The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏบัติงานคู่1-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tidarat_083, 2022-04-28 23:23:25

คู่มือปฏบัติงานคู่1-2565

คู่มือปฏบัติงานคู่1-2565

คู่มือปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ก

ข ค่มู ือปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

คมู่ ือปฏิบัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ ก

คานา

คู่มือปฏิบัติงานครู โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง ฉบับนี้จัดทาข้ึนเพื่อให้ครูใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงาน
ประจาภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ซึ่งประกอบด้วย ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
ข้อมูลบุคลากรโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง ข้อมูลนักเรียนโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง ปีการศึกษา 2565
ขอ้ มูลเกย่ี วกบั โรงเรียนสภาราชนิ ี จังหวดั ตรัง ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ทวั่ ไป วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์ กลยุ ทธ์ จุดเนน้ เป้าหมาย
อตั ลักษณ์ของโรงเรียน เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และกลยุทธ์สู่การพัฒนา
การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนด้วย “PRASI MODEL” กิจกรรมบังคับมัธยมศึกษาตอนต้น รายชื่อครูที่ปรึกษา กิจกรรม
คณุ ธรรม ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย และตารางการดูแลห้องเรียน

หวังเป็นอย่างยง่ิ วา่ เอกสารฉบบั นจี้ ะเป็นประโยชน์สาหรับครู เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ต่อไป

คณะผูจ้ ัดทา

ข ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนา้

สารบญั 1
2
เรื่อง 4
7
ประวัตคิ วามเปน็ มาของโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง 13
ขอ้ มลู บุคลากรโรงเรียนสภาราชนิ ี จงั หวัดตรงั 14
ขอ้ มลู นักเรยี นโรงเรยี นสภาราชินี จังหวัดตรงั ปีการศกึ ษา 2565 17
ขอ้ มูลเกี่ยวกับโรงเรยี น
การพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นด้วย “PRASI MODEL” 30
หลักสูตรฐานสมรรถนะ
รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) 45
47
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 53
รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) 59
62
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564 66
ปฏิทินวิชาการ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
รายช่ือครูทป่ี รึกษา
กิจกรรมคุณธรรม ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ตารางการดแู ลห้องเรยี น
คณะกรรมการจดั ทาคมู่ ือปฏิบัตงิ านครู

คมู่ อื ปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑ 1

ประวตั คิ วามเปน็ มาของโรงเรียนสภาราชินี จังหวดั ตรงั

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง ปรากฏเกียรติประวัติสืบเน่ืองมาต้ังแต่
พ.ศ.๒๔๕๕ วโรกาสที่สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถพระพันปีหลวง
พระบรมราชนิ นี าถ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จ
จังหวัดตรัง ทรงเห็นว่า ยังไม่มีสถานศึกษาประจาจังหวัด จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานทุนทรัพย์เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท สาหรับจัดสร้าง
โรงเรียนประจาจังหวัดขึ้น คือ โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง ณ ถนนพัทลุง
ตาบลทับเท่ียง อาเภอเมืองตรัง รับนักเรียนทั้งชายและหญิง ประชาชนได้ส่ง
บุตรหลานเข้าเรียนเป็นจานวนมาก แต่ส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียนชายจนทาให้
อาคารเรียนคับแคบ ดังน้ันในพ.ศ. ๒๔๕๙ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ
จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานทุนทรัพย์อีกเป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท ก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมเพ่ือรองรับ
นกั เรยี นทม่ี จี านวนมากข้ึนทกุ ๆ ปี พร้อมทั้งพระราชทานนามอาคารหลังใหม่ว่าอาคาร “สภาราชินี” พ.ศ. ๒๔๗๔
คณะบคุ คลผ้มู ีจติ ศรัทธา ประกอบด้วย
- พระยาอาณาจักรบริบาล ข้าหลวงประจาจงั หวดั
- หลวงยวดประศาสตร์ นายอาเภอเมืองตรงั
- หลวงพชิ ติ ปฏิภาณ ผูพ้ ิพากษาจังหวัดตรงั
- ขุนจรรยาวฑิ รู ศึกษาธิการจังหวัดตรัง
- หลวงทวที รพั ย์ราช คลังจังหวดั ตรัง
โดยการนาของขา้ หลวงประจาจงั หวัดตรงั จัดให้มกี ารแสดงละครเพ่อื สมทบทุนก่อสร้างโรงเรียนสตรีประจา
จงั หวดั ตรัง ณ เลขที่ ๑๔๒ ถนนวิเศษกุล ตาบลทับเที่ยง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ในพ้ืนท่ี ๘ ไร่ ๓ งาน ๒ ตารางวา
อนั เป็น สถานทีใ่ นปัจจุบนั และไดย้ า้ ยนกั เรยี นหญิงจากอาคารสภาราชินี ซ่งึ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ
ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างข้ึนท่ีโรงเรียนวิเชียรมาตุ
ถนนพทั ลุง อาเภอเมืองตรงั จงั หวดั ตรงั มาเรียน ณ ที่สร้างใหม่ ใน วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยใช้นาม
โรงเรยี นวา่ “โรงเรียนสตรปี ระจาจงั หวัดตรัง” และนบั เอาวันอันเปน็ สริ ิมงคลนเี้ ปน็ วนั แหง่ การสถาปนาโรงเรียน
พ.ศ. ๒๔๙๔ ได้เสนอตอ่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขออนญุ าตเปลย่ี นชือ่ โรงเรียนจาก “โรงเรียนสตรีประจาจังหวัดตรัง”
เป็น “โรงเรยี นสตรตี รงั สภาราชนิ ี”
พ.ศ. ๒๕๐๖ โรงเรียนเปิดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนกศิลปะ รับนักเรียนสหศึกษา ในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จึงขออนุญาตสานักราชเลขาธิการผ่านทางกระทรวงศึกษาธิการ เปล่ียนชื่อโรงเรียนอีกครั้งหนึ่ง
เปน็ ชือ่ “โรงเรียนสภาราชนิ ี จงั หวัดตรงั ” และได้ใช้มงคลนามพระราชทานนมี้ าตราบจนปัจจุบนั

2 ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

ข้อมูลบุคลากรโรงเรยี นสภาราชินี จังหวดั ตรัง

ขอ้ มูลผู้บรหิ าร (BOARD OF DIRECTORS)

นายสมุ ติ ร สามห้วย
ผู้อานวยการโรงเรียนสภาราชนิ ี จังหวดั ตรัง

ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิทยาการบริหารการศึกษา
เบอร์โทรศัพท์ 06 4398 2888

นางสาวนวลจนั ทร์ ชอ่ งดารากุล
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
เบอรโ์ ทรศัพท์ 09 7419 2292

นางอารรี ตั น์ ศรีวราพันธุ์
รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารทั่วไป

ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 08 83920726

นางหทัยทพิ ย์ เพ็งลา
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ

ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 09 4393 9915

นางมัตณา พมุ่ เล่ง
รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา
เบอร์โทรศัพท์ 08 1737 6882

คมู่ ือปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 3

จานวนครูแยกตามกลุ่มงาน / งาน / กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ที่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ข้าราชการ ครูอตั ราจ้าง/พนักงาน นักศึกษาฝึก รวม
ครู (คน) วิทยาศาสตร์ (คน) ประสบการณ์สอน ทง้ั หมด
๑ ภาษาไทย (คน)
16 1 (คน)
๒ คณิตศาสตร์ 21 - 20
32 6 3 23
๓ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ 2 42
เทคโนโลยี 4
19
๔ สังคมศึกษา ศาสนาและ 17 - 2
วฒั นธรรม 28
7
๕ ภาษาตา่ งประเทศ 25 2 1 12
6- 1 5
๖ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 93 - 5
5- - 2
๗ ศลิ ปะ 4- 1 163
2- -
๘ การงานอาชีพ
137 12 14
๙ งานแนะแนว

