The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้ด้านกฎหมายการเงินการคลัง เดือนพฤศจิกายน 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cgd.klang.sakon, 2023-12-14 01:35:25

องค์ความรู้ด้านกฎหมายการเงินการคลัง เดือนพฤศจิกายน 2566

องค์ความรู้ด้านกฎหมายการเงินการคลัง เดือนพฤศจิกายน 2566

องค์ความรู้ ด้านกฎหมาย การเงินการคลัง ประจำ เดือนพฤศจิกายน 2566


สรุปคำ ถาม - คำ ตอบ 1) การจัดซื้อจัดจ้าง (พัสดุ) 2) การเบิกเงิน - การจ่ายเงิน 3) ค่าตอบแทน ค่าสวัสดิการ และอื่นๆ 2


การจัดซื้อจัดจ้าง (พัสดุ) 1. ในกรณีที่หน่วยงานซื้อสินค้ากับร้านค้าบุคคล ธรรมดา ไม่ได้มีการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม ในการทำ สัญญาซื้อขาย จะต้องยึดตามที่ระบบคำ นวณให้ (ระบบ e-GP คิด VAT 7%) หรือไม่ต้องถอดภาษี มูลค่าเพิ่ม หากผู้ค้าไม่ได้มีการจดภาษีมูลค่าเพิ่ม หน่วยงานไม่ต้องแยกภาษีมูลค่าเพิ่มออก จากมูลค่าสินค้า/บริการ ดังนั้น ให้บันทึก ข้อมูลสินค้า/บริการเต็มจำ นวน 3


2. หน่วยงานต้องการจัดทำ โครงการในระบบ e-GP โดยเบิกจ่ายเงินผ่านระบบ GFMIS แต่หน่วยงานยังไม่ ทราบรหัสงบประมาณและแหล่งของเงิน สามารถ ดำ เนินการแก้ไขอย่างไร หน่วยงานสามารถแก้ไขรหัสงบประมาณและแหล่งของเงินได้ 3 กรณี ดังนี้ 1. กรณีโครงการอยู่ระหว่างประกาศเชิญชวนให้ไปเปลี่ยนแปลงรหัสงบประมาณในขั้นตอนเพิ่มโครงการ > คลิกปุ่ม “ข้อมูลงบประมาณโครงการ” > ข้อมูลงบประมาณ > คลิกแว่นขยาย เพื่อระบุรหัสงบประมาณและ แหล่งของเงิน > ค้นหา > เลือกรหัสที่ต้องการ > ยืนยันข้อมูลงบประมาณ > บันทึก [แก้ไขชั้นที่ 1 แก้ข้างนอก] > บริหารสัญญา > ข้อมูลงบประมาณ โครงการ > ข้อมูลงบประมาณ > คลิกแว่นขยาย เพื่อระบุรหัสงบ ประมาณและแหล่งของเงินใหม่ที่ต้องการ > ค้นหา > เลือกรหัสที่ ต้องการ > ยืนยันข้อมูลงบประมาณ > บันทึก [แก้ไขชั้นที่ 2 แก้ข้างใน] > รายละเอียด > ข้อมูลงบประมาณ > เลือก รายการส่งมอบ > คลิก เครื่องหมาย √ สีฟ้า > ล้างข้อมูล และเลือกรหัส งบประมาณใหม่ > ระบุ “จำ นวนเงิน” > บันทึก 2. กรณีอยู่ในขั้นตอนจัดทำ ร่างสัญญา สามารถเปลี่ยนแปลงรหัสงบประมาณได้ที่ขั้นตอนจัดทำ ร่างสัญญา ซึ่งในขั้นตอนจัดทำ ร่างสัญญาต้องไม่มีการบันทึกข้อมูล > ไปที่ขั้นตอนจัดทำ ร่างสัญญา > ข้อมูลงบประมาณ โครงการ > ข้อมูลงบประมาณ > คลิกแว่นขยาย เพื่อระบุรหัสงบประมาณและแหล่งของเงินใหม่ที่ต้องการ > ค้นหา > เลือกรหัสที่ต้องการ > ยืนยันข้อมูลงบประมาณ > บันทึก 3. กรณีอยู่ในขั้นตอนบริหารสัญญา สามารถเปลี่ยนแปลงรหัสงบประมาณได้ที่ขั้นตอนบริหารสัญญา 4


