The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

R2R โชติกา ปรับแก้ไข 5_01_2024_โชวี่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Al Jo, 2024-01-09 21:49:14

R2R โชติกา ปรับแก้ไข 5_01_2024_โชวี่

R2R โชติกา ปรับแก้ไข 5_01_2024_โชวี่

42 ตารางที่ 4-1 ผลสรุปข้อมูลจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 6 หลักสูตร (ต่อ) 7. ด้านรูปแบบเล่มคู่มืองานทะเบียนและวัดผล 7.1 ลักษณะของรูปเล่ม - พกพาได้สะดวก - ขนาดตัวหนังสือชัดเจน - มีสีสันดึงดูด 7.2 การเรียบเรียงข้อมูล เนื้อหาในเล่ม - นำเสนอเนื้อหาที่กระชับ ชัดเจน - สามารถจดจำและเข้าใจง่าย - สรุปข้อมูลได้ชัดเจน 7.3 คำแนะนำเพิ่มเติมการทำ เล่มคู่มือ - มีให้ดาวน์โหลดในเว็บไซต์คณะฯ ได้ - จัดทำเป็นรูปเล่ม - มีข้อมูลที่จำเป็นครบถ้วน - เน้นส่วนที่สำคัญ จากตารางที่ 4-1 ในการสำรวจข้อมูลปัญหาในการให้บริการทางด้านงานทะเบียนและ วัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยใช้วิธีการสำรวจ จากแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยพิจารณาประเด็นหลัก (Major Themes) ที่พบในข้อมูล ที่ได้รับจากการแบบสอบถามทั้งหมด จากนั้นจึงนำประเด็นหลัก (Major Themes) มาวิเคราะห์ มาสรุปผล และนำข้อมูลไปใช้ในการออกแบบและพัฒนาคู่มืองานทะเบียนและวัดผล ในกระบวนการต่อไป สามารถสรุปเป็นประเด็นต่าง ๆ ได้ดังนี้ 4.1.1 ข้อมูลปัญหาในการลงทะเบียนเรียน 1) ไม่ทราบข้อมูลเรื่องการใช้งานระบบลงทะเบียน 2) ไม่ลงทะเบียนตามช่วงเวลาที่กำหนดในปฏิทินการศึกษา 3) ลงทะเบียนไม่ได้ตามกลุ่มที่ต้องการ 4) กดลงทะเบียนเพิ่มรายวิชาไม่ได้ ระบบแจ้งว่าไม่มีการสำรองที่นั่ง 4.1.2 ข้อมูลปัญหาในการเพิ่ม – ถอน รายวิชา 1) แต่ละวิชามีแยกเป็นทฤษฎีและปฏิบัติ ทำให้บางครั้งนักศึกษาเกิด ความสับสน จึงลงทะเบียนเรียนไม่ครบ 2) ไม่ดำเนินการตามช่วงเวลาที่กำหนดในปฏิทินการศึกษา 3) ขาดความเข้าใจเรื่องคำศัพท์สำหรับการลงทะเบียนเรียน