๑๐ งานหอ้ งสมดุ

รวมทั้งหมด

จานวนข้าราชการครู จาแนกตามวิทยฐานะ จานวน(คน) รวมท้ังหมด
ชาย หญิง (คน)
วิทยฐานะ ๑-
-๔ ๑
ผูอ้ านวยการ คศ.๓ ๑๑ ๔๕ ๔
รองผู้อานวยการ คศ.๓ ๘ ๒๙ ๕๖
๙ ๒๘ ๓๗
ครู คศ.๓ -๗ ๓๗
ครู คศ.๒ ๒๙ ๑๑๓ ๗
ครู คศ.๑ ๑๔๒
ครูผชู้ ว่ ย
รวมทั้งหมด(คน)

จานวนลูกจา้ งจาแนกตามหน้าท่ี จานวน (คน) หมายเหตุ

ตาแหนง่ หนา้ ท่ี 1
1. ลกู จา้ งประจา 30
2. ลกู จ้างชัว่ คราว 65

รวม

4 ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

ขอ้ มลู นักเรยี นโรงเรยี นสภาราชินี จงั หวัดตรัง ปีการศกึ ษา 2565

ชั้น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชาย หญิง รวม
ม.1/1 แผนการเรยี น 13 23 36
ม.1/2 สสวท. 15 25 40
ม.1/3 พิเศษ วิทย์-คณิต 17 23 40
ม.1/4 พิเศษ วทิ ย์-คณิต 14 26 40
ม.1/5 สง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษ วิทย์-คณติ 28 12 40
ม.1/6 NO-Paper 12 28 40
ม.1/7 ทว่ั ไป 10 30 40
ม.1/8 ทั่วไป 19 21 40
ม.1/9 ทว่ั ไป 18 22 40
ทั่วไป 6 14 20
ม.1/10 หอ้ งเรียน ส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศ ภาษาจนี 5 15 20
หอ้ งเรยี น สง่ เสริมความเป็นเลิศ ภาษาภาษาญป่ี ุน่ 4 11 15
ม.1/11 English Program 6 11 17
ม.1/12 167 261 428
ดนตร-ี นาฏศลิ ป์
รวม

ช้ัน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ชาย หญิง รวม
ม.2/1 11 25 36
ม.2/2 แผนการเรียน 15 25 40
ม.2/3 สสวท. 16 24 40
ม.2/4 พเิ ศษ วทิ ย์-คณติ 15 25 40
ม.2/5 พเิ ศษ วิทย์-คณิต 24 16 40
ม.2/6 ส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษ วทิ ย์-คณิต 6 34 40
ม.2/7 NO-Paper 18 22 40
ม.2/8 ทว่ั ไป 17 23 40
ม.2/9 ทั่วไป 18 21 39
ทว่ั ไป 2 18 20
ม.2/10 ทวั่ ไป 8 12 20
ห้องเรียน ส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ภาษาจีน
ม.2/11 ห้องเรียน สง่ เสรมิ ความเป็นเลิศภาษา 67 13
ม.2/12 ภาษาญ่ีปุ่น 14 8 22
English Program 170 260 430
ดนตรี-นาฏศิลป์

รวม

คู่มอื ปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 5

ช้นั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชาย หญิง รวม
ม.3/1 16 19 35
ม.3/2 แผนการเรยี น 14 25 39
ม.3/3 สสวท. 13 26 39
ม.3/4 พิเศษ วทิ ย์-คณิต 17 27 44
ม.3/5 พิเศษ วิทย์-คณิต 24 20 44
ม.3/6 สง่ เสรมิ ความสามารถพเิ ศษ วทิ ย์-คณติ 11 33 44
ม.3/7 NO-Paper 13 32 45
ม.3/8 ทว่ั ไป 25 20 45
ม.3/9 ทว่ั ไป 21 23 44
ทวั่ ไป 6 17 23
ม.3/10 ทวั่ ไป 9 12 21
หอ้ งเรยี น สง่ เสริมความเป็นเลิศ ภาษาจนี 67 13
ม.3/11 ห้องเรยี น ส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ ภาษาญ่ีปนุ่ 5 13 18
ม.3/12 English Program 180 274 454
ดนตรี-นาฎศิลป์
ชัน้ ชาย หญิง รวม
ม.4/1 รวม 7 23 30
ม.4/2 16 24 40
ม.4/3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 16 24 40
ม.4/4 21 19 40
ม.4/5 แผนการเรียน 21 19 40
ม.4/6 สสวท. 9 31 40
ม.4/7 พเิ ศษ วิทย์-คณติ 30 10 40
ม.4/8 พเิ ศษ วทิ ย์-คณติ 17 23 40
ม.4/9 พิเศษ วิทย์-คณติ 14 26 40
ม.4/10 No-Paper 16 24 40
ม.4/11 ส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษ วทิ ย์-คณติ 12 28 40
พันธมิตร Pre-Engineering (เตรยี มวิศวะ) 3 17 20
ม.4/12 วิทย์-คณิต 8 12 20
อังกฤษ-คณติ 6 20 26
ม.4/13 องั กฤษ-คณิต 9 12 21
ม.4/14 พันธมิตร องั กฤษ-คณิต เพ่อื การส่ือสาร 205 312 517
พนั ธมติ รส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ ภาษาจีน
พันธมติ รส่งเสริมความเป็นเลิศภาษาญป่ี ุน่
English Program
ดนตรี - นาฎศลิ ป์

รวม

6 คู่มอื ปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

ชั้น แผนการเรียน ชาย หญิง รวม
ม.5/1 22 30
ม.5/2 สสวท. 8 27 40
ม.5/3 25 38
ม.5/4 พเิ ศษ วทิ ย์-คณติ 13 28 38
ม.5/5 23 38
ม.5/6 พเิ ศษ วิทย์-คณติ 13 29 39
ม.5/7 20 39
ม.5/8 พิเศษ วิทย์-คณติ 10 32 40
ม.5/9 25 41
ม.5/10 No-Paper 15 25 39
ม.5/11 31 40
ส่งเสริมความสามารถพิเศษ วทิ ย์-คณิต 10 14 20
ม.5/12 11 21
วทิ ย์-คณิต 19 21 30
ม.5/13 10 27
ม.5/14 วิทย์-คณิต 8 343 520

ช้ัน อังกฤษ-คณติ 16 รวม
ม.6/1 26
ม.6/2 องั กฤษ-คณิต 14 39
ม.6/3 39
ม.6/4 พนั ธมติ รอังกฤษ-คณติ เพื่อการสื่อสาร 9 38
ม.6/5 45
ม.6/6 พันธมิตร ส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศ ภาษาจีน 6 43
ม.6/7 45
ม.6/8 พนั ธมติ ร ส่งเสริมความเปน็ เลิศ ภาษาญ่ปี ุ่น 10 43
ม.6/9 44
ม.6/10 English Program 9 43
ม.6/11 43
ดนตรี - นาฎศลิ ป์ 17 28
ม.6/12 15
รวม 177 24
ม.6/13 21
ม.6/14 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ชาย หญิง 536
10 16
แผนการเรียน 12 27
สสวท. 13 26
พเิ ศษ วิทย์-คณติ 12 26
พิเศษ วทิ ย์-คณติ 21 24
พิเศษ วิทย์-คณติ 17 26
No-Paper 19 26
สง่ เสริมความสามารถพิเศษ วทิ ย์-คณติ 17 26
วทิ ย์-คณติ 23 21
วิทย์-คณิต 22 21
อังกฤษ-คณติ 20 23
องั กฤษ-คณิต 11 17
อังกฤษ-คณติ 78
สง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ภาษาจีน 7 17
สง่ เสริมความเปน็ เลิศ ภาษาญี่ป่นุ 11 10
English Program 222 314
ดนตรี - นาฎศิลป์

รวม

คมู่ ือปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 7

จานวนนกั เรยี นรวม ม.ต้น + ม.ปลาย จานวน (คน)