3. หน่วยงาน 2 หน่วยงาน มีการจ้างเหมาก่อสร้างพื้นที่ ส่วนกลางร่วมกัน โดยหน่วยงานแรกเป็นผู้ดำ เนินการ เรื่องขั้นตอนด้านพัสดุ หน่วยงานแรกสามารถแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานที่สองร่วมในการเป็นคณะกรรมการพิจารณา ผลสอบราคา และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ได้หรือไม่ ได้ หากเจ้าหน้าที่เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณสมบัติตามที่ระเบียบพัสดุฯ กำ หนด ที่มา : ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 26 4. หน่วยงานจ้างบริการบริษัททัวร์ และเจ้าของโครงการยืมเงิน ทดรองจ่ายเพื่อชำ ระเงินมัดจำ จากประเด็นดังกล่าวหน่วยงาน สามารถทำ ได้หรือไม่ สามารถทำ ได้ หากมีการกำ หนดเงื่อนไขในสัญญาหรือใบสั่งซื้อ/จ้างว่าต้องมีการ ชำ ระเงินค่ามัดจำ ที่มา : ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 89 5


5. ใบสั่งซื้อสั่งจ้างต้องติดอากรแสตมป์หรือไม่ และใคร ต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการติดอากรแสตมป์ระหว่าง หน่วยงานกับผู้รับจ้าง 1. กรณีการจัดจ้างต้องติดอากรแสตมป์ โดยยอดจัดจ้าง 1,000 บาทต่อ อากรแสตมป์ 1 บาท (ส่วนการจัดซื้อไม่ต้องติด) และจากตัวอย่างที่ขอ หารือมา เป็นการจัดจ้างที่มีวงเงินเกิน 200,000 บาท กรมสรรพากร กำ หนดไว้ไม่ต้องติดอากรแสตมป์ แต่ให้ผู้รับจ้างชำ ระอากรแสตมป์เป็น ตัวเงินแทน 2. ผู้รับจ้างเป็นผู้ที่รับผิดชอบต้องเสียอากร และยื่นแบบขอเสียอากร ที่มา : 1. บัญชีอัตราอากรแสตมป์ ข้อที่ 4 การจ้างทำ ของ ของบทบัญญัติแห่ง ประมวลรัษฎากร หมวด 6 อากรแสตมป์ 2. ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับอากรแสตมป์ (ฉบับที่ 54) เรื่อง กำ หนดวิธีการชำ ระอากรเป็นตัวเงินแทนการปิดอากรแสตมป์อากรสำ หรับตราสาร บางลักษณะ ข้อ 2 6


6. กรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องการแจ้งเหตุผลเพิ่มเติมให้กับผู้ยื่นข้อ เสนอทุกรายทราบเกี่ยวกับผลการประกาศผู้ชนะการเสนอราคา หน่วยงานต้องดำ เนินการอย่างไร ให้หน่วยงานของรัฐดาวน์โหลดแบบแจ้งผลการจัดซื้อจัดจ้างและแบบแจ้ง เหตุผลเพิ่มเติม ตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.5/ ว 189 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2566 พร้อมอัพโหลดเข้าในระบบ e-GP ในขั้นตอนที่ 5 จัดทำ และประกาศผู้ชนะการเสนอราคา/รายการเอกสารลำ ดับที่ 4 หัวข้อชี้แจง เหตุผลเพิ่มเติม เพื่อแจ้งให้ผู้ยื่นข้อเสนอทุกรายทราบ 7