43 4.1.3 ข้อมูลปัญหาในการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 1) ไม่ทราบช่วงเวลาในการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 2) ไม่เข้าใจสถานะการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 3) ระดับผลการเรียนที่มีผลต่อการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 4) ไม่ทราบการใช้แบบฟอร์มใดเพื่อดำเนินการ 4.1.4 ข้อมูลปัญหาในการลาพักการศึกษา 1) ไม่ได้จ่ายค่าลงทะเบียนเรียนตามเวลาที่กำหนด 2) ไม่ทราบถึงกระบวนการยื่นคำร้อง 3) ไม่ทราบข้อมูลชัดเจนเรื่องการลาพักการศึกษา 4.1.5 ข้อมูลปัญหาในการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา 1) ไม่เข้าใจสถานะการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา 2) ไม่ทราบการใช้แบบฟอร์มใดเพื่อดำเนินการ 3) ไม่ทราบช่วงเวลาในขอการคืนสภาพการเป็นนักศึกษา 4.1.6 ข้อมูลปัญหาในการแจ้งสำเร็จการศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต 1) ไม่ได้แจ้งสำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยฯ กำหนด 2) ไม่ทราบถึงวิธีการแจ้งสำเร็จการศึกษา 3) ไม่ทราบช่วงเวลาการแจ้งสำเร็จการศึกษา 4.1.7 ข้อมูลคำแนะนำเพิ่มเติมงานด้านทะเบียนทั้งหมด 1) จัดทำคู่มือเพื่อการลงทะเบียนเรียน 2) ประชาสัมพันธ์ติดตามแจ้งกำหนดการต่าง ๆ 4.1.8 ข้อมูลคำแนะนำเพิ่มเติมทำเล่มคู่มือ 1) มีให้ดาวน์โหลดได้ 2) จัดทำเป็นรูปเล่ม 3) มีข้อมูลที่จำเป็นครบถ้วน 4) เน้นส่วนที่สำคัญ


44 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความพึงพอใจหลังใช้คู่มืองานทะเบียนและ วัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา ตารางที่ 4-2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านข้อมูลทั่วไปด้านเพศ เพศ จำนวน (หน่วย : คน) ร้อยละ ชาย 15 50 หญิง 15 50 รวม 30 100 จากตารางที่ 4-2 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ของผู้ตอบ แบบสอบถาม พบว่า เพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศชาย จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รวมจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 30 คน ตารางที่ 4-3 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านข้อมูลทั่วไปด้านอายุ ช่วงอายุ จำนวน (หน่วย : คน) ร้อยละ 20-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 50 ปีขึ้นไป 4 16 8 2 13 54 27 6 รวม 30 100 จากตารางที่ 4-3 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลช่วงอายุของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 30 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31- 40 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 54 รองลงมา อายุระหว่าง 41 -50 ปี จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 27 อายุระหว่าง 20 - 30 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13 อายุระหว่าง 50 ปี ขึ้นไป จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6 ตามลำดับ


45 ตารางที่ 4-4 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านตำแหน่ง ตำแหน่ง จำนวน (หน่วย : คน) ร้อยละ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ 20 10 0 67 33 0 รวม 30 100 จากตารางที่ 4-4 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลตำแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า มีผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีตำแหน่งเป็นอาจารย์ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 67 รองลงมา ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ตามลำดับ ตารางที่ 4-5 การเข้ารับบริการงานด้านทะเบียนและวัดผล การเข้ารับบริการ จำนวน (หน่วย : คน) ร้อยละ เคย ไม่เคย 30 0 100 0 รวม 30 100 จากตารางที่ 4-5 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลการเข้ารับบริการงานด้านทะเบียนและวัดผลของ ผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการเข้ารับบริการงานด้านทะเบียนและ วัดผล จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100


46 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความพึงพอใจหลังใช้คู่มืองานทะเบียน และวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ต่อ) ตารางที่ 4-5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความพึงพอใจหลังใช้คู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รายละเอียดหัวข้อการประเมิน ระดับความพึงพอใจ แปลผล ค่าเฉลี่ย (̅) ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน (S.D.) 1. ด้านเนื้อหา 1.1 มีการจัดเรียงเนื้อหาตามขั้นตอน 3.6 71.3 0.9 พอใจมาก 1.2 มีเนื้อหาที่ตรงต่อความต้องการ 3.7 74.7 0.9 พอใจมาก 1.3 มีเนื้อหาครบถ้วนครอบคลุม 3.4 68.0 0.8 พอใจปานกลาง 1.4 มีตัวอย่างประกอบชัดเจน 4.1 81.3 0.8 กลาง พอใจมาก 1.5 อ่านเข้าใจง่าย 3.7 74.0 0.8 พอใจมาก 2. ด้านรูปเล่มคู่มือ 2.1 ความครบถ้วนเพียงพอของเนื้อหา คู่มือ 3.2 64.7 0.8 พอใจปานกลาง 2.2 ขั้นตอนของเนื้อหามีความต่อเนื่อง ชัดเจน 3.3 66.7 0.9 พอใจปานกลาง 2.3 เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจง่าย 4.1 81.3 0.8 พอใจมาก


