์ รคือ ผูค้ นมักจะให้ความสำคัญกับส่ิงที่เกิดขน้ึ ภายในองค์กรของ
ตนและอาจลืมมองไปที่สิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ผู้คนจมอยู่กับความท้าทายภายใน รวมถึง
การเมืองและความขัดแย้ง จึงทำให้พวกเขาไม่ทันสังเกตเห็นว่าโลกกำลังเปลี่ยนแปลงรอบตัว

32

พวกเขาการจับตาดูบริบทภายนอกโดยเฉพาะลูกค้าช่วยให้ทุกคนเข้าใจว่าเหตุใดการ
เปลี่ยนแปลงจงึ จำเป็นและการเปลย่ี นแปลงสามารถสรา้ งมูลคา่ ได้อยา่ งไร
5) สร้างแรงบนั ดาลใจและกระตนุ้ (Inspire and Motivate) แรงกระตนุ้ แรกของผู้นำหลายคนคือ
การเริ่มต้นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้วยการผลักดันครั้งใหญ่ พฤติกรรมการผลักดันคือ
พฤติกรรมที่มุ่งเน้นไปที่กำหนดเวลา ไทม์ไลน์ ความรับผิดชอบ ทิศทาง การส่งมอบ และคำสั่ง
ซื้อ การผลกั ดันมปี ระโยชน์เพราะมนั บังคับให้ทุกคนก้าวไปข้างหนา้ โดยไม่มีทางเลือกอ่ืน ความ
พยายามในการเปลี่ยนแปลงสว่ นใหญ่เร่ิมต้นดว้ ยการผลักดนั ครัง้ ใหญ่ แต่การผลักดันทำให้การ
เปลี่ยนแปลงเปน็ ความยากลำบากโดยไมม่ ีทางเลือกอื่น เม่ือผู้นำรวมการผลักดนั ขับเคลอื่ นเพื่อ
ผลลพั ธ์ และดึงแรงบนั ดาลใจและแรงจูงใจ ผลลพั ธ์จะดีกว่ามาก

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจลักษณะของผ้นู ำการเปลย่ี นแปลง
ตามทศั นะของ Folkman ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………................................................................................................ ..................

7. ลกั ษณะของผ้นู ำการเปลย่ี นแปลงตามทศั นะของ Hicks
Hicks (2020) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงวา่ 6 ทักษะท่จี ำเป็นสำหรบั การจัดการ
การเปลี่ยนแปลงทปี่ ระสบความสำเร็จ (Essential Skills for Successful Change Management) ดงั น้ี
1) การสื่อสาร (Communication) ทักษะการสื่อสารท่ีมปี ระสิทธิภาพเปน็ สิ่งสำคัญในทกุ จดุ ของ

โครงการเปลย่ี นแปลง เม่อื อย่ใู นขั้นตอนของการกำหนดกลยุทธ์ การสื่อสารเป็นกุญแจสำคัญใน
การชี้แจงว่าคุณตอ้ งการให้การเปลี่ยนแปลงบรรลุผลอย่างไร ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อม
เป็นวิธีที่คุณเอาชนะการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงได้โดยการแจ้งให้ บุคลากรทราบถึงสาเหตุท่ี
จำเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลงได้โดยการโน้มน้าวใจและให้การสนับสนุนที่จำเป็นในการทำงาน
ในส่วนของพวกเขา และในขั้นตอนการดำเนินการการเข้าตรวจสอบเป็นประจำเพื่อรวบรวม
ข้อเสนอแนะและเพื่อทำให้แน่ใจว่าบุคลากรกำลังดำเนินการเปลี่ยนแปลงตามแผนคือวิธีทีค่ ณุ
รักษาใหง้ านเป็นไปตามครรลอง

33

2) การฟงั ทกี่ ระตือรือร้น (Active Listening) การสื่อสารทีด่ ีเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นท้ังสองทาง
เพื่อให้แผนการจัดการการเปลี่ยนแปลงบรรลุผลตามที่ตั้งใจไว้คุณต้องทุ่มเทเวลาให้กับการรับ
ฟังบุคลากรมากพอๆ กับการให้ข้อมูลอัปเดตแก่พวกเขา ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีทักษะจะ
เรียนรู้ที่จะขอความคิดเห็นจากผู้คนในทุกระดับของโครงการอย่างกระตือรือร้นจากนั้นจึงนำ
ความคิดเห็นนัน้ ไปใชต้ อ่ ไป