การเบิก - จ่ายเงิน 1. กรณีที่ TOKEN KEY ของส่วนราชการเข้าใช้งานในระบบ New GFMIS Thai เกิดชำ รุดเสียหาย ต้องดำ เนินการอย่างไร ให้ทำ หนังสือแจ้งกรณี TOKEN KEY ชำ รุดเสียหายและส่งแบบคำ ร้องขอใช้บริการ GFMIS Token key กรณีปลดล็อค/ชำ รุด/สูญหาย ตามหนังสือ ที่ กค0414.2/ ว 248 ลงวันที่ 31 มี.ค. 2565 ส่งไปทาง E-mail : [email protected] และ สามารถติดต่อได้ที่เบอร์ 02-298-6660 กองระบบการคลังภาครัฐ กลุ่มงานบริการและประชาสัมพันธ์ เพื่อดำ เนินการออก TOKEN KEY ใหม่ให้ 8


2. หากหน่วยงานของรัฐส่งใบสำ คัญ เพื่อล้างเงินยืมแล้ว ต้องแนบบิล เงินสดด้วยหรือไม่ ข้อ 44 การจ่ายเงินของส่วนราชการ ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินหรือใบสำ คัญ รับเงิน ซึ่งรับเงินเป็นผู้ออกให้ หรือรายงาน การจ่ายเงินจากระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) หรือใบรับรองการจ่ายเงิน หรือเอกสาร อื่นใดที่กระทรวงการคลังกำ หนดเป็นหลักฐานการจ่าย ที่มา : ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำ เงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 3. เมื่อหน่วยงานของรัฐได้รับใบแจ้งหนี้ให้ชำ ระหนี้ตาม กำ หนดเวลา ต่อมาหน่วยงานของรัฐได้ดำ เนินการจ่าย ชำ ระหนี้เรียบร้อยแล้วหลังจากนั้น หน่วยงานของรัฐต้อง ดำ เนินการอย่างไรเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานสำ หรับการจ่าย ชำ ระหนี้ในครั้งนี้ ข้อ 42 ให้เจ้าหน้าที่ผู้จ่ายเงินประทับตราข้อความว่า “จ่ายเงิน แล้ว” โดยลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายและระบุชื่อผู้จ่ายเงิน ด้วยตัวบรรจง พร้อมทั้งวัน เดือน ปี ที่จ่ายกำ กับไว้ในหลักฐาน การจ่ายเงินทุกฉบับ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ ที่มา : ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำ เงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 9


ค่าตอบแทน ค่าสวัสดิการ และอื่น ๆ 1. กรณีที่ภรรยาของข้าราชการท่านหนึ่งมีสิทธิประกันสังคมมาตรา 33 ได้เข้ารักษา ในโรงพยาบาลที่ภรรยาของข้าราชการท่านนั้นไม่มีสิทธิเบิกค่ารักษาตามสิทธิประกัน สังคมได้ ซึ่งได้นำ ใบเสร็จรับเงินยื่นเบิก ค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิข้าราชการที่ ต้นสังกัดของสามีได้หรือไม่ เบิกค่ารักษาพยาบาลไม่ได้ เนื่องจากตามพระราชกฤษฎีกาเงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.2553 มาตรา 10 ในกรณีที่บุคคลในครอบครัวมีสิทธิได้รับเงินค่ารักษาพยาบาล ตามสิทธิของตนเองจากหน่วยงานอื่น ผู้มีสิทธิไม่มีสิทธิได้รับ เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำ หรับบุคคล ในครอบครัว เว้นแต่ค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับนั้นต่ำ กว่าเงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่มีสิทธิจะได้รับ ตามพระราชกฤษฎีกานี้ ให้ผู้มีสิทธิมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสำ หรับบุคคลในครอบครัวเฉพาะ ส่วนที่ขาดอยู่ และต้องเป็นโรงพยาบาลในสิทธิประกันสังคม ของคู่สมรสท่านนี้ใช้สิทธิได้ 10