47 ตารางที่ 4-5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความพึงพอใจหลังใช้คู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ต่อ) รายละเอียดหัวข้อการประเมิน ระดับความพึงพอใจ แปลผล ค่าเฉลี่ย (̅) ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน (S.D.) 3. ด้านประโยชน์และการนำไปใช้ 3.1 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการลงทะเบียนเรียน 3.6 72.0 0.8 พอใจมาก 3.2 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการเพิ่ม–ถอนรายวิชา 3.9 77.3 0.9 พอใจมาก 3.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการรักษาสภาพการเป็น นักศึกษา 3.7 74.7 1.0 พอใจมาก นักศึกษา 3.4 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการลาพักการศึกษา 3.4 68.7 1.0 พอใจปาน กลาง 3.5 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการขอคืนสภาพการเป็น 3.4 67.3 0.8 พอใจปาน กลาง นักศึกษา 3.6 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการแจ้งสำเร็จการศึกษาและ การขึ้นทะเบียนบัณฑิต 3.4 68 0.9 พอใจปาน กลาง 3.7 คู่มือสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน การใช้งานได้จริง 4.4 79.3 0.7 พอใจมาก จากตารางที่ 4-5 เมื่อทำการวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง พบว่าข้อมูลจากการประเมินผล ความพึงพอใจหลังใช้คู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดังนี้ ด้านเนื้อหา มีตัวอย่างประกอบชัดเจนอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 81.3 มีเนื้อหาที่ตรง ต่อความต้องการอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ74.7 อ่านเข้าใจง่ายอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 74 การจัดเรียงเนื้อหาตามขั้นตอนอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 71.31 มีเนื้อหาครบถ้วน ครอบคลุม อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 68.0 ตามลำดับ


48 ด้านรูปเล่มคู่มือ เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจง่ายอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 81.3 ขั้นตอน ของเนื้อหามีความต่อเนื่องชัดเจน อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 66.7 ความครบถ้วน เพียงพอของเนื้อหาในคู่มือ อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ64.7 ตามลำดับ ด้านประโยชน์ และการนำไปใช้ คู่มือสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการใช้งานได้จริง อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อย ละ 79.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการเพิ่ม–ถอนรายวิชา อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 77.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา อยู่ใน เกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 74.7 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการลงทะเบียนเรียน อยู่ใน เกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 72 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการลาพักการศึกษา อยู่ใน เกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 68.7 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการแจ้งสำเร็จ การศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 68 หลังจากได้อ่าน คู่มือแล้วมีความเข้าใจในการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 67.3