ชาย 1,121
หญงิ 1,764

รวม 2,885

ขอ้ มลู เก่ยี วกบั โรงเรยี น

ขอ้ มลู ท่ัวไป (GENERAL INFORMATION) วิสยั ทศั น์ (VISION)

142 ถนนวิเศษกุล ตาบลทับเท่ยี ง อาเภอเมืองตรัง โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง ผู้เรียนมีสมรรถนะระดับ
จงั หวดั ตรงั รหสั ไปรษณยี ์ 92000 มาตรฐานสากล บนพื้นฐานคุณธรรมของความเป็นไทย
075-218792 ครูและบุคลากรมืออาชีพจัดการศึกษาวิถีใหม่ สู่สถานศึกษา
[email protected] แห่งอนาคต
http://www.spa.ac.th

พันธกิจ (MISSION)

ประเดน็ ขอ้ ข้อความพนั ธกิจ เป้าประสงค์

ด้าน มุง่ บริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ สถานศกึ ษามรี ะบบบรหิ ารท่ีเน้นการมีส่วนร่วม มีนโยบายและ
การบรหิ ารฯ 1 สร้างการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วน ผลลพั ธ์ทส่ี ง่ เสริมใหส้ ถานศึกษามคี วามพร้อมในการจดั การศึกษา
ท่ีสอดคล้องนโยบายภาครฐั และเหมาะสมกับบรบิ ทตามยคุ สมัย
สู่การเป็นสถานศกึ ษาแห่งอนาคต

ด้าน 2 มงุ่ บรหิ ารหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้ของ สถานศึกษามหี ลกั สตู รท่ีมงุ่ เนน้ การจดั การศึกษาทเี่ นน้ เสริมสรา้ ง
ทักษะวชิ าการ สถานศกึ ษาทส่ี นบั สนนุ ให้ผเู้ รยี นมสี มรรถนะ สมรรถนะผเู้ รยี นดา้ นภาษาเพ่ือการสือ่ สาร การคานวณ
สาคัญอยา่ งครบถ้วน รวมท้งั มที ักษะทีจ่ าเป็น กระบวนการคดิ และวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทักษะพน้ื ฐานอาชพี
ผ้เู รยี น ต่อการเรยี นรู้ ตลอดจนทกั ษะทจ่ี าเป็นในศตวรรษท่ี 21

ปลูกฝังผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามซอ่ื สตั ย์สุจรติ เข้าใจวิถี
ประชาธปิ ไตย เขา้ ใจศาสตรค์ วามพอเพยี ง รกั ความเปน็ ไทย
ด้าน 3 สามารถปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งไทยและ มีจิตอาสา ความรบั ผิดชอบ รจู้ กั ปฏบิ ตั ติ นเหมาะสมตาม
คณุ ลกั ษณะฯ พลโลกทีป่ ระพฤตติ นในส่งิ ท่เี หมาะสม วัฒนธรรมและกติกาของสังคมไทย สงั คมโลก

ผ้เู รยี น ส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหม้ สี ุขภาพกาย สุขภาพจิตทดี่ ี ผเู้ รยี นมสี ุขภาพร่างกายทแ่ี ข็งแรง หา่ งไกลยาเสพติด ตระหนกั รู้
มีคณุ ภาพชวี ติ และเปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม และรว่ มรักษาส่งิ แวดล้อม รู้จกั ปอ้ งกนั ตนจากโรคภยั และเข้าใจ
4 ใช้ชวี ติ ตามวถิ ีใหม่อย่างเหมาะสม

สง่ เสริมครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มี ครแู ละบุคลากรเข้ารบั การพฒั นาศักยภาพผา่ นการอบรม สัมมนา
ศึกษาดงู านในทักษะท่ีจาเปน็ อย่างต่อเน่ือง รวมทัง้ ความเขา้ ใจ
ดา้ น 5 ศกั ยภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี และเป็น ในการปฏิบัตติ นเป็นแบบอยา่ งทีด่ ตี ่อผ้เู รยี น มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี
ครู บุคลากร ผู้ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ด้วยระบบสวสั ดิการทเี่ หมาะสม มกี าลงั ใจ มีความก้าวหนา้
และมคี วามมนั่ ใจในการประกอบวชิ าชพี อย่างตอ่ เนื่อง
อย่างตอ่ เนอ่ื ง

ด้าน บรหิ ารความเส่ยี งดา้ นความปลอดภัย ผเู้ รยี นและบุคลากรทเี่ ก่ียวขอ้ ง มคี วามปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สนิ

สวัสดภิ าพ 6 เสรมิ สรา้ งโอกาสทางการเรียนรูส้ คู่ ณุ ภาพชีวติ มีความมัน่ ใจในความเสมอภาค และได้รบั โอกาสทางการศึกษา

ความปลอดภัย ท่ีดขี องผู้เรียน ที่เหมาะสม มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี

8 คู่มือปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑
ยุทธศาสตร์ (STATIGIC PLAN)

ลาดบั ที่ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ตรงกับพนั ธกิจข้อท่ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 บริหารจดั การเพื่อมุ่งผลลัพธ์การเปน็ สถานศกึ ษาแหง่ โลกอนาคต 1

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 บริหารหลกั สูตรเพ่ือมุ่งผลลัพธ์ทักษะวิชาการของผเู้ รียน 2

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 บรหิ ารจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธก์ ารเปน็ เยาวชน พลโลกทีด่ ีของผู้เรียน 3–4

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 บรหิ ารจดั การเพือ่ มุ่งผลลัพธ์การเปน็ ครู บุคลากร ระดบั มืออาชพี 5

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 บรหิ ารความเสีย่ งดา้ นความปลอดภยั ความเสมอภาค โอกาสทางการศึกษา 6

กลยุทธ์ (STRATEGY)

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 บริหารจดั การเพื่อมุ่งผลลัพธ์การเปน็ สถานศึกษาแหง่ โลกอนาคต

กลยุทธ์
1.1 บริหารจัดการอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ส่งเสรมิ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเข้าใจบทบาทหนา้ ทภี่ าระงานตามโครงสร้างการบรหิ าร ควบคู่
การจดั เกบ็ ข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ เพอ่ื ม่งุ พัฒนาใหบ้ รรลุผลตามวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และนโยบายสสู่ ถานศึกษาแหง่
อนาคต
1.2 มงุ่ พัฒนารูปแบบการบริหารจดั การดา้ นงบประมาณให้ถูกต้อง เหมาะสม โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ เพ่ือเพม่ิ
ประสทิ ธภิ าพการใชง้ บประมาณให้เกดิ ความคุ้มคา่ และเป็นไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละผลลัพธ์ทก่ี าหนดไว้
1.3 พฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานให้มปี ระสทิ ธิภาพ สนับสนุนให้ครูและ
บคุ ลากรมีความรู้ มสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ตนเอง รวมท้ังร่วมใจเพ่ือรับการประเมนิ คุณภาพจากองค์กรภายนอกเพ่ือก้าวสู่
สถานศึกษามาตรฐานสากล
1.4 สารวจ สนบั สนนุ จดั ซือ้ วสั ดุ อปุ กรณ์ สอ่ื เทคโนโลยหี รอื ส่งิ อน่ื ๆ ท่ีสนับสนุนการบริหารและการจดั การเรียน
การสอนให้มีความพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน รวมทัง้ รองรับการปฏิบตั งิ านผา่ นระบบออนไลน์อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิด
ประสทิ ธิผลทด่ี ี
1.5 ส่งเสรมิ บทบาทคณะกรรมการสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง ควบคกู่ บั การสร้างโอกาสให้ผูป้ กครอง ชุมชน หรือ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้เกดิ ความสมั พันธ์อันดี และร่วมกนั พฒั นาให้เกิดความก้าวหนา้ กบั สถานศึกษาและชุมชน
1.6 ดแู ล ปรบั ปรุง พฒั นาแหลง่ เรียนรภู้ ายนอกอาคารและบริเวณตา่ งๆของสถานศกึ ษา ใหส้ วยงาม น่าเรียนรู้ จัด
โอกาสให้ผ้เู รียนศึกษาเรียนรเู้ ป็นระยะๆ อย่างต่อเน่ือง
1.7 ตรวจสอบความพร้อมภายในอาคารเรยี น หอ้ งเรียน ห้องประกอบการเรยี น ใหม้ ีอปุ กรณ์ประกอบการเรยี นที่
จาเปน็ ครบถ้วน และพรอ้ มใช้งานอยเู่ สมอ รวมทัง้ การจดั บรรยากาศที่เหมาะสมในการเป็นห้องเรยี นแหง่ อนาคต
1.8 พัฒนาเวบ็ ไซต์ ส่ือโซเชียลมีเดยี ให้เท่าทนั ต่อเหตุการณ์ วางแผนในการเผยแพรต่ ่อสาธารณะด้วยข้อมลู
ข่าวสารทเ่ี หมาะสม เพ่ือให้เกิดการรับรูแ้ ละเปน็ สือ่ กลางในการประชาสัมพันธ์ของสถานศกึ ษาท่มี ีประสิทธิภาพ

คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 9

ยุทธศาสตร์ที่ 2 บรหิ ารหลักสตู รเพื่อมุ่งผลลัพธท์ ักษะวิชาการของผูเ้ รียน
กลยุทธ์
2.1 พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาและการออกแบบการเรียนร้ใู หส้ อดคล้องแนวทางการจดั การศึกษาของชาติ ควบคู่
การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนร้ทู ่ีรองรบั ทั้งสภาวะปกติและระบบออนไลน์ ท่ีเสรมิ สร้างสมรรถนะสาคัญผ้เู รียนและเท่าทัน
โลกแหง่ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งครบถว้ น
2.2 ดาเนนิ การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ให้มีรูปแบบทีห่ ลากหลาย รองรับการนิเทศช้นั เรยี นและระบบ
ออนไลน์ จดั โอกาสเสรมิ สร้างศกั ยภาพผนู้ เิ ทศอยา่ งต่อเน่อื ง เน้นการสะท้อนผลการนเิ ทศท่เี ป็นประโยชน์ต่อผูร้ ับการนิเทศ
และฝา่ ยวชิ าการ เพื่อปรบั การเรยี นเปลี่ยนการสอนให้ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
2.3 ควบคุม ดแู ล พฒั นากระบวนการวดั และประเมนิ ผลท่ีมีความเหมาะสม ถูกต้อง แม่นยา ผลการทดสอบที่ตรง
ตามสภาพจรงิ สามารถรองรับการประเมนิ ผลทง้ั ในสภาวะปกตแิ ละการประเมนิ การเรยี นรู้ผา่ นระบบออนไลน์อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
2.4 ส่งเสริมศักยภาพด้านภาษาไทยใหผ้ ู้เรยี นมที ักษะด้านการอ่าน การเขยี น การส่ือสารอยา่ งถูกต้อง ควบคู่การสืบ
สานมรดกทางปัญญาดา้ นภาษาไทยสบื ต่อไปอยา่ งยั่งยืน
2.5 ส่งเสรมิ ศักยภาพผเู้ รียนในด้านการคดิ คานวณและทกั ษะทางคณิตศาสตร์ทีห่ ลากหลาย สอดคลอ้ งตามหลกั สูตร
และนาไปใชเ้ พื่อการศกึ ษาตอ่ ตลอดจนการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
2.6 สง่ เสรมิ ผเู้ รียนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพ่อื สร้างพน้ื ฐานใหผ้ ู้เรยี นเปน็ บคุ คลทมี่ สี มรรถนะสาคัญใน
ศตวรรษที่ 21
2.7 เสริมศักยภาพผู้เรยี นในด้านการคิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ แกป้ ญั หา และเปน็ ผู้มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มี
จนิ ตนาการ เพื่อยกระดบั พฒั นาการทางด้านความรู้ไปสู่การสร้างผลงาน ช้นิ งาน นวตั กรรม
2.8 เสรมิ ศักยภาพผู้เรียนดา้ นภาษาต่างประเทศ อย่างหลากหลาย สนบั สนนุ ผู้เรียนใหม้ ปี ระสบการณ์และเกดิ แรง
บนั ดาลใจในการเรียนรู้กับเจ้าของภาษาดว้ ยวธิ ีการและโอกาสที่เหมาะสม
2.9 เสรมิ ศักยภาพผ้เู รียนให้มีความรูแ้ ละทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ที่เนน้ การยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้
รวมทงั้ การเตรียมความพรอ้ มให้ผู้เรียนในการทดสอบระดับชาติ หรอื องค์กรทดสอบมาตรฐานใหเ้ กิดความก้าวหน้ากับผู้เรียน
เพ่ิมมากขึน้
2.10 แสวงหา คดั เลอื กและจัดโอกาสส่งเสริมผเู้ รยี นกลุ่มท่ีมีความสามารถพิเศษในดา้ นภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ รวมท้ังการสร้างนวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ ใหม้ ีโอกาสได้แสดงศกั ยภาพผา่ นกจิ กรรมท้งั
ภายในและภายนอกสถานศึกษา ตามวาระต่างๆ อย่างตอ่ เน่ือง

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ด้านการพัฒนาพฤตกิ รรมในทุกดา้ นของผเู้ รียนให้เป็นพลโลกที่ดี
กลยทุ ธ์
3.1 ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ใหผ้ ้เู รยี นเปน็ ผ้มู วี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ มคี วามสุจริตเป็น
ท่ตี งั้ ปฏบิ ัติตนมมี ารยาทไทยท่ีดีงาม รกั ในวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย เปน็ พลเมืองไทย พลโลกมีคุณภาพ
3.2 ปลกู ฝังใหผ้ เู้ รียนมจี ิตสาธารณะ มีความเข้าใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และปฏบิ ัติตนตามวิถีประชาธปิ ไตย
รว่ มใจอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม รวมทั้งสง่ เสรมิ ให้มที ักษะในการทางาน สามารถปรับตวั อยู่รว่ มกับผ้อู น่ื ได้อยา่ งมีความสุข

10 คู่มอื ปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑

ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านการพฒั นาพฤติกรรมในทุกดา้ นของผูเ้ รยี นให้เปน็ พลโลกท่ดี ี (ต่อ)