ตามหนังนัสือสืกรมบัญบัชีกชีลาง ที่ กค 0406.5/ว 287 ลงวันวัที่ 21 สิงสิหาคม 2552 เรื่อ รื่ ง ซ้อ ซ้ มความเข้า ข้ใจเกี่ย กี่ วกับกัสิทสิธิแธิละ วิธีวิปธีฏิบัฏิติบั ใตินการขอรับรัเงินงิช่ว ช่ ยพิเพิศษกรณีข้ณีา ข้ ราชการ ผู้รัผู้บรั บำ นาญ และลูกลูจ้า จ้ งถึง ถึ แก่ก ก่ รรม การคำ นวนสิทสิธิที่ธิจ ที่ ะได้รั ด้ บรั ของข้า ข้ ราชการ เงินงิช่ว ช่ ยพิเพิศษ 3 เท่า ท่ ของเงินงิเดือดืนเต็ม ต็ เดือดืน ที่ข้ ที่ า ข้ ราชการราย ดังดักล่า ล่ วมีสิมีทสิธิไธิด้รั ด้ บรัในเดือดืนที่ถึ ที่ ง ถึ แก่ ความตาย และหากข้า ข้ ราชการรายดังดักล่า ล่ วมีสิมีทสิธิไธิด้รั ด้ บรัเงินงิ เพิ่ม พิ่ พิเพิศษค่า ค่ วิชวิา เงินงิประจำ ตำ แหน่ง น่ ที่ต้ ที่ อ ต้ งฝ่า ฝ่ อันอัตราย เป็น ป็ ปกติ เงินงิเพิ่ม พิ่ พิเพิศษสำ หรับรัการสู้รสู้บ และเงินงิเพิ่ม พิ่ พิเพิศษ สำ หรับรั ปราบปรามผู้กผู้ ระทำ ผิดผิให้ร ห้ วมเงินงิดังดักล่า ล่ วกับกัเงินงิ เดือดืนเพื่อ พื่ คำ นวณเป็น ป็ เงินงิช่ว ช่ ยพิเพิศษจำ นวน 3 เท่า ท่ 2. กรณีข้าราชการเสียชีวิต ในการคำ นวณการขอรับเงิน ช่วยพิเศษ 3 เท่า (เงินค่าทำ ศพ) จะคำ นวณอย่างไร 3. การลงทะเบียนเพื่อขอกำ หนดสิทธิเข้าใช้งาน ระบบ Digital Pension ให้กำ หนดตัวบุคคลและผู้ได้รับ มอบหมาย กรณีมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคล ต้องดำ เนินการอย่างไร ต้องแจ้งให้กรมบัญชีกลางระงับสิทธิเข้าใช้งานของ บุคคลเดิมก่อนแล้วจึงดำ เนินการลงทะเบียนเพื่อขอ กำ หนดสิทธิใหม่ให้ปัจจุบัน ที่มา : หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0411.6/ว 693 ลว.17 พฤศจิกายน 2566 11