3) การวจิ ยั (Research) หากคุณไม่มีประสบการณโ์ ดยตรงกับการจัดการการเปลย่ี นแปลง ทักษะ
การวิจัยที่แข็งแกร่งจะช่วยให้คุณเรียนรู้จากความรู้และประสบการณ์ของผู้อื่น ศึกษาวิธีการ
จัดการการเปลี่ยนแปลงที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเพื่อพิจารณาว่าควรนำแนวคิดใดไปใช้กับ
โครงการเปลี่ยนแปลงของคุณ มองหากรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องในโครงการที่คล้ายคลึงกันเพ่ือ
เรยี นรู้แนวทางปฏบิ ตั ิทด่ี ีทส่ี ุดจากผลลัพธ์ในอดตี ที่เกิดขนึ้ จริง

4) การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) เป็นทักษะที่ช่วยให้คุณสามารถแปลความต้องการ
และเป้าหมายทั่วไปให้เป็นแผนงานที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ซึ่งรวมถึง
การสร้างรายการขั้นตอนเฉพาะที่ต้องดำเนินการ กำหนดว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละ
ขั้นตอน และจัดทำไทม์ไลน์ที่เป็นไปตามความจริงสำหรับการออกกฎทั้งหมด การมีแนวคิดทีด่ ี
คือการเริ่มต้น ความสามารถในการเปลี่ยนความคิดเหล่านั้นให้เป็นจริงต้องใช้ความคิดเชิง
กลยทุ ธ์

5) ความเป็นผู้นำ (Leadership) ทักษะการเป็นผู้นำ ส่วนหนึ่งคือการรู้ว่าต้องวางใครเป็น
ผู้รับผิดชอบในส่วนไหนของกระบวนการจัดการการเปลี่ยนแปลงและต้องแน่ใจได้ว่าพวกเขา
พร้อมที่จะทำให้บทบาทของตนประสบความสำเร็จ นอกจากนี้คุณยังต้องเรียนรู้วิธีกระตุ้นให้
ทีมของคุณใส่ใจเก่ยี วกับการเปล่ียนแปลง

6) การวัดและการวิเคราะห์ (Measurement and Analysis) ความสามารถในการระบตุ ัวชี้วัดผล
การดำเนินงาน ที่วัดความสำเร็จของโครงการตามเป้าหมาย ส่วนโครงการเปลี่ยนแปลงท่ี
ล้มเหลวสว่ นมากคอื การวัดผล

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจลักษณะของผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง
ตามทัศนะของ Hicks ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

34

8. ลกั ษณะของผูน้ ำการเปล่ียนแปลงตามทัศนะของ Gorman
Gorman (2019) กลา่ วถึงลกั ษณะของผู้นำการเปล่ยี นแปลงวา่ ทกั ษะและความคิดของผู้นำการ
เปลี่ยนแปลง (The Skills and Mindsets of a Change Leader) ในบล็อกเดือนมิถุนายน 2019 ASQ
(American Society for Quality) ได้ถามคำถามว่าบุคคลจะกลายเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ประสบ
ความสำเร็จได้อย่างไร? คำตอบของ Robert Mitchell ชี้ให้เห็นชุดทักษะที่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้องการ
ดงั นี้
1) การสื่อสาร (Communication) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต้องสามารถสื่อสารเคส

ทน่ี า่ เปลีย่ นแปลงและคำกระต้นุ ใหเ้ กดิ การตัดสินใจท่ชี ดั เจนท่ัวทั้งองคก์ รท้ังแบบ: ข้นึ ลง และ
ตลอดท่วั ทงั้ องค์กร
2) การอำนวยความสะดวก (Facilitation) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลแสดงให้เห็นถึง
การอำนวยความสะดวก อิทธิพล และทักษะการทำงานร่วมกันที่แข็งแกร่งซึ่งจำเป็นต่อการ
สร้างการสนบั สนุน ขจดั อุปสรรค และลดการต่อต้านการเปลยี่ นแปลง
3) การบริหารโครงการ (Project Management) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผลต้อง
สามารถควบคุมทรัพยากรและความสามารถที่จำเป็นเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลง ปรับตัวเข้า
กับความท้าทาย และทำให้โครงการเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามกำหนดเวลาและอยู่ใน
งบประมาณ
4) ล้มเหลวเร็วและเรียนรู้ (Fail Fast and Learn) หากเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ การ
ตัดสินใจที่สำคัญจะอาจมีข้อมูลไม่เพียงพอและการตัดสินใจบางอย่างอาจผิดพลาด จง
ตดั สินใจดำเนนิ การ เรยี นรจู้ ากความผิดพลาด และเดนิ หน้าตอ่ ไป
5) มุ่งเน้น มุง่ เน้น และมุ่งเน้น (Focus, Focus, Focus) หากการเปล่ยี นแปลงตอ้ งการความสนใจ
ของผู้นำอย่างแท้จรงิ การให้ความสนใจนั้นจำเป็นจะต้องมีระยะยาวไมใ่ ช่แค่ตอนแรกและการ
เข้าตรวจเป็นคร้ังคราว
6) ตำแหน่งของเป้าหมายสามารถเคลื่อนย้ายได้ (Goal Posts Can Move) การเปลี่ยนแปลงใน
อดีตถูกกำหนดให้มีสถานะตอนท้ายที่ตายตัวและมันเริ่มเปลี่ยนไปแล้ว การเปลี่ยนแปลงคร้ัง
ใหญ่อาจใช้เวลาหลายปีกว่าจะบรรลุผล ในช่วงเวลานั้นสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีใหม่ๆ ฯลฯ อาจส่งผลต่อความตั้งใจเริ่มต้นว่ายังคงถูกต้องอยู่
หรอื ไมแ่ ละต้องปรบั เคร่ืองมือสำหรบั การวัดผลสำเรจ็ หรือไม่