กลยทุ ธ์
3.3 ส่งเสรมิ สขุ ภาพและสุขอนามยั สบื สานกิจกรรม TO BE NO 1 เพื่อสรา้ งนักเรยี นตัวอยา่ งและการให้ความรู้พิษภัย
ของยาเสพตดิ สามารถปอ้ งกันตนเองใหห้ า่ งไกลยาเสพติดไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3.4 จัดโอกาสให้ผูเ้ รยี นไดร้ ับการสง่ เสรมิ ทกั ษะด้านศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ตามความถนดั และความสนใจอยา่ งต่อเน่ือง
3.5 แสวงหา คดั เลือกและจดั โอกาสสง่ เสรมิ ผเู้ รียนกลมุ่ ทม่ี ีความสามารถพเิ ศษในดา้ นศิลปะ ดนตรี กีฬา และทักษะ
ชีวติ ด้านอ่นื ๆ เพ่ือให้มโี อกาสได้แสดงศักยภาพผา่ นกจิ กรรมทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ตามวาระต่างๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 บรหิ ารจดั การเพอื่ มุ่งผลลพั ธ์การเป็นครู บุคลากร ระดับมอื อาชีพ
กลยทุ ธ์
4.1 สนบั สนุนครแู ละบุคลากรให้ไดร้ ับการพฒั นาตนเองให้มีความรูแ้ ละทักษะที่เกีย่ วข้องกับงานที่รับผดิ ชอบ ผา่ นการ
อบรม สมั มนาอย่างต่อเน่ือง สามารถนาความรู้ ประสบการณท์ ไี่ ด้ไปปฏบิ ัติงานและรองรับการประเมินวิทยฐานะไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
4.2 จดั โอกาสเพื่อเสรมิ ประสบการณใ์ ห้ครแู ละบุคลากร มีมุมมองความคิดที่ทนั โลกทนั เหตุการณ์ ผา่ นการศกึ ษาดูงาน
หรอื การประชุมถอดประสบการณ์ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ท้ังในและนอกสถานศกึ ษา เพ่ือกา้ วสกู่ ารเป็นบคุ คลระดับมืออาชีพ
4.3 เสรมิ ศกั ยภาพครใู หม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจในด้านการผลติ และใช้สื่อการสอน สือ่ เทคโนโลยี การวจิ ัยเพ่อื การเรยี นรู้
และใช้ผลการวจิ ัยเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หรอื ต่อยอดใหเ้ กดิ ผลงาน นวัตกรรม ท่ีเปน็ ประโยชน์ เป็นจดุ เดน่ จดุ
แขง็ ของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนอ่ื ง
4.4 ส่งเสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรมีจรรยาบรรณ เป็นแบบอยา่ งทีด่ กี ับผู้เรียน ควบคู่กบั การจดั ระบบสวัสดกิ าร เพื่อสรา้ ง
ขวัญ กาลังใจ นาไปสู่การปฏิบัตงิ านเต็มตามศักยภาพ

ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 บรหิ ารความเส่ียงด้านความปลอดภยั ความเสมอภาค โอกาสทางการศึกษา
กลยุทธ์
5.1 พัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน มงุ่ วเิ คราะหแ์ ละใหก้ ารช่วยเหลอื สนับสนุนตามความต้องการ ความจาเปน็
สรา้ งความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษาอยา่ งเหมาะสม
5.2 สรา้ งมาตรการดูแลความปลอดภัยของผ้เู รยี นและผ้เู กย่ี วขอ้ ง ดา้ นจราจรและลดความเส่ยี งการบาดเจบ็ จากอุบัตเิ หตุ
ตลอดจนการประสานหน่วยงานภายนอก เพื่อซักซ้อมความเขา้ ใจ การเสริมทักษะดา้ นความปลอดภยั การซ้อมหนภี ยั อยา่ ง
เหมาะสมและต่อเน่อื ง
5.3 กากับ ดูแล ติดตาม จดั ซ้ือ ซอ่ มบารุง อปุ กรณด์ ูแลดา้ นความปลอดภัยในสถานศกึ ษา อาทิ กล้องวงจรปิด เครื่องตัด
ไฟ เครื่องดับเพลงิ ตลอดจนอุปกรณ์อ่นื ๆดา้ นความปลอดภัย ให้มีความพร้อมและมีการทางานตามวงจรได้เต็มประสิทธภิ าพ
5.4 ควบคุม ดูแล ความปลอดภัยดา้ นอาหารและนา้ ดื่ม สุ่มตรวจสอบคณุ ภาพอาหาร สรา้ งมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกนั โรค
ระบาด ตลอดจนประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง หรอื ดาเนนิ การภายในเพื่อการใหค้ วามรู้กับผเู้ รยี น ผู้เกย่ี วข้อง ในการปฏบิ ตั ิ
ตนไม่ใหเ้ จบ็ ปว่ ยจากโรคภัยตา่ งๆอยา่ งเหมาะสม

คู่มอื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑ 11

จดุ เนน้ (FOCUS)

1. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ทุกกลุ่มสาระเพ่ิมขึ้น อย่างน้อย
ร้อยละ 5 (Student Achievement)

2. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น แตล่ ะรายวชิ าไม่น้อยกวา่ 2.50
3. นักเรียนมีภาวะผู้นาตามวิถีประชาธิปไตย สามารถใช้ภาวะผู้นา ในด้านการเรียน การทากิจกรรม

การดารงชวี ิต และบาเพญ็ ประโยชน์เพอ่ื สงั คม
4. นักเรียนทุกคนมีวินัย มีความสานึกในความเป็นไทย ภูมิใจในสถาบันมีจิตสาธารณะ มีทักษะด้านอาชีพ

และยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency & Public Mind)
5. นักเรียนท่ีมีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศิลปศาสตร์ ทุกคนได้รับ

การส่งเสรมิ ให้มีความเปน็ เลศิ (Excel to Excellence)
6. นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อ

การเปลี่ยนแปลงในสงั คมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community)
7. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิภาพและได้รับการรับรองการประเมินคุณภาพ

ภายนอก (Quality School)
8. โรงเรียนบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีและเครอื ข่ายที่เข้มแข็ง

เป้าหมาย (OBJECTIVE)
ผูเ้ รียน (STUDENT)
1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติสามารถ
แลกเปลย่ี น ถ่ายโอนความรู้และแขง่ ขัน ในระดับชาติและนานาชาติ
2. ผู้เรียนมีภาวะผู้นา มีทักษะในการทางาน คุณธรรม จริยธรรม และมีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ รักความเป็นไทย
ปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ ได้อย่างมีความสขุ

12 คู่มอื ปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

3. ผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติและพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถ
ในการปฏิบัติตนบนความหลากหลายทางวัฒนธรรม สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ และมที กั ษะในการใชภ้ าษาต่างประเทศในการสื่อสารและใช้ตาราภาษาตา่ งประเทศได้

4. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีเพ่ือการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน นาเสนอเผยแพร่ แลกเปลี่ยน และ
แข่งขันในระดบั ชาตแิ ละนานาชาตไิ ด้

5. ผู้เรียนและบุคลากรมีสขุ และสุขภาพจติ ทดี่ ี

ครู (TEACHER)

1. ครมู คี วามสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญสามารถใช้
เทคโนโลยีเพ่ือการจดั การเรยี นการสอนและปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

2. ครูมีความสามารถในวิชาชีพ ในระดับที่ผ่านการประเมินระดับชาติ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการ
ส่ือสารและใช้ตาราภาษาต่างประเทศได้

สถานศึกษา (SCHOOL)

1. สถานศกึ ษามีการจัดองค์กร โครงสร้างระบบบริหารงานและพฒั นาองคก์ รอย่างเป็นระบบครบวงจร

2. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม
คณุ ภาพผ้เู รยี นอย่างหลากหลาย

3. สถานศึกษามีเครือข่ายร่วมพัฒนากับสถานศึกษาในระดับท้องถิ่น ระดับภาค ระดับประเทศ และ
นานาชาติ มกี ารสนบั สนุนให้ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่

อัตลกั ษณ์ของโรงเรียน (STUDENT’S CREED) เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น (HALLMARK)

งามอย่างไทย กา้ วไกลเทคโนโลยี มีความเป็นสากล รกั เรียน รงู้ าน ร้หู นา้ ท่ี มนี ้าใจ ภูมิใจในสถาบนั

คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑ 13

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา
โรงเรียนสภาราชินี ใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินและ

รว่ มปรบั ปรุง (PDCA ) ของบคุ ลากรทุกกจิ กรรม มีผรู้ ับผิดชอบดาเนนิ การและรายงานผลให้ผู้เก่ียวข้องทราบ
เป็นระยะเพื่อปรับปรุงผลการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้นและสร้างความตระหนักและจิตสานึ กท่ีดีต่อการพัฒนา
สถานศึกษา

การพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นด้วย “PRASI MODEL”

14 ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

หลักสตู รฐานสมรรถนะ

หลกั สูตรฐานสมรรถนะ คือ หลักสตู รท่ีเน้นการวดั ผลแบบสมรรถนะแทนการท่องจาเน้ือหาเพียงเพื่อนามาสอบ
ซง่ึ เดิมเป็นการวัดผลจากการจาความรู้ แตฐ่ านสมรรถนะวัดผลจากการนาความร้มู าใชง้ าน ที่นามาใช้แทนท่หี ลักสูตรใน
ปัจจุบัน

ฐานคิดของหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ)
1. ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) การเปน็ เจา้ ของการเรียนรู้และพัฒนา

ตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
2. พัฒนาใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดสุขภาวะ (Well-being) ท้งั ในด้านสขุ ภาพ ความฉลาดรู้ สังคมและอารมณ์อยา่ งสมดลุ

รอบด้านและเปน็ องคร์ วม โดยยึดหลกั ความเสมอภาค
3. พฒั นาสมรรถนะที่จาเปน็ เพื่อใช้ในการดารงชวี ิต การแก้ปัญหา ในสถานการณต์ ่าง ๆ ในชวี ิตประจาวนั

และการสร้างประโยชนต์ ่อสังคม
4. พฒั นาผู้เรียนใหร้ ู้เท่าทันและสามารถปรับตัวต่อการเปลย่ี นแปลงของสภาพสงั คมและความก้าวหน้าทาง

วิทยาการ

คูม่ ือปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑ 15
หลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หลักสูตรกาหนดสมรรถนะหลัก (Core Competency) ไว้ 6 ประการ เพ่ือเป็น
เป้าหมายในการพัฒนาความสามารถที่จาเป็นของผู้เรียนต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบันและอนาคต โดยมีนิยามและ
องค์ประกอบของ 6 สมรรถนะที่เด็กไทยควรมีในการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงหลักสูตรฐานสมรรถนะ
วัดผลจากสมรรถนะท้ัง 6 ด้าน ได้แก่ 1. สมรรถนะการจัดการตนเอง 2. สมรรถนะการส่ือสาร 3. สมรรถนะการรวม
พลงั ทางานเปน็ ทมี 4. สมรรถนะการคิดข้ันสงู 5. สมรรถนะการเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง และ 6. การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
และวิทยาการอยา่ งย่ังยืน (ขอ้ 6 เพม่ิ เขา้ มาจากเดิม เพื่อให้เด็กไทยมีสมรรถนะทั้งด้านวิทยาศาสตร์ รู้เท่าทันเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล และอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืน)

สมรรถนะทั้ง 6 ด้าน จะได้รับการพัฒนาผ่านขอบข่ายการเรียนรู้ (Learning Area) 5 ด้าน เพ่ือบูรณาการ
หัวข้อการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาและแสดงความสามารถผ่านมุมมองต่าง ๆ ได้แก่ 1. ขอบข่ายการ
เรยี นรดู้ ้านสุขภาวะกายและจิต 2. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม 3. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านโลก
ของงานและการประกอบอาชีพ 4. ขอบข่ายการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ 5. ขอบข่าย
การเรียนรดู้ า้ นสงั คมและความเปน็ มนุษย์

16 ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

ท้ังสมรรถนะและขอบข่ายการเรียนรู้ถูกออกแบบและพัฒนาบนรากฐานสุขภาวะ (Well being Foundation)
4 ด้าน ซึ่งสถานศึกษาจะต้องสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ิงแวดล้อม และกลไกการบริหารสถานศึกษาให้เอื้อต่อ
การพัฒนา ได้แก่ 1. รากฐานด้านสุขภาพกายและจิต 2. รากฐานด้านสังคมและ อารมณ์ 3. รากฐานด้านความฉลาดรู้
(Literacy, Numeracy, Digital Literacy) 4. รากฐานดา้ นคณุ ธรรมและจริยธรรม

ในการศึกษาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ได้กาหนดระดับความสามารถของผู้เรียน ซึ่งเป็นพฤติกรรมเชิงคุณลักษณะ
ส่วนบุคคลที่แสดงออกให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ รวมท้ังพฤติกรรมการทางานในบทบาทและสถานการณ์
ต่าง ๆ ทท่ี าใหป้ ระสบผลสาเรจ็ โดยได้แบง่ ระดับความสามารถของผู้เรียนเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับเริ่มต้น ระดับกาลัง
พัฒนา ระดับสามารถ และระดับเหนอื ความคาดหวงั

คู่มอื ปฏิบตั ิงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 17

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564

- ค่าสถิตเิ ปรยี บเทยี บ ปีการศึกษา 2559-2563
- ค่าสถิตจิ าแนกตามรายวิชา
- ค่าสถิตจิ าแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้

18 ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑

เปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี O-NET นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นสภาราชินี จงั หวดั ตรงั
ระดับโรงเรยี น เขตพ้ืนที่ และประเทศ ปีการศึกษา 2560-2564

วชิ า ภาษาไทย โรงเรียน เขตพืน้ ท่ี ประเทศ
61.19 49.97 48.29
ปี 73.25 57.67 54.42
2560 69.53 55.91 55.14
2561 68.00 56.43 54.29
2562 46.71 38.74 36.80
2563
2564 -21.29 -17.69 -17.49
ความต่างของคะแนนเฉล่ีย
ปี 2563-2564

วิชา ภาษาอังกฤษ โรงเรียน เขตพน้ื ที่ ประเทศ
37.06 29.76 30.45
ปี 35.79 28.70 29.45
2560 41.95 32.98 33.25
2561 44.04 33.26 34.38
2562 37.77 30.33 31.11
2563
2564 -6.27 -2.93 -3.27
ความตา่ งของคะแนนเฉลีย่
ปี 2563-2564

ค่มู ือปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 19

วิชา คณติ ศาสตร์ โรงเรยี น เขตพื้นที่ ประเทศ
40.81 26.97 26.30
ปี 43.81 31.36 30.04
2560 38.11 26.98 26.73
2561 34.07 24.99 25.46
2562 32.86 24.84 24.47
2563 -0.15 -0.99
2564 -1.21
ความตา่ งของคะแนนเฉลยี่ เขตพื้นที่ ประเทศ
ปี 2563-2564 32.72 32.28
37.47 36.10
วชิ า วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียน 30.22 30.07
40.47 29.70 29.89
ปี 45.92 31.71 31.45
2560 34.61 +2.01 +1.56
2561 34.10
2562 36.25
2563
2564 +2.15
ความตา่ งของคะแนนเฉล่ีย
ปี 2563-2564

20 คู่มอื ปฏิบัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET)
โรงเรยี นสภาราชนิ ี จังหวดั ตรัง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จาแนกตามรายวิชา

วิชา โรงเรยี น เขตพืน้ ท่ี ประเทศ
ภาษาไทย 46.71 38.74 36.80
ภาษาอังกฤษ 37.77 30.33 31.11
คณติ ศาสตร์ 32.86 24.84 24.47
วทิ ยาศาสตร์ 36.25 31.71 31.45

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นท่ี และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ร า ย วิ ช า

80

70

60

50

40

30

20

10

0 ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์

ภาษาไทย

โรงเรียน เขตพน้ื ท่ี ประเทศ

คูม่ ือปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 21

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET)
โรงเรยี นสภาราชนิ ี จังหวดั ตรงั

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 จาแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้

วิชา ภาษาไทย มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1
ระดบั 68.06 62.75 93.28 49.26 69.55
53.51 48.88 79.68 42.03 53.44
โรงเรยี น 52.58 47.94 78.53 41.37 52.27
สงั กดั
ประเทศ

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

100
80
60
40
20
0

มาตรฐาน ท 1.1 มาตรฐาน ท 2.1 มาตรฐาน ท 3.1 มาตรฐาน ท 4.1 มาตรฐาน ท 5.1

โรงเรียน สังกดั ประเทศ

22 ค่มู อื ปฏิบตั ิงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 การอ่าน ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
มาตรฐาน ท 1.1 ชวี ิต และมนี สิ ยั รกั การอ่าน

สาระท่ี 2 การเขียน ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบ
มาตรฐาน ท 2.1 ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ

สาระท่ี 3 การฟงั การดู การพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน

โอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา

ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง

คูม่ อื ปฏิบัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 23

วิชา ภาษาอังกฤษ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ต 1.1 ต 1.2 ต 1.3 ต 2.1 ต 2.2
ระดบั 38.82 41.42 30.47 34.35 42.70
โรงเรียน
สังกัด 30.85 32.94 27.13 33.06 32.11
ประเทศ
31.16 33.38 27.37 33.37 32.36

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

50
40

30

20
10

0
มาตรฐาน ต 1.1 มาตรฐาน ต 1.2 มาตรฐาน ต 1.3 มาตรฐาน ต 2.1 มาตรฐาน ต 2.2

โรงเรียน สังกดั ประเทศ

24 ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี
มาตรฐาน ต 1.2 เหตผุ ล
มาตรฐาน ต 1.3 มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ
คิดเหน็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและ
การเขยี น

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่าง

เหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับ

ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

คมู่ อื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑ 25

วชิ า คณิตศาสตร์

ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ค 1.1 ค 1.2 ค 1.3 ค 2.1 ค 2.2 ค 3.1 ค 3.2
โรงเรยี น
สงั กัด 24.84 26.52 46.19 20.79 32.79 25.20 43.36
ประเทศ
16.65 25.15 29.78 21.03 27.66 16.59 34.58

16.37 25.04 29.31 21.01 27.46 16.23 34.18

*มาตรฐานการเรยี นรู้ทโี่ รงเรียนควรเร่งพัฒนาตนเองเน่ืองจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ากวา่ คะแนนเฉล่ียของ
ประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ค 2.1

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ

50 จาแนกตามมาตรฐานการเรียนรู้

40

30

20

10

0
มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค มาตรฐาน ค
1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2

โรงเรียน เขตพน้ื ท่ี ประเทศ

26 ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลท่ี

เกดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พนั ธ์หรือช่วยแกป้ ัญหาทีก่ าหนดให้

สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกี่ยวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัด และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต

และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนับเบื้องตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

คูม่ อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 27

วิชา วทิ ยาศาสตร์

ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ว 1.1 ว 1.2 ว 1.3 ว 2.1 ว 2.2 ว 2.3 ว 3.1 ว 3.2 ว 4.1 ว 4.2

โรงเรียน 45.33 30.89 45.17 57.48 17.24 34.03 23.60 35.22 34.00 48.01

สังกดั 35.11 27.03 39.68 46.85 18.53 29.86 23.28 30.80 30.81 39.09

ประเทศ 34.48 26.73 39.22 46.48 18.58 29.72 23.38 30.68 30.54 38.75

*มาตรฐานการเรยี นรู้ท่โี รงเรียนควรเร่งพัฒนาตนเองเน่ืองจากคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนตา่ กวา่ คะแนนเฉล่ียของ
ประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ว 2.2

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

70

60

50

40

30

20

10

0

มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ว 1.1 ว 1.2 ว 1.3 ว 2.1 ว 2.2 ว 2.3 ว 3.1 ว 3.2 ว 4.1 ว 4.2

โรงเรยี น สังกดั ประเทศ

28 ค่มู อื ปฏิบัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ ไมม่ ีชวี ิตกับสิ่งมีชีวิต และ

ความสมั พันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวติ กับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด
พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ
ผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ข ปัญหาสิง่ แวดล้อมรวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่
ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ี
ทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชวี ภาพและวิวัฒนาการของสง่ิ มีชีวิต รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอื่ นท่แี บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เก่ยี วข้องกับเสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทง้ั ผลตอ่ สิง่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม

คมู่ ือปฏบิ ัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑ 29

สาระที่ 4 เทคโนโลยี เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่าง
มาตรฐาน ว 4.1 รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
มาตรฐาน ว 4.2 วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
สิ่งแวดลอ้ ม
เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและ
เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการ
แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทัน และมีจริยธรรม

30 ค่มู ือปฏบิ ัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564

- ค่าสถิตเิ ปรยี บเทยี บ ปีการศึกษา 2560-2564
- ค่าสถิติจาแนกตามรายวิชา
- ค่าสถิติจาแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้

คูม่ อื ปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 31

เปรยี บเทยี บค่าเฉลยี่ O-NET นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
ระดับโรงเรียน เขตพ้ืนที่ และประเทศ ปีการศกึ ษา 2560-2564

วิชา ภาษาไทย โรงเรยี น เขตพ้นื ท่ี ประเทศ
61.50 50.02 49.25
ปกี ารศึกษา 61.81 48.16 47.31
2560 53.54 43.02 42.21
2561 58.26 45.91 44.36
2562 45.94 38.78 36.87
2563
2564 -12.32 -7.13 -7.49

ความตา่ งของคะแนนเฉล่ยี เขตพน้ื ท่ี ประเทศ
ปี 2563-2564 34.97 34.70
35.48 35.16
วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 36.10 35.70
36.29 35.93
ปกี ารศกึ ษา โรงเรียน 38.78 36.87

2560 42.36 +2.49 +0.94

2561 42.17 เขตพื้นที่ ประเทศ
26.45 28.31
2562 42.47 31.15 31.41
28.97 29.20
2563 42.17 27.85 29.94
25.70 25.56
2564 45.94
-2.15 -4.38
ความตา่ งของคะแนนเฉล่ยี +3.77
ปี 2563-2564

วิชา ภาษาองั กฤษ โรงเรยี น
37.08
ปกี ารศกึ ษา 43.01
2560 36.92
2561 38.42
2562 40.86
2563
2564 +2.44

ความต่างของคะแนนเฉลี่ย
ปี 2563-2564

32 คู่มอื ปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑

วชิ า คณติ ศาสตร์ โรงเรยี น เขตพน้ื ท่ี ประเทศ
35.48 23.86 24.53
ปกี ารศกึ ษา 44.99 31.04 30.72
2560 35.65 25.62 25.41
2561 38.90 26.33 26.04
2562 33.15 22.08 21.28
2563
2564 -5.75 -4.25 -4.76

ความต่างของคะแนนเฉลย่ี เขตพนื้ ท่ี ประเทศ
ปี 2563-2564 28.97 29.37
30.75 30.51
วิชา วิทยาศาสตร์ โรงเรียน 29.40 29.20
35.45 33.01 32.68
ปกี ารศกึ ษา 36.58 29.78 28.65
2560 33.66
2561 41.39 -3.23 -4.03
2562 34.52
2563
2564 -6.87

ความต่างของคะแนนเฉลย่ี
ปี 2563-2564

คู่มือปฏิบัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 33

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET)
โรงเรียนสภาราชนิ ี จงั หวดั ตรงั

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564 จาแนกตามรายวชิ า

วชิ า โรงเรยี น เขตพ้ืนที่ ประเทศ
ภาษาไทย 62.17 49.57 46.40
สังคมศึกษาฯ 45.94 38.78 36.87
ภาษาอังกฤษ 40.86 25.70 25.56
คณิตศาสตร์ 33.15 22.08 21.28
วิทยาศาสตร์ 34.52 29.78 28.65

กราฟเส้นเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี O-NET ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6
ระดบั โรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ
จาแนกตามรายวิชา

70 สังคมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
60
50
40
30
20
10
0

ภาษาไทย

โรงเรยี น เขตพืน้ ที่ ประเทศ

34 ค่มู อื ปฏิบัติงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET)
โรงเรยี นสภาราชินี จังหวดั ตรงั

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564 จาแนกตามมาตรฐานการเรยี นรู้

วิชา ภาษาไทย

ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

โรงเรยี น 71.88 66.59 93.18 46.48 58.26
84.50 36.18 42.95
สังกัด 53.49 54.17 83.18 35.36 41.44