4. กรณีร ณี หัส หั ผู้ใผู้ช้ง ช้ าน (User Name) ที่ไที่ ม่มี ม่ ก มี ารใช้ง ช้ านระบบ Digital Pension เกินกิระยะเวลา 3 เดือ ดื น จะสามารถเข้า ข้ใช้ง ช้ าน ได้ห ด้ รือ รืไม่ ไม่ไม่ ด้ เนื่อ นื่ งจากกรมบัญบัชีกชีลางจะทำ การยกเลิกลิสิทสิธิเธิข้า ข้ใช้ งาน หากส่ว ส่ นราชการต้อ ต้ งการใช้สิ ช้ ทสิธิดัธิงดักล่า ล่ วให้ทำ ห้ ทำการลง ทะเบียบีนเพื่อ พื่ ขอกำ หนดสิทสิธิเธิข้า ข้ใช้ง ช้ านใหม่ ที่ม ที่ า : หนังนัสือสืกรมบัญบัชีกชีลาง ที่ กค 0411.6/ว 693 ลว.17 พฤศจิกจิายน 2566 5. กรณีที่ ณี ข้ ที่ า ข้ ราชการและลูก ลู จ้า จ้ งประจำ ที่พ้ ที่ น พ้ จากราชการเพราะ เกษีย ษี ณอายุใ ยุ นปีง ปี บประมาณพ.ศ. 2567 (1 ตุล ตุ าคม 2566 สามารถ ยื่น ยื่ ขอรับ รั บำ เหน็จ น็ บำ นาญล่ว ล่ งหน้า น้ โดยเริ่ม ริ่ ตั้ง ตั้ แต่เ ต่ ดือ ดื นใด ข้า ข้ ราชการและลูกลูจ้า จ้ งประจำ ที่พ้ ที่ น พ้ จากราชการเพราะเกษียษีณ อายุป ยุ ระจำ ปีงปีบประมาณ พ.ศ. 2567 (1 ตุล ตุ าคม 2566) ขอยื่น ยื่ ขอรับรับำ เหน็จ น็ บำ นาญล่ว ล่ งหน้า น้ได้ 8 เดือดืน ตั้ง ตั้ แต่วั ต่ นวัที่ 1 กุม กุ ภาพันพัธ์ 2566 เป็น ป็ ต้น ต้ ไป 6. กรณีที่ ณี ข้ ที่ า ข้ ราชการซึ่ง ซึ่ ประสงค์จ ค์ ะคืน คื บำ เหน็จ น็ ที่ไที่ ด้รั ด้ บ รัไปแล้ว ล้ พร้อ ร้ มดอกเบี้ย บี้ เพื่อ พื่ นับ นั เวลาราชการต่อ ต่ เนื่อ นื่ งให้ดำ ห้ ดำเนินนิการคืน คื ภายในกี่วั กี่ น วั ให้ข้ ห้ า ข้ ราชการดำ เนินนิการคืน คื ภายในเก้า ก้ สิบสิวัน วั นับ นั แต่วั ต่ น วั ที่ก ที่ ลับ ลั เข้า ข้ รับ รั ราชการใหม่ โดยคิดคิ ตามอัต อั ราดอกเบี้ย บี้ เงินงิฝากประจำ หนึ่ง นึ่ ปีข ปี อง ธนาคารออมสินสิในปีนั้ ปี น นั้ ๆ เป็น ป็ เกณฑ์ โดยไม่ ต้อ ต้ งนำ ดอกเบี้ย บี้ มาทบต้น ต้ ตามหนัง นั สือ สื กระทรวงการคลัง ลั ที่ กค0408.3/ว 109 ลงวัน วั ที่ 27 มิ.มิย. 66 12