35

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเข้าใจลกั ษณะของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง
ตามทศั นะของ Gorman ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

9. ลักษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงตามทศั นะของ Bond
Bond (2016) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า ทักษะที่สำคัญของผู้นำการ
เปลย่ี นแปลง The Essential Skills of a Change Leader) ดงั นี้
1) วิสัยทัศน์ (Vision) ความสามารถที่สำคัญที่สุดของผู้นำการเปลี่ยนแปลงอาจจะเป็นการ

มองเห็นอนาคตที่องค์กรกำลังดำเนินไปในระดับที่สูงขึ้น การระบุว่าองค์กรจะดำเนินงานท่ี
แตกต่างจากเดมิ อยา่ งไรและจะไปถงึ จุดนั้นไดอ้ ย่างไรเปน็ ทักษะสำคัญสำหรับผ้นู ำ
2) การสร้างแนวร่วม (Coalition Building) แม้ว่าเราจะเน้นความสำคัญของผู้นำการ
เปลี่ยนแปลง แต่พวกเขาก็ไม่สามารถขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตัวเองอย่างแน่นอน
จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้นำการเปลีย่ นแปลงจะต้องหาแนวร่วมที่มีความเชี่ยวชาญ มีการติดต่อและ
ประสบการณ์ เพื่อดำเนินงานให้สำเรจ็
3) ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) ทักษะการสื่อสารที่ยอดเยี่ยมจะมีความสำคัญ
ตลอดกระบวนการสำหรับผู้นำการเปลี่ยนแปลง ประการแรกต้องเผยแพร่วิสัยทัศน์ทั่วท้ัง
องค์กร การอธิบายเหตุผลของกลยุทธ์และผลลัพธ์สุดท้ายมักจะสร้างการสนับสนุน อย่างไรก็
ตามการโน้มน้าวใจคนบางคนอาจต้องใช้ความพยายามมากเป็นพิเศษ แม้ว่าการได้รับการ
สนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงจะเป็นเรื่องสำคัญ แต่การมีแรงสนับสนุนจากทั่วทั้งองค์กรกม็ ี
ความสำคัญเท่าเทียมกันสำหรับความสำเร็จในระยะยาวจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้นำการ
เปลยี่ นแปลงที่จะคอยย้ำเตอื นทกุ คนถึงวิสยั ทัศนแ์ ละความก้าวหน้าของงานผา่ นกลยุทธ์
4) ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal Skills) ผู้นำต้องเป็นผู้ฟังและผู้มอบหมาย
งานที่ดีเพื่อที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงให้ประสบความสำเร็จมากที่สุด สิ่งเหล่านี้เป็น
คณุ ลักษณะของผนู้ ำท่วั ไป แตม่ คี วามสำคัญอย่างยิง่ ในกลยุทธ์การเปลย่ี นแปลง

36

5) แรงจูงใจ (Motivation) แรงจูงใจที่มีตลอดกระบวนการนั้นเป็นกุญแจสำคัญ บ่อยครั้งที่การ
สนับสนุนด้านกลยทุ ธอ์ าจลดน้อยลงเนื่องจากกำหนดเวลางานถูกเล่ือนแล้วเล่ือนอีกหรือความ
ตื่นเต้นแรกเร่ิมนั้นหายไป ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มปี ระสทิ ธผิ ลจะยังคงคอยเตือนพนักงานให้
ตระหนักถงึ วิสัยทัศน์และกระตุ้นใหพ้ วกเขาทำงานต่อไป

6) ภาพรวม (Big Picture) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงควรมี ภาพรวม ของสิ่งที่พยายามจะกระทำ
เพื่อให้ประสบผลสำเร็จตลอดกระบวนการ สิ่งนี้ทำให้งานทั้งหมดเกิดความสอดคล้องกับ
วตั ถปุ ระสงคโ์ ดยรวมและเป็นแรงจงู ใจให้บคุ ลากร

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจลกั ษณะของผู้นำการเปลีย่ นแปลง
ตามทศั นะของ Bond วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

10. ลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลงตามทศั นะของ Ready
Ready (2016) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 4 สิ่งที่ผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่
ประสบความสำเรจ็ ทำได้ดี (Things Successful Change Leaders Do Well) ดังนี้
1) ตระหนักถึงความตึงเครียดและความขัดแย้งที่ฝังอยู่ (Recognize Embedded Tensions

and Paradoxes) ผู้นำการเปลี่ยนแปลงท่ีชาญฉลาด มีความสามารถ และแข็งแกร่งส่วนใหญ่
มักจะทำหน้าที่ได้ดีจนกว่าพวกเขาจะไปถึงระดับหนึ่งในองค์กรที่พวกเขาต้องเผชิญกับความ
ตึงเครียดและความขัดแย้งท่ีฝังอยู่ซ่ึงทำให้การเปน็ ผู้นำมีความซบั ซ้อนข้ึน ความขัดแย้งท่ผี ู้นำ
ต้องเผชิญมากที่สุดเมื่อผลักดันความพยายามในการเปลี่ยนแปลงคือ การฟื้นฟูกับการทำให้
เป็นปกติ โลกาภิวัตน์กับการทำให้เข้าใจง่าย นวัตกรรมกับกฎระเบียบ การเพิ่มประสิทธิภาพ
กับการหาเหตผุ ล และการเพิ่มประสิทธภิ าพกบั การหาเหตผุ ล
2) ให้ทุกคนรับผิดชอบ (Hold Everyone Accountable) ความเป็นผู้นำของความพยายามใน
การเปลี่ยนแปลงไม่สามารถสำเรจ็ ได้ด้วยทีมระดับสูง ผู้จัดการ 100 อันดับแรก หรือผู้จัดการ
1,000 อันดับแรก บุคลากรจะต้องมีการร่วมด้วยช่วยกันท้ังหมด ผู้นำการเปลี่ยนแปลงต้องสง่
สัญญาณว่าการเปลี่ยนแปลงขององค์กรจะเป็นความพยายามร่วมกันโดยมีการกระจายความ
รับผดิ ชอบไปทัว่ ทัง้ องคก์ ร

37

3) ลงทุนในความสามารถใหม่ๆ ขององค์กร (Invest in New Organizational Capabilities)
ผู้นำการเปลย่ี นแปลงตอ้ งก้าวใหไ้ กลกวา่ การเล่าเร่ือง การสรา้ งแรงจูงใจ และความพยายามใน
การระดมกำลัง พวกเขาจำเป็นต้องจัดหาทรัพยากรเพื่อให้องค์กรมีสิ่งที่ต้องการเพื่อให้
ประสบผลสำเร็จในสภาพแวดล้อมใหม่นี้ ซึ่งอาจรวมถึงการปรับปรุงเงินทุน การปรับปรุง
กระบวนการ และการสร้างความสามารถใหมๆ่

4) เน้นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Emphasize Continuous Learning) การพูดคุยเกี่ยวกับการ
ฟื้นฟูและการกลับสู่สภาพเดิมนั้นง่ายกว่าการปฏิบัติจริง องค์กรที่ประสบความสำเร็จต้องมี
ผ้นู ำการเปลีย่ นแปลงทม่ี งุ่ มนั่ ในกระบวนการเรยี นรูอ้ ยา่ งไมห่ ยดุ ยัง้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจลักษณะของผ้นู ำการเปลยี่ นแปลง
ตามทัศนะของ Ready ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

11. ลักษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงตามทศั นะของ Daskal
Daskal (2019) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 4 สิ่งนี้จึงจะประสบความสำเร็จ
(A Change Leader Must Do these 4 Things to be Successful) ดงั นี้
1) องค์ประกอบของความเชื่อมัน่ (The Element of Confidence) ผู้นำที่มคี วามม่ันใจจะม่ันใจ

ในวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ และความมั่นใจในตนเองนี้ จะทำให้พวกเขานำความมั่นใจในการ
ดำเนินการเปล่ยี นแปลง หากปราศจากความมั่นใจผ้คู นจะไม่เพยี งแตส่ งสัยในผู้นำของพวกเขา
เทา่ นัน้ แต่พวกเขายงั สงสยั ในตวั เองด้วย
2) องค์ประกอบของความชัดเจน The Element of Clarity) ผู้นำที่ดีที่สุดต้องใช้ความพยายาม
อย่างมากในการอธิบายเหตุผลเบื้องหลังการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่ผู้ที่เป็นผู้ตามสามารถ
เข้าใจได้
3) องคป์ ระกอบของการส่ือสาร (The Element of Communication) การสือ่ สารเป็นสิ่งสำคัญ
เมื่อคุณต้องการดำเนินการเปลี่ยนแปลง จะไม่มีคำว่าสื่อสารมากเกินไปเมื่อคุณขอให้บุคคล
หรือองค์กรของคุณเปลี่ยนแปลง ผู้นำที่ประสบความสำเร็จทุกคนที่นำความพยายามในการ