49 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย จากผลการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง สามารถสรุปผลการวิจัย การพัฒนาคู่มืองานทะเบียน และวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พบว่าผู้เข้าร่วม ทำแบบสอบถามเป็นเพศหญิง จำนวน 15 คน และ เพศชาย จำนวน 15 คน เท่ากัน (ร้อยละ 50) โดยที่อายุ 31-40 ปี มีจำนวนมากที่สุด (ร้อยละ 54) มีสถานภาพเป็นตำแหน่งอาจารย์มากที่สุด (ร้อยละ 67) และทุกคนเคยเข้ารับบริการงานด้านทะเบียนและวัดผลทั้งหมด ( ร้อยละ 100) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความพึงพอใจ หลังใช้คู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีการสรุปผล ดังนี้ 1) ด้านเนื้อหา พบว่า มีตัวอย่างประกอบชัดเจน อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก (ร้อยละ 81.3) มีเนื้อหาที่ตรงต่อความต้องการอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก (ร้อยละ74.7) อ่านเข้าใจง่ายอยู่ในเกณฑ์ พอใจมาก (ร้อยละ 74) การจัดเรียงเนื้อหาตามขั้นตอนอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ (71.31) มีเนื้อหาครบถ้วนครอบคลุมอยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง (ร้อยละ 68.0) ตามลำดับ 2) ด้านรูปเล่มคู่มือ เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจง่าย อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 81.3 ขั้นตอนของเนื้อหามีความต่อเนื่องชัดเจนอยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 66.7 ความครบถ้วน เพียงพอของเนื้อหาในคู่มือ อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 64.7 ตามลำดับ 3) ด้านประโยชน์และการนำไปใช้ คู่มือสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการใช้งานได้จริง อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 79.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการเพิ่ม –ถอน รายวิชา อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 77.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการรักษา สภาพการเป็นนักศึกษา อยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 74.7 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการลงทะเบียนเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 72 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความ เข้าใจในการลาพักการศึกษา อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 68.7 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้ว มีความเข้าใจในการแจ้งสำเร็จการศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต อยู่ในเกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 68 3.5 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา อยู่ใน เกณฑ์พอใจปานกลาง ร้อยละ 67.3 ดังนั้น การวิจัยการพัฒนาคู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และการเก็บข้อมูลความความต้องการที่ถูกต้อง สามารถ ช่วยให้ได้เล่มคู่มืองานทะเบียนที่มีประสิทธิภาพ ในการตอบสนองความต้องการของอาจารย์ และนักศึกษา ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีขึ้นในด้านการลงทะเบียนเรียน การเพิ่ม–ถอน


50 รายวิชา การรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา การลาพักการศึกษา การขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา การแจ้งสำเร็จการศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต 5.2 อภิปรายผลการศึกษา การอภิปรายการวิจัยการพัฒนาคู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสาร มวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผู้วิจัยอภิปรายผลในประเด็นที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านเนื้อหา พบว่า มีตัวอย่างประกอบชัดเจนอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก (ร้อยละ 81.3) ซึ่งสอดคล้องกับ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535) ที่อธิบายว่า มีวิธีการนำเสนอบริการ ในกระบวนการเป็นส่วนที่สำคัญในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และประสิทธิภาพการ จัดระบบการบริการ ส่งผลให้การปฏิบัติงานบริการแก่ลูกค้ามีความคล่องตัว และสนองต่อความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ 2. ด้านรูปเล่มคู่มือ เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจง่ายอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 81.3 สอดคล้องกับ (ภัทรกร เฟื่องฟู, 2548) ให้ความหมายว่า คู่มือ คือ หนังสือหรือเอกสารแนะนำ ที่จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ใช้ได้ศึกษา ทำความเข้าใจ และปฏิบัติกิจกรรมตามได้อย่างง่าย และมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานและบรรลุผลสำเร็จได้ตามที่กำหนดไว้มากที่สุด 3) ด้านประโยชน์และการนำไปใช้ โดยที่คู่มือสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการใช้งาน ได้จริงอยู่ในเกณฑ์พอใจมาก ร้อยละ 79.3 สอดคล้องกับ (พิศูจน์ มีไปล่, 2549) ให้ความหมายว่า หนังสือที่จัดทำขึ้น โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงานกิจกรรมการวัดผล โดยผู้เขียน ที่มีประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ นำมาจัดทำให้อ่านง่าย และสะดวกต่อผู้ศึกษาหรือผู้นำไปใช้จัด กิจกรรมได้ด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถนำไปใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด 5.3 ข้อจำกัด / ปัญหา 5.3.1 ข้อมูลงานบริการด้านงานทะเบียนและวัดผลมีจำนวนมาก ทำให้เกิดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เป็นจำนวนมาก จึงต้องคิดเป็นอย่างระบบในการดึงส่วนที่สำคัญมาเป็นคู่มือ 5.3.2 ข้อจำกัดและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในงานทะเบียนและวัดผล สามารถสรุปได้ ดังนี้