7. นายอรุณ รุ อินอิพรม เป็น ป็ ผู้สูผู้ ง สู อายุแ ยุ ละผู้พิผู้ กพิารที่ไที่ ม่มี ม่ บั มี ญ บั ชี ธนาคารและไม่ส ม่ ะดวกผูก ผู บัญ บั ชีพ ชี ร้อ ร้ มเพย์ หากมายื่น ยื่ หนัง นั สือ สื ยินยิยอมแล้ว ล้ เงินงิเพิ่ม พิ่ เบี้ย บี้ ความพิกพิารเดือ ดื นละ 200 บาท จะโอน เข้า ข้ บัญ บั ชีผู้ ชี รัผู้บ รั เงินงิแทนด้ว ด้ ยหรือ รืไม่ จากการตรวจสอบรายงาน การจ่า จ่ ยณวัน วั ที่ 21/11/66 พบว่า ว่ โอนเงินงิไม่สำ ม่ สำเร็จ ร็ ตั้ง ตั้ แต่เ ต่ ดือ ดื น เม.ย. 66 และถ้า ถ้ หากได้รั ด้ บ รั จะได้รั ด้ บ รั ย้อ ย้ นหลัง ลั ด้ว ด้ ยหรือ รืไม่ เงินงิเพิ่ม พิ่ เบี้ย บี้ ความพิกพิารจ่า จ่ ยตามบัญ บั ชี ที่รั ที่ บ รั เบี้ย บี้ ความ พิกพิาร กรณีนี้ ณี รั นี้ บ รั เงินงิสด ต้อ ต้ งไปขอเปลี่ย ลี่ นเป็น ป็ รับ รั ผ่า ผ่ นบัญ บั ชี ที่ห ที่ น่ว น่ ยงาน อปท.โดยใช้แ ช้ บบฟอร์ม ร์ มอบอำ นาจเข้า ข้ บัญ บั ชี ผู้ดูผู้ แ ดู ลหรือ รื บุค บุ คลอื่น อื่ ของ อปท. ที่ม ที่ า : ทีมทีลงทะเบียบีนบัตบัรสวัสวัดิกดิารแห่งห่รัฐรั 8.เงินงิเพิ่ม พิ่ เบี้ย บี้ ผู้พิผู้ กพิารไม่เ ม่ ข้า ข้ บัญ บั ชีผู้ ชี พิผู้ กพิาร รบกวนตรวจสอบให้ด้ ห้ ว ด้ ย นางแสงจัน จั ทร์ บุญบุ ส่ง ส่ เจ้า จ้ ตัว ตั ยืน ยื ยัน ยั ตัว ตั ตนแล้ว ล้/ผูก ผู พร้อ ร้ มเพย์แ ย์ ล้ว ล้/ เบี้ย บี้ ความพิกพิารเบี้ย บี้ ยัง ยั ชีพ ชี ผู้สูผู้ ง สู อายุ และโอนเข้า ข้ บัญ บั ชีต ชี นเอง เขามีบั มี ต บั รผู้พิผู้ กพิารหรือ รืไม่ ถ้า ถ้ เป็น ป็ ผู้พิผู้ กพิารที่มี ที่ บั มี ต บั รเก่า ก่ เป็น ป็ สมุด มุ เก่า ก่ ให้ไห้ปทำ บัต บั รผู้พิผู้ กพิารใหม่ เพราะเขาไม่มี ม่ ข้ มี อ ข้ มูล มู ในฐานของกรม ส่ง ส่ เสริมริและพัฒ พั นาคุณ คุ ภาพชีวิ ชี ตวิคนพิกพิาร เขาจึง จึ ยัง ยัไม่ไม่ ด้รั ด้ บ รั เงินงิ เพิ่ม พิ่ เบี้ย บี้ ความพิกพิาร 200 บาท ที่ม ที่ า : ทีมทีลงทะเบียบีนบัตบัรสวัสวัดิกดิารแห่งห่รัฐรั 13