38

จดั การการเปลยี่ นแปลงทป่ี ระสบความสำเรจ็ แสดงออกถึงความจำเปน็ ในการส่ือสารมากๆ ใน
ระหวา่ งการเปลี่ยนแปลง
4) องค์ประกอบของความสอดคล้อง (The Element of Consistency) เมื่อพูดถึงการประสบ
ความสำเร็จในการจัดการการเปลี่ยนแปลงผู้นำจะต้องรอบคอบอย่างยิ่งกับผู้ที่เป็นผู้ตามและ
สร้างความม่ันใจให้กับคนของพวกเขาวา่ ในช่วงเวลาแหง่ การเปลยี่ นแปลงส่ิงที่พวกเขาได้ฟังมา
จะเริ่มเป็นรปู เป็นร่าง องคป์ ระกอบของความสอดคล้อง คอื พฤตกิ รรมที่ได้รับการยอมรับและ
ตราขึน้ โดยผ้นู ำในบริบทของการเปล่ียนแปลง

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจลกั ษณะของผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง
ตามทัศนะของ Daskal วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

12. ลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามทัศนะของ Michigan State University
Website

Michigan State University Website (2019) กล่าวถึงลกั ษณะของผู้นำการเปลีย่ นแปลงวา่
คุณสมบตั ขิ องผู้นำการเปลีย่ นแปลงที่มปี ระสทิ ธิผล (Qualities of Effective Change Agents) ดังนี้

1) ความยืดหยุ่น (Flexibility) ผู้นำต้องใช้สัญชาตญาณแห่งความคิดสร้างสรรค์เพื่อค้นหาวิธีท่ี
ไมใ่ ช่แบบเดิม ๆ เพอ่ื ให้ธุรกิจในการเติบโตและใช้ประโยชน์จากโอกาส ซง่ึ รวมถึงการเชื่อมต่อ
กับผู้คนในรุ่นและภูมิหลังที่แตกต่างกันเพื่อให้เข้าใจมุมมองประสบการณ์ และบุคลิกที่ลึกซ้ึง
ยิง่ ขนึ้

2) ความรู้ที่หลากหลาย (Diversified Knowledge) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จไม่ติดอยู่ใน
ขอบเขตของเฉพาะในบริบทองค์กรของตน การพิจารณาถงึ ส่งิ ทีเ่ กิดข้นึ ในภาคส่วนอื่นๆ และดู
ว่าสิ่งใดใช้ได้ผลและใช้ได้กับบริบทของตนเองผู้นำจะได้รับข้อมูลเชิงลึกที่มีค่าและมองเห็น
โอกาสใหม่ๆ ในการเตบิ โต

3) ลำดับความสำคัญและมุ่งเน้นผลลัพธ์ (Priority and Results Focus) การสร้างการ
เปลี่ยนแปลงมักจะเป็นประโยชน์ในการผูกการจัดลำดับความสำคัญ เป็นการต่อสู้ที่ต้องชนะ
ซึ่งจะกำหนดว่าเราจะสำเร็จหรือล้มเหลว และมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงประสิทธิภาพของ

39

องค์กร การทำเชน่ น้จี ะชว่ ยเพิม่ ความคล่องตวั ในการตัดสนิ ใจและสร้างภาพทีช่ ัดเจนว่าองค์กร
กำลังวัดผลตามความคาดหวังอยา่ งไร
4) ความเป็นเจ้าของและความรับผิดชอบ (Ownership and Responsibility) ผู้คนเคารพใน
ความกลา้ หาญและความรับผิดชอบ เพือ่ ให้เป็นผนู้ ำอย่างมีประสิทธิผล ผูบ้ ริหารและผู้จัดการ
จำเป็นต้องรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานสุดท้ายของทีม พวกเขาอาจต้องตัดสินใจที่ขัดกับ
ความคิดเห็นที่ไม่เห็นด้วยและอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งได้ แต่การทำเช่นนั้นด้วยความ
เชอ่ื ม่ันและพร้อมท่ีจะจดั การกับผลท่ีตามมาในทา้ ยทส่ี ุดจะแสดงให้เห็นวา่ ความตั้งใจของพวก
เขาได้รับแรงจูงใจจากผลประโยชน์สูงสุดขององค์กร จากนั้นจึงได้รับความไว้วางใจจาก
บคุ ลากรของพวกเขา
5) ทักษะการฟังที่มีประสิทธิภาพ (Effective Listening Skill) ผู้ที่รับฟังผู้อื่นจะพัฒนา
ความสัมพันธก์ บั ผูค้ นใหแ้ นน่ แฟน้ ยิ่งข้นึ โดยได้รับความไวว้ างใจจากพวกเขา

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจลักษณะของผู้นำการเปล่ียนแปลง
ตามทัศนะของ Michigan State University Website วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

13. ลักษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลงตามทศั นะของ Root
Root (2020) กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลงว่า 5 ประการที่จำเป็นสำหรับผู้นำที่มี
ประสิทธิผลเพื่ออำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงในองค์กร (The Five Top Qualities Needed
for an Effective Leader to Facilitate Change in an Organization) ดงั น้ี
1) โน้มน้าวใจ (Persuasive) ผู้นำที่มีความสามารถในการโน้มน้าวใจจะช่วยอำนวยความสะดวก

ในการเปลย่ี นแปลง ผูน้ ำที่ดีสามารถนำข้อมลู ท่ีได้รับมาทำในรูปแบบท่ีทำให้การเปล่ียนแปลง
นั้นดูเป็นที่ยอมรับ จากนั้นโน้มน้าวให้พนักงานเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงทีก่ ำลังจะเกิดขึ้นนั้นดี
ตอ่ องค์กร

40

2) ละเอียด (Thorough) เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรต้องมีการสำรวจผลลัพธ์ที่เป็นไปได้
ทั้งหมด ผู้นำที่ดีจะใช้เวลาในการถามคำถามให้ได้มากที่สุดและใช้แนวคิดการเปลี่ยนแปลง
ผ่านทุกสถานการณ์ทั้งที่เลวร้ายและดีที่สุดที่อาจเกิดขึ้น คำถามประการหนึ่งที่ผู้นำจะพบใน
ระหวา่ งการเปลยี่ นแปลง คือผลของการเปลีย่ นแปลงถูกนำมาพจิ ารณาหรือไม่ ด้วยการสำรวจ
ทุกมุมทเี่ ปน็ ไปไดผ้ นู้ ำสามารถแจง้ ผลการการทดสอบได้

3) ความมั่นใจ (Confidence) คำถามมาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง บุคลากรอาจตั้งคำถามถึง
ความสามารถของผ้จู ดั การและอาจมคี ำถามวา่ การเปลี่ยนแปลงจะสง่ ผลต่ออนาคตขององค์กร
อย่างไร ผู้นำที่ดีสามารถบรรเทาความสงสัยเหล่านั้นได้โดยการรักษาความมั่นใจตลอด
กระบวนการเปลยี่ นแปลง

4) การสื่อสาร (Communication) การเปลี่ยนแปลงอาจทำให้บุคลากรหลายคนเกิดความกังวล
ผู้นำที่ปิดกั้นตัวเองอยู่แต่ในสำนักงานขณะที่มีการดำเนินการเปลี่ยนแปลงกำลังส่งข้อความที่
ไมถ่ ูกต้องไปยังท้ังองค์กร การสื่อสารกอ่ น ระหวา่ ง และหลัง กระบวนการเปล่ยี นแปลงเป็นสิ่ง
สำคญั เพ่อื ใหแ้ น่ใจวา่ การเปลี่ยนแปลงจะหยุดชะงกั นอ้ ยท่สี ดุ

5) ความแน่วแน่ (Unwavering) เพื่อให้สอดคล้องกับคุณสมบัติด้านความมั่นใจ ผู้นำที่ดีต้องยึด
มั่นในแนวทางแห่งการเปลี่ยนแปลงและทำให้สำเร็จตามแผนที่วางไว้ การเปลี่ยนแปลง
บางอย่างอาจต้องปล่อยให้บุคลากรทำเองหรืออาจเปลี่ยนแปลงหน้าที่การงานท่ีบุคลากรบาง
คนไม่ชอบ แต่ถ้าผู้นำมีความมั่นใจว่าการเปล่ียนแปลงนั้นเป็นไปเพื่อผลดีขององค์กร เขาก็
จะตอ้ งไม่หว่ันไหวในการดำเนินการเปลย่ี นแปลงเหลา่ นนั้

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลง
ตามทศั นะของ Root ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………....……….
………………..................................................................................................................

41

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเขา้ ใจลักษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ตามทศั นะของ Nash ชัดเจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Nash กล่าวถึง
ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง วา่ อยา่ งไร?
2) ท่านเข้าใจลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Edmondson ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Edmondson
กลา่ วถึงลักษณะของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง ว่าอย่างไร?
3) ท่านเข้าใจลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ The Five Forces of Change
Website ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า The Five
Forces of Change Website กล่าวถงึ ลักษณะของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ว่าอย่างไร?
4) ท่านเขา้ ใจลกั ษณะของผู้นำการเปลีย่ นแปลง ตามทศั นะของ Juneja ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี ครั้ง แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Juneja กล่าวถึง
ลักษณะของผู้นำการเปล่ยี นแปลง วา่ อยา่ งไร?
5) ทา่ นเขา้ ใจลักษณะของผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Couros ชดั เจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดพี อ โปรดกลับไปศกึ ษาใหมอ่ ีกคร้ัง แล้วตอบคำถามในใจวา่ Couros กลา่ วถงึ
ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลีย่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?
6) ทา่ นเขา้ ใจลกั ษณะของผู้นำการเปลยี่ นแปลง ตามทัศนะของ Folkman ชัดเจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Folkman
กล่าวถึงลักษณะของผู้นำการเปลีย่ นแปลง ว่าอย่างไร?
7) ท่านเข้าใจลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Hicks ชัดเจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ

42

หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Hicks กล่าวถึง
ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง วา่ อยา่ งไร?
8) ทา่ นเขา้ ใจลักษณะของผนู้ ำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Gorman ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Gorman
กลา่ วถึงลักษณะของผู้นำการเปล่ยี นแปลง ว่าอยา่ งไร?
9) ท่านเขา้ ใจลกั ษณะของผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง ตามทศั นะของ Bond ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Bond กล่าวถึง
ลักษณะของผ้นู ำการเปลย่ี นแปลง ว่าอย่างไร?
10) ท่านเขา้ ใจลักษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ Ready ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อกี คร้ัง แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Ready กล่าวถึง
ลักษณะของผนู้ ำการเปล่ียนแปลง ว่าอยา่ งไร?
11) ท่านเขา้ ใจลักษณะของผู้นำการเปล่ยี นแปลง ตามทศั นะของ Daskal ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศกึ ษาใหม่อีกคร้ัง แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Daskal กล่าวถึง
ลักษณะของผูน้ ำการเปลยี่ นแปลง วา่ อย่างไร?
12) ท่านเข้าใจลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Michigan State University
Website ชัดเจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศกึ ษาใหมอ่ กี คร้งั แล้วตอบคำถามในใจวา่ Michigan State
University Website กลา่ วถงึ ลกั ษณะของผู้นำการเปลยี่ นแปลง วา่ อยา่ งไร?
13) ท่านเข้าใจลกั ษณะของผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Root ชัดเจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Root กล่าวถึง
ลกั ษณะของผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง วา่ อย่างไร?

43

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี

1) Nash, M: https://www.linkageinc.com/leadership-insights/6-characteristics-of-a-
change-capable-leader/

2) Edmondson, R: https://ronedmondson.com/
3) The Five Forces of Change Website: www.5forcesofchange.com/2019/01/29/the-5-

characteristics-of-successful-change-leaders/
4) Juneja, P: https://www.managementstudyguide.com/characteristics-of-successful-

change-agents.htm
5) Couros, G: https://connectedprincipals.com/archives/7184
6) Folkman, J: https://www.forbes.com/sites/joefolkman/2020/01/16/5-required-skills-

for-leading-change/?sh=6e865fe96a16
7) Hicks, K: https://www.zendesk.com/blog/skills-change-management/
8) Gorman, B: https://www.changemanagementreview.com/the-skills-and-mindsets-of-

a-change-leader/
9) Bond, D: https://www.accipio.com/eleadership/mod/wiki/view.php?id=1709
10) Ready, D.A: https://hbr.org/2016/01/4-things-successful-change-leaders-do-well
11) Daskal, L: https://www.lollydaskal.com/leadership/a-change-leader-must-do-these-

4-things-to-be-successful-2/
12) Michigan State University Website:

https://www.michiganstateuniversityonline.com/resources/leadership/qualities-of-
effective-change-agents/
13) Root, G. N: https://smallbusiness.chron.com/five-top-qualities-needed-effective-
leader-facilitate-change-organization-5.html

44

เอกสารอา้ งอิง
Nash, M. (2014). 6 Characteristics of a “change capable” leader. Retrieved August 25, 2020,

from https://rb.gy/t1kuxp
Edmondson, R. (2017). 7 Characteristics of effective change agent leaders. Retrieved August

25, 2020, from https://rb.gy/ugtalr
The 5 Forces of Change Website. (2019). The 5 Characteristics of successful change leaders.

Retrieved August 25, 2020, from https://rb.gy/wbbbip
Juneja, P. (2020). Characteristics and capabilities of successful change agents. Retrieved

August 25, 2020, from https://rb.gy/hekvgv
Couros, G. (2013). 5 Characteristics of a change agent. Retrieved August 25, 2020, from

https://rb.gy/x8pjrh
Folkman, J. ( 2020) . 5 Required skills for leading change. Retrieved August 25, 2020, from

https://rb.gy/bktprz
Hicks, K. (2020). 6 Essential skills for successful change management. Retrieved August 25,

2020, from https://rb.gy/nefxxt
Gorman, B. (2019). The Skills and mindsets of a change leader. Retrieved August 25, 2020,

from https://rb.gy/cbewia
Bond, D. (2016). The Essential skills of a change leader. Retrieved August 25, 2020, from

https://rb.gy/9farik
Ready, D.A. (2016). 4 Things successful change leaders do well. Retrieved August 25, 2020,

from https://rb.gy/kyag2n
Daskal, L. (2019). A Change leader must do these 4 things to be successful. Retrieved

August 25, 2020, from https://rb.gy/qilcn1
Michigan State University Website. (2019). Qualities of effective change agents.