51 1) ข้อจำกัดทางทรัพยากร : จำเป็นต้องพิจารณาปัญหาทางทรัพยากรที่จำกัด เช่น งบประมาณ, บุคลากร, เวลา, และอุปกรณ์ เพื่อให้มีคำแนะนำและการช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพ ที่สุดในเงื่อนไขที่มีข้อจำกัดนี้ 2) ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการงานด้านทะเบียนและวัดผล : ซึ่ง ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการอาจแตกต่างกัน อาจมีบางคนคาดหวังผลลัพธ์ที่สูง กว่าความสามารถของบุคลากร ทำให้เกิดความไม่เข้าใจกันได้ 3) การปรับตัวเข้ากับผู้รับบริการ : อาจมีความจำเป็นที่จะต้องปรับวิธีการทำงาน ด้านความเข้าใจในงานทะเบียนและวัดผล เพื่อให้เข้ากับความต้องการและพฤติกรรมของ ผู้รับบริการที่เปลี่ยนแปลงได้ 4) ความสามารถในสมรรถนะของบุคลากร: ความสามารถของบุคลากรในการ ให้บริการอาจมีความแตกต่างกัน บางครั้งอาจเกิดปัญหาในการให้คำแนะนำและบริการ 5.4 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 5.4.1 การปรับปรุงเนื้อหาคู่มือ : พัฒนาเนื้อหาคู่มือเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการและ ความคาดหวังของผู้รับบริการ พิจารณาจากข้อมูลที่มาขอรับการช่วยเหลือ 5.4.2 การปรับเปลี่ยนและปรับปรุงงานทะเบียนและวัดผล : รับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ เพื่อให้ตรงกับความต้องการที่มีตลอดเวลา 5.4.3 การปรับปรุงเนื้อหาคู่มืออย่างต่อเนื่อง : การพัฒนาคู่มือ ควรมีความต่อเนื่องเพื่อให้ ผู้รับบริการได้รับประโยชน์แบบต่อเนื่อง การทำคู่มือให้สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจ ของผู้รับบริการ 5.4.4 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์: สร้างการประชาสัมพันธ์คู่มือที่เข้าถึงผู้รับบริการอย่าง เหมาะสม ทั้งออนไลน์และออฟไลน์


52 บรรณานุกรม กนกวรรณ ศิรินิมิตรกุล. (2553). การพัฒนาคู่มือการควบคุมคุณภาพสินค้าบริษัท เจเนซิสแอส โซซิเอท จำกัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กีรติกานต์ ศิริสุรวัฒน์. (2553). การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของ บุคลากร. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (วิจัยและประเมินผลการศึกษา). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เกศินี จุฑาวิจิตร. (2540). การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์. คณะนิเทศศาสตร์. คณะกรรมการจัดทำแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษา. (2542). แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (ออนไลน์), เข้าถึงได้จาก: http://www.ptcn. ac.th, สืบค้นวันที่ 11 พฤษภาคม 2566. คัมภีร์ สุดแท้. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จินตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จิราพร กําจัดทุกข์. (2552). ความพึงพอใจหลังการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียมในเขต กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชูศรี วงศ์รัตนะ.(2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 13 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม) กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณิชาภา เจริญรุ่งเรืองชัย. (2547). คู่มือการบริหารงานโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน ดอนฉิมพลีพิทยาคม. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ ธีรกิติ นวรัตน์ ณ อยุธยา. (2547). การตลาดสำหรับการบริการแนวคิดและกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นงลักษณ์ สุทธิวัฒนพันธ์. (2545). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ PR Strategies. กรุงเทพฯ: อัลฟ่าพับลิชชิ่ง. นพคุณ ดิลกภากรณ์. (2546) การประเมินผลการบริการประชาชน : ศึกษาเฉพาะเทศบาล ตำบลแหลมฟ้าผ่า จังหวัดสมุทรปราการ. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.กรุงเทพฯ.