9. การปรับ รั เงินงิช่ว ช่ ยค่า ค่ ครองชีพ ชี ผู้รัผู้บ รั เบี้ย บี้ หวัด วั บำ นาญ(ช.ค.บ.) จะเป็น ป็ การปรับ รั ผู้รัผู้บ รั เบี้ย บี้ หวัด วั หรือ รื บำ นาญประเภทใดบ้า บ้ ง ผู้ไผู้ด้รั ด้ บ รั หรือ รื มีสิ มี ทสิธิไธิด้รั ด้ บ รั เบี้ย บี้ หวัด วั ตามข้อ ข้ บัง บั คับ คั กระทรวง กลาโหม ผู้ไผู้ด้รั ด้ บ รั หรือ รื มีสิ มี ทสิธิไธิด้รั ด้ บ รั บำ นาญปกติ บำ นาญพิเพิศษเพราะ เหตุทุ ตุ พ ทุ พลภาพ บำ นาญพิเพิศษ หรือ รื บำ นาญตกทอด ในฐานะ ทายาทหรือ รื ผู้อุผู้ ป อุ การะหรือ รื ผู้อผู้ ยู่ใยู่ นอุป อุ การะ ตามกฎหมายว่า ว่ ด้ว ด้ ยบำ เหน็จ น็ บำ นาญข้า ข้ ราชการ ถ้า ถ้ได้รั ด้ บ รั เบี้ย บี้ หวัด วั หรือ รื บำ นาญรวมกัน กั ทุก ทุ ประเภทเมื่อ มื่ รวม ช.ค.บ. แล้ว ล้ ต่ำ กว่า ว่ เดือ ดื นละหนึ่ง นึ่ หมื่น มื่ บาท ให้ไห้ ด้รั ด้ บ รั ช.ค.บ. เพิ่ม พิ่ อีก อีในอัต อั ราเดือ ดื นละเท่า ท่ กับ กั ส่ว ส่ นต่า ต่ งของจำ นวนเงินงิ หนึ่ง นึ่ หมื่น มื่ บาท หัก หั ด้ว ด้ ยเบี้ย บี้ หวัด วั หรือ รื บำ นาญทุก ทุ ประเภท และ ช.ค.บ. ที่ไที่ ด้รั ด้ บ รั หรือ รื มีสิ มี ทสิธิไธิด้รั ด้ บ รั ที่ม ที่ า : พระราชกฤษฎีกฎีาเงินงิช่วช่ยค่าค่ครองชีพชีผู้รัผู้บรัเบี้ย บี้ หวัดวับำ นาญ (ฉบับบัที่ 16) พ.ศ. 2562 10. ข้า ข้ ราชการลาออกและขอรับ รั บำ นาญและบำ เหน็จ น็ ดำ รงชีพ ชี ไปแล้ว ล้ ต่อ ต่ มาได้บ ด้ รรจุก จุ ลับ ลั เข้า ข้ รับ รั ราชการใหม่ใม่ นตำ แหน่ง น่ เดิมดิ ต้อ ต้ งคืน คื เงินงิบำ นาญและบำ เหน็จ น็ ดำ รงชีพ ชี ที่รั ที่ บ รัไปแล้ว ล้ หรือ รืไม่ ข้า ข้ ราชการซึ่ง ซึ่ ลาออกและรับ รั บำ นาญแล้ว ล้ หากกลับ ลั เข้า ข้ รับ รั ราชการใหม่แ ม่ ละขอนับ นั เวลาราชการต่อ ต่ เนื่อ นื่ งต้อ ต้ งงดรับ รั บำ นาญตั้ง ตั้ แต่วั ต่ น วั กลับ ลั เข้า ข้ รับ รั ราชการหากเป็น ป็ สมาชิกชิ กบข.ตอนก่อ ก่ นออกจากราชการและได้รั ด้ บ รั เงินงิประเดิมดิเงินงิ ชดเชยและผลประโยชน์ต น์ อบแทน จะต้อ ต้ งคืน คื เงินงิดัง ดั กล่า ล่ ว ให้แ ห้ ก่ กบข.ตามหลัก ลั เกณฑ์แ ฑ์ ละวิธีวิก ธี ารที่กำ ที่ กำหนด สำ หรับ รั บำ นาญที่ไที่ ด้รั ด้ บ รัไปแล้ว ล้ไม่ต้ ม่ อ ต้ งคืน คื คลัง ลั และบำ เหน็จ น็ ดำ รงชีพ ชี ที่รั ที่ บ รัไปแล้ว ล้ ก็ไก็ ม่ต้ ม่ อ ต้ งส่ง ส่ คืน คื คลัง ลั เช่น ช่ เดีย ดี วกัน กั และจะมีสิ มี ทสิธิ ขอรับ รั บำ เหน็จ น็ ดำ รงชีพ ชี เพิ่ม พิ่ (รวมครั้ง รั้ แรกไม่เ ม่ กินกิสี่แ สี่ สน บาท)ได้ต่ ด้ อ ต่ เมื่อ มื่ พ้น พ้ จากราชการภายหลัง ลั และขอรับ รั บำ นาญ เมื่อ มื่ อายุค ยุ รบ 65 ปีบ ปี ริบูริร บู ณ์แต่ถ้ ต่ า ถ้ การออกครั้ง รั้ หลัง ลัได้นั ด้ บ นั เวลาต่อ ต่ เนื่อ นื่ งและขอรับ รั เป็น ป็ บำ เหน็จ น็ จะถูก ถู หัก หั บำ เหน็จ น็ ดำ รงชีพ ชี ที่รั ที่ บ รัไปแล้ว ล้ จากบำ เหน็จ น็ ปกติที่ติ ไที่ ด้รั ด้ บ รั เพื่อ พื่ ส่ง ส่ คืน คื คลัง ลั ที่ม ที่ า : พระราชบัญบัญัติญักติองทุนทุบำ เหน็จ น็ บำ นาญข้าข้ราชการ พ.ศ. 2539 และ ที่แ ที่ ก้ไก้ขเพิ่ม พิ่ เติมติมาตรา 38 14


การปรับเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำ นาญ (ช.ค.บ.) มี 2 กรณี 1. ผู้รับบำ นาญที่ได้รับเบี้ยหวัดบำ นาญ ที่เคยได้รับการปรับ ช.ค.บ. มาก่อน ไม่ต้อง รายงานตัวที่ส่วนราชการผู้เบิก กรมบัญชีกลางจะปรับ ช.ค.บ. และโอนเงิน ช.ค.บ. ให้ผู้รับบำ นาญจึงจะได้รับเบี้ยหวัดบำ นาญและ ช.ค.บ. รวมกันเป็นเดือนละ 10,000 บาท 2. ผู้รับบำ นาญที่ได้รับเบี้ยหวัดบำ นาญต่ำ กว่าเดือนละ 10,000 บาท และยังไม่เคยได้ รับ ช.ค.บ. มาก่อน จะยังไม่ได้รับเงินดังกล่าว ทั้งนี้ ให้ผู้รับบำ นาญไปแสดงตนเพื่อยืนยัน ว่าไม่ได้กลับเข้ารับราชการหรือเข้าทำ งานในสังกัดราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วส่นท้อท้งถิ่น ถิ่ เพื่อ พื่ ยื่น ยื่ คำ ขอเบิกบิเงินงิช่วช่ยค่าค่ครองชีพชีผู้รัผู้บรัเบี้ย บี้ หวัดวับำ นาญที่ส่ ที่ วส่นราชการ ผู้เผู้บิกบิบำ นาญก่อก่น เพื่อ พื่ ให้ส่ห้วส่นราชการผู้เผู้บิกบิบำ นาญแจ้งจ้กรมบัญบัชีกชีลางให้โห้อนเงินงิช.ค.บ. ดังดักล่าล่ว ผู้รัผู้บรับำ นาญจึงจึจะได้รัด้บรัเบี้ย บี้ หวัดวับำ นาญและ ช.ค.บ. รวมกันกัเป็น ป็ เดือดืนละ10,000 บาท ที่มา : พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำ นาญ (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2562 11. การปรับเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัดบำ นาญ (ช.ค.บ.) มีหลักเกณฑ์การปรับอย่างไร 15


12. ผู้รับบำ นาญมี ความประสงค์ขอ เปลี่ยนแปลงที่อยู่จะ ต้องดำ เนินการ อย่างไร ผู้รับบำ นาญติดต่อส่วนราชการต้นสังกัดโดยทำ เป็นหนังสือ พร้อมแนบหลักฐานสำ เนาทะเบียนบ้านแจ้งส่วนราชการ เพื่อดำ เนินการแก้ไขต่อไป 16


เว็บไซต์สำ นักงาน : www.cgd.go.th/skn อีเมล: [email protected] 042-711046, 042-716317, 042-711405, 042-713371, 086-4593437, 086-4593438 ติดต่อเรา สำ นักงานคลังจังหวัดสกลนคร กลุ่มงานวิชาการ


ขอขอบคุณค่ะ/ครับ


Click to View FlipBook Version