Retrieved August 25, 2020, from https://rb.gy/oue0w7
Root, G. N. (2020). The five top qualities needed for an effective leader to facilitate change

in an organization. Retrieved August 25, 2020, from https://rb.gy/pfwjyk

45

46

คู่มอื ชุดที่ 4
ทศั นะเกี่ยวกับแนวทางการพฒั นาผู้นำการเปล่ยี นแปลง

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็น
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin
S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเปน็ 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมทีส่ ลับซับซ้อนน้อยไป
หามาก หรือจากทกั ษะการคิดข้นั ต่ำกวา่ ไปหาทักษะการคิดขัน้ สูงกว่า ดงั นี้ คอื ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1) บอกคุณสมบตั ิ จับคู่ เขยี นลำดบั อธบิ าย บรรยาย ขีดเสน้ ใต้ จำแนก หรือระบุแนวทางการ
พฒั นาผู้นำการเปล่ียนแปลงได้

2) แปลความหมาย อธบิ าย ขยายความ สรุปความ ยกตวั อย่าง บอกความแตกต่าง หรือเรยี บเรียง
แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลย่ี นแปลงได้

3) แกป้ ัญหา สาธติ ทำนาย เช่อื มโยง ความสัมพนั ธ์ เปลยี่ นแปลง คำนวณ หรอื ปรบั ปรุงแนว
ทางการพัฒนาผู้นำการเปลีย่ นแปลงได้

4) แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรอื บอกเหตผุ ลแนวทางการพัฒนาผู้นำ
การเปล่ยี นแปลงได้

5) วัดผล เปรยี บเทยี บ ตีคา่ ลงความเหน็ วิจารณ์แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงได้
6) รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สร้าง ประดษิ ฐ์ หรือวางหลักการแนวทางการพฒั นาผนู้ ำการ

เปล่ียนแปลงได้
หลังจากการศึกษาทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในคู่มือชุดนี้แล้ว ท่าน
สามารถอธิบายไดถ้ ึงแนวทางการพัฒนาผนู้ ำการเปล่ียนแปลง จากทัศนะทนี่ ำมากลา่ วถงึ แต่ละทศั นะ ดังน้ี
1) แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปล่ียนแปลง ตามทัศนะของ Saint Mary’s University of

Minnesota Website
2) แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลยี่ นแปลง ตามทศั นะของ Skool Bag Website
3) แนวทางการพฒั นาผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทศั นะของ Paterson

47

4) แนวทางการพฒั นาผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทัศนะของ School of Education, American
University Website

5) แนวทางการพฒั นาผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง ตามทัศนะของ Center for Creative leadership
6) แนวทางการพัฒนาผูน้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Fulton
7) แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตามทศั นะของ Eastwood
8) แนวทางการพัฒนาผนู้ ำการเปลี่ยนแปลง ตามทศั นะของ Barton
9) แนวทางการพัฒนาผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Gunn
10) แนวทางการพัฒนาผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง ตามทัศนะของ Bruce
11) แนวทางการพฒั นาผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Llopis
12) แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลย่ี นแปลง ตามทศั นะของ Dimock & McGree

คำชแ้ี จง
1) โปรดศึกษาเนอ้ื หาเกย่ี วกับแนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทศั นะที่นำมากล่าวถึง
แต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กล่าวถงึ แนวทางการพฒั นาผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงวา่ อยา่ งไร
2) หลังจากการศึกษาเนอื้ หาแต่ละทศั นะแล้ว โปรดทบทวนความรคู้ วามเขา้ ใจของทา่ นอกี คร้ังจาก
แบบประเมินผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ ือ
3) เนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการ
ศึกษารายละเอียดของทัศนะเหล่านั้น ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถจะ
สืบคน้ ตอ่ ได้จากเวบ็ ไซตท์ ร่ี ะบไุ วใ้ นแหล่งอ้างองิ น้นั ๆ

ทัศนะเก่ยี วกบั แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลีย่ นแปลง
1. แนวทางการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามทัศนะของ Saint Mary’s University
of Minnesota Website

Saint Mary’s University of Minnesota Website (2020) กล่าวถึงแนวทางการพัฒนา
ผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงว่า 7 วิธีสำหรับผนู้ ำทางการศึกษาท่จี ะทำให้มอี ิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงเชิงบวกใน
ห้องเรยี น (7 Ways For Educational Leaders To Influence Positive Change In The Classroom)
ดงั น้ี


Click to View FlipBook Version