53 บรรณานุกรม (ต่อ) นิสรีน อัศวะวิวัฒน์กุล. (2556). การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานทะเบียนและประมวลผล วิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการ เชียงใหม่. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ศษ.ม (การบริหาร การศึกษา). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. บุญรอด ลาภะสัมปันโน.(2537). 30 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ขอนแก่น :มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปรมะ สตะเวทิน. (2546). หลักนิเทศศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพมหานคร: บริษัทอักษร เจริญทัศน์ อจท.จำกัด. พิเศษ ปั้นรัตน์. (2556). เอกสารการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง หลักและวิธีการจัดทำคู่มือ ปฏิบัติงาน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิศูจน์ มีไปล่. (2549). คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสตอรี่ไลน์สำหรับครูในโรงเรียน อำเภอสวน ผึ้ง จังหวัดราชบุรี. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2524). หลักและวิธีการสอนระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ภัทรกร เฟื่องฟู. (2548). คู่มือการปฏิบัติงานการรับงานการค้าสำหรับครู. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2535). เอกสารการสอนชุดวิชาองค์การและการจัดการงาน บุคคล. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. และกระบวนการ ให้บริการของกรุงเทพมหานคร: ศึกษากรณีสำนักงานเขตกทม. วรนารถ แสงมณี . (2547). การบริหารทรัพยากรมนุษย์/งานบุคคล . (พิมพ์ครั้งที 3) . กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัด ประสิทธิแอนด์พริ้นติ้ง. วรรณวิมล จงจรวยสกุล. (2551). ความพึงพอใจในการบริการของงานทะเบียนและวัดผล. นนทบุรี : วิทยาลัยราชพฤกษ์. วราภรณ์ บวรศิริ. (2541). พัฒนาการด้านการศึกษาไทยในสมัยรัชกาลที่ 9 : การอุดมศึกษา ช่วงปีพุทธศักราช 2489-2539. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:กรุงเทพฯ. วันชัย แก้วศิริโกมล. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารทั่วไปใวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2549). พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม : มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อ การออกแบบและวางแผน (ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


54 บรรณานุกรม (ต่อ) วิยะดา ธนสรรวนิช. (2558). การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน. วิทยานิพนธ์กศ.ม. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สมบัตร บารมี. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท มหพันธ์ไฟเบอร์ซีเมนต์ จํากัด (มหาชน). รายงานการวิจัยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิต. สังวาล ศิริ. (2551). การพัฒนาระบบงานประมวลผล กองทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สาระ ปัทมพงศา (2551). การพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนวัดกาญจนาราม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1. สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2557). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีจาก http://www.opcd.go.th, สืบค้นวันที่ 11 พฤษภาคม 2566. สำนักงานนโยบายและแผน กรุงเทพมหานคร. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบ และกระบวนการให้บริการของกรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีสำนักงานเขต รายงาน ฉบับสมบูรณ์.กรุงเทพฯ. สิริกร ประสบสุข. (2555). การพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ภาษาอังกฤษสำหรับครู ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สุรัสวดี จินดาเนตร. (2553). การพัฒนาคู่มือการสอนโครงงานคณิตศาสตร์สำหรับครู ในช่วง ชั้นที่ 4 โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่:เชียงใหม่. สุวัฒน์ วัฒนวงศ์. (2538). จิตวิทยาการเรียนรู้วัยผู้ใหญ่. โอเดียนสโตร์.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. เสถียร คามีศักดิ์. (2553). การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน. สืบค้นจาก http://medinfo.psu.ac.th. แสงรุนีย์ มีพร. (2552). การวิจัยและพัฒนาคู่มือการจัดการความรู้ เพื่อการบริหารจัดการ หลักสูตรสถานศึกษา. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Kolter, Phillip. (2000). Marketing Management. The Millennium Edition. New Jersey: Prentice Hall, Inc.


55 ภาคผนวก ก หนังสือแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตรวจข้อคำถาม


56 ภาพที่ 1: หนังสือขอเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ สอนเขียว)


57 ภาพที่ 2: หนังสือขอเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ (รองศาสตราจารย์ ดร.กุลกนิษฐ์ ทองเงา)


58 ภาพที่ 3: หนังสือขอเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย บุตรแก้ว)


59 ภาคผนวก ข แบบสอบถามประเมินผลความพึงพอใจ


60 แบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจในการใช้งานคู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คำชี้แจง 1. วัตถุประสงค์ของแบบสอบถามฉบับนี้เพื่อสำรวจความพึงพอใจในการใช้งานคู่มืองาน ทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2. แบบประเมินฉบับนี้แบ่งออกเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการใช้งานคู่มืองานทะเบียนและวัดผล ผู้วิจัยจะนำผลการประเมินฉบับนี้ไปพัฒนาคู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยี สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี . ผู้วิจัยขอขอบคุณท่านที่กรุณาตอบแบบสอบถาม ผู้วิจัย


61 แบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจในการใช้งานคู่มืองานทะเบียนและวัดผล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย ลงในช่อง ให้ตรงกับความเป็นจริง 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ 20-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 50 ปีขึ้นไป 3. ตำแหน่ง อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ 5. การเข้ารับบริการงานด้านทะเบียนและวัดผล เคย ไม่เคย ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการใช้งานคู่มืองานทะเบียนและวัดผล


62 คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย ลงในช่อง โดยใช้เกณฑ์ดังนี้ ระดับ 5 = มากที่สุด หรือดีมาก ระดับ 4 = มากหรือดี ระดับ 3 = ปานกลางหรือพอใช้ ระดับ 2 = น้อยหรือต่ำกว่ามาตรฐาน ระดับ 1 = น้อยที่สุด หรือต้องปรับปรุงแก้ไข รายละเอียดหัวข้อการประเมิน ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 1.ด้านเนื้อหา 1.1 มีการจัดเรียงเนื้อหาตามขั้นตอน 1.2 มีเนื้อหาที่ตรงต่อความต้องการ 1.3 มีเนื้อหาครบถ้วนครอบคลุม 1.4 มีตัวอย่างประกอบชัดเจน 1.5 อ่านเข้าใจง่าย 2.ด้านรูปเล่มคู่มือ 2.1 ความครบถ้วนเพียงพอของเนื้อหาในคู่มือ 2.2 ขั้นตอนของเนื้อหามีความต่อเนื่องชัดเจน 2.3 เนื้อหาอ่านแล้วเข้าใจง่าย 3.ด้านประโยชน์และการนำไปใช้ 3.1 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการลงทะเบียนเรียน 3.2 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการเพิ่ม–ถอนรายวิชา 3.3 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการรักษาสภาพการเป็น นักศึกษา 3.4 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการลาพักการศึกษา 3.5 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการขอคืนสภาพการเป็น นักศึกษา 3.6 หลังจากได้อ่านคู่มือแล้วมีความเข้าใจในการแจ้งสำเร็จการศึกษา และการขึ้นทะเบียนบัณฑิต 3.7 คู่มือสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการใช้งานได้จริง


63 ภาคผนวก ค เล่มคู่มือ


64 ภาพที่ 4 : หน้าปกคู่มืองานทะเบียนนักศึกษาฯ ภาพที่ 5 : รายละเอียดการลงทะเบียน


65 ภาพที่ 6 : ขั้นตอนการลงทะเบียน ภาพที่ 7 : ข้อสังเกตเพิ่มเติมในการลงทะเบียน


66 ภาพที่ 8 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (1) ภาพที่ 9 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (2)


67 ภาพที่ 10 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (3) ภาพที่ 11 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (4)


68 ภาพที่ 12 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (5) ภาพที่ 13 : การเข้า website ในการลงทะเบียน (6)


69 ภาพที่ 14 : ข้อพึงระวังในการลงทะเบียน ภาพที่ 15 : การเพิ่ม-ถอนรายวิชา


70 ภาพที่ 16 : การลงทะเบียนเพิ่มรายวิชานอกแผนการเรียน ภาพที่ 17 : การถอนรายวิชา ได้ค่าระดับคะแนน W


71 ภาพที่ 18 : ตัวอย่างคำร้องเพิ่ม-ถอนรายวิชา ภาพที่ 19 : การเข้า website ในการเพิ่ม-ถอนรายวิชา (1)


72 ภาพที่ 20 : การเข้า website ในการเพิ่ม-ถอนรายวิชา (2) ภาพที่ 21 : การเข้า website ในการเพิ่ม-ถอนรายวิชา (3)


73 ภาพที่ 22 : การรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ภาพที่ 23 : ขั้นตอนการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา (1)


74 ภาพที่ 24 : ขั้นตอนการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา (2) ภาพที่ 25 : ขั้นตอนการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา (3)


75 ภาพที่ 26 : ขั้นตอนการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา (4) ภาพที่ 27 : ตัวอย่างคำร้องและหลักฐานการชำระเงินการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา


76 ภาพที่ 28 : การลาพักการศึกษา ภาพที่ 29 : รายละเอียดการลาพักการศึกษา


77 ภาพที่ 30 : ขั้นตอนและตัวอย่างการลาพักการศึกษา (1) ภาพที่ 30 : ขั้นตอนและตัวอย่างการลาพักการศึกษา (2)


78 ภาพที่ 31 : ขั้นตอนและตัวอย่างการลาพักการศึกษา (3) ภาพที่ 32 : ขั้นตอนและตัวอย่างการลาพักการศึกษา (4)


79 ภาพที่ 33 : ตัวอย่างคำร้องและหลักฐานการชำระเงินการลาพักการศึกษา ภาพที่ 34 : การขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา


80 ภาพที่ 35 : ขั้นตอนและตัวอย่างการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา (1) ภาพที่ 36 : ขั้นตอนและตัวอย่างการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา (2)


81 ภาพที่ 36 : ขั้นตอนและตัวอย่างการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา (3) ภาพที่ 37 : ขั้นตอนและตัวอย่างการขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา (4)


82 ภาพที่ 38 : การแจ้งสำเร็จการศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต (1) ภาพที่ 39 : การแจ้งสำเร็จการศึกษาและการขึ้นทะเบียนบัณฑิต (2)


83 ภาพที่ 40 : คุณสมบัติของนักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสำเร็จการศึกษา ภาพที่ 41 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (1)


84 ภาพที่ 42 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (2) ภาพที่ 43 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (3)


85 ภาพที่ 44 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (4) ภาพที่ 45 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (5)


86 ภาพที่ 46 : ขั้นตอนการขอสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต (6) ภาพที่ 47 : ตัวอย่างการแจ้งสำเร็จการศึกษา และขึ้นทะเบียนบัณฑิต


87 ภาพที่ 48 : ตัวอย่างหลักฐานการชำระเงิน การขอสำเร็จการศึกษาและขึ้นทะเบียนบัณฑิต


88 ภาคผนวก ง ประวัติผู้วิจัย


89 ประวัติผู้วิจัย ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ-สกุล นางสาวโชติกา อรุณลักษณ์ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สังกัดหน่วยงาน ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน ที่อยู่ปัจจุบัน 153/4 หมู่ 9 ต.คูคต อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 เบอร์โทร. 08-25492-941 อีเมล์ [email protected] ทักษะความชำนาญเฉพาะด้าน งานทะเบียนและวัดผล โปรแกรม Microsoft office ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2543 ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอก รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประสบการณ์ทำงาน ปี พ.ศ. ชื่อหน่วยงาน ตำแหน่ง 2552 - ปัจจุบัน คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


Click to View FlipBook Version