ประเทศ 51.90 52.61

*หมายเหตุ: คะแนนเต็ม 100 คะแนน

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

100
80
60
40
20
0

มาตรฐาน ท 1.1 มาตรฐาน ท 2.1 มาตรฐาน ท 3.1 มาตรฐาน ท 4.1 มาตรฐาน ท 5.1

โรงเรียน สังกดั ประเทศ

ค่มู ือปฏบิ ตั ิงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 35

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 การอา่ น ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่อื นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
มาตรฐาน ท 1.1 ชีวิต และมนี สิ ัยรักการอ่าน

สาระท่ี 2 การเขียน ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
มาตรฐาน ท 2.1 ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

สาระที่ 3 การฟัง การดู การพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึก

ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษา และพลัง

ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

36 ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑

วชิ า สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ระดบั โรงเรียน สังกดั ประเทศ

มาตรฐาน ส 1.1 59.86 54.46 53.81
39.51 39.21
มาตรฐาน ส 1.2 50.48 41.97 40.89
32.92 32.17
มาตรฐาน ส 2.1 53.80 29.96 29.39
33.07 32.86
มาตรฐาน ส 2.2 46.15 23.75 23.51
30.49 30.18
มาตรฐาน ส 3.1 44.55 43.17 42.27
31.61 31.27
มาตรฐาน ส 3.2 41.35 35.38 34.65

มาตรฐาน ส 4.1 26.92

มาตรฐาน ส 4.2 33.46

มาตรฐาน ส 4.3 53.91

มาตรฐาน ส 5.1 34.29

มาตรฐาน ส 5.2 43.49

*หมายเหตุ: คะแนนเต็ม 100 คะแนน

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษาฯ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

70
60
50
40
30
20
10
0

มาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐานมาตรฐาน
ส 1.1 ส 1.2 ส 2.1 ส 2.2 ส 3.1 ส 3.2 ส 4.1 ส 4.2 ส 4.3 ส 5.1 ส 5.2

โรงเรียน สังกดั ประเทศ

คู่มอื ปฏิบตั ิงานครู ปกี ารศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑ 37

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตน

นับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน
อย่างสนั ติสุข
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาทต่ี นนับถือ

สาระที่ 2 หน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงาม และธารงรักษา

ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสงั คมไทย และสงั คมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่ง

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่

มีอยูจ่ ากดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เพอื่ การดารงชวี ติ อยา่ งมดี ุลยภาพ
มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจาเป็น
ของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก

สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ

เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญ และสามารถวิเคราะห์
ผลกระทบที่เกิดขนึ้
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธารงความเปน็ ไทย

สาระที่ 5 ภมู ศิ าสตร์ เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนท่ี
มาตรฐาน ส 5.1 และเครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทาง
ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถี
การดาเนินชีวิต มจี ติ สานกึ และมสี ว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
พฒั นาที่ย่งั ยืน

38 ค่มู อื ปฏิบัติงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

วชิ า ภาษาอังกฤษ

ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ต 1.1 ต 1.2 ต 1.3 ต 2.1 ต 2.2 ต 3.1 ต 4.1 ต 4.2

โรงเรยี น 32.47 47.36 52.00 60.77 34.92 33.11 61.28 26.20

สังกัด 22.78 28.36 26.48 29.35 24.86 23.29 34.36 22.00

ประเทศ 22.64 27.92 26.04 28.81 24.72 23.19 33.59 22.06
*หมายเหตุ: คะแนนเต็ม 100 คะแนน

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

70
60
50
40
30
20
10
0

มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ต 1.1 ต 1.2 ต 1.3 ต 2.1 ต 2.2 ต 3.1 ต 4.1 ต 4.2

โรงเรยี น สงั กัด ประเทศ

คมู่ ือปฏบิ ตั ิงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑ 39

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 ภาษาเพอื่ การสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรื่องท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี

เหตผุ ล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความ

คดิ เหน็ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นต่าง ๆ โดยการพูดและการ

เขียน

สาระที่ 2 ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่าง

เหมาะสม
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ

ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

สาระที่ 3 ภาษากบั ความสมั พันธก์ บั กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ น่ื
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความร้กู ับกลุ่มสาระเรียนรู้อ่นื และเปน็ พน้ื ฐานในการ

พัฒนาแสวงหาความรแู้ ละเปดิ โลกทศั นข์ องตน

สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่าง ๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม
มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเครื่องมอื พ้นื ฐานในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพและการแลกเปลี่ยน
เรยี นรูก้ บั สงั คมโลก

40 ค่มู อื ปฏิบตั ิงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑

วชิ า คณติ ศาสตร์

ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ค 1.1 ค 1.2 ค 1.3 ค 3.1 ค 3.2

โรงเรียน 34.82 29.90 25.00 45.28 18.93
24.05 28.21 15.94
สงั กัด 19.56 20.12 23.49 27.32 15.88

ประเทศ 19.15 19.50
*หมายเหตุ: คะแนนเต็ม 100 คะแนน

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

50
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0

มาตรฐาน ค 1.1 มาตรฐาน ค 1.2 มาตรฐาน ค 1.3 มาตรฐาน ค 3.1 มาตรฐาน ค 3.2

โรงเรยี น สงั กดั ประเทศ

ค่มู อื ปฏิบัติงานครู ปีการศกึ ษา 256๕ ภาคเรียนท่ี ๑ 41

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวนผล

ทีเ่ กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแก้ปญั หาท่ีกาหนดให้

สาระที่ 3 สถิติและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการแก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนบั เบอ้ื งต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

42 คู่มอื ปฏบิ ัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑

วิชา วิทยาศาสตร์

ระดบั โรงเรยี น สังกดั ประเทศ

มาตรฐาน ว 1.1 17.05 16.76 16.54
41.01 40.35
มาตรฐาน ว 1.2 53.96 19.61 19.38
มาตรฐาน ว 1.3 25.00 26.87 26.72
มาตรฐาน ว 2.1 27.13 23.20 23.01
24.88 24.73
มาตรฐาน ว 2.2 25.00 11.44 11.58
25.47 25.29
มาตรฐาน ว 2.3 30.29 41.91 40.31
มาตรฐาน ว 3.1 12.50 50.63 49.15
มาตรฐาน ว 3.2 27.53

มาตรฐาน ว 4.1 55.68

มาตรฐาน ว 4.2 67.42

*หมายเหตุ: คะแนนเต็ม 100 คะแนน

กราฟเส้นเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ระดับโรงเรียน ระดับสังกัด และระดับประเทศ
จา แ น ก ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้

โรงเรยี น สงั กดั ประเทศ
80
70
60
50
40
30
20
10
0

มาตรฐาน ว 1.1
มาตรฐาน ว 1.2
มาตรฐาน ว 1.3
มาตรฐาน ว 2.1
มาตรฐาน ว 2.2
มาตรฐาน ว 2.3
มาตรฐาน ว 3.1
มาตรฐาน ว 3.2
มาตรฐาน ว 4.1
มาตรฐาน ว 4.2

คมู่ ือปฏิบัติงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑ 43

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ

ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลีย่ นแปลงแทนทีใ่ นระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่
มีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
การแกไ้ ขปญั หาส่งิ แวดลอ้ มรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่
ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ี
ทางานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชีวภาพและววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ิต รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่อื นที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่
เก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ
ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทงั้ ผลตอ่ ส่ิงมชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

44 ค่มู อื ปฏิบตั ิงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นที่ ๑

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่าง
มาตรฐาน ว 4.1 รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
มาตรฐาน ว 4.2 วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
สิง่ แวดลอ้ ม
เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและ
เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการ
แก้ปญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม

คู่มือปฏบิ ัติงานครู ปีการศึกษา 256๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ 45

ปฏิทินวิชาการ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

สปั ดาห์ท่ี วัน/เดอื น/ปี กจิ กรรม จานวนวัน ผูร้ บั ผิดชอบ
ครทู ุกคน
เตรยี ม 30 เม.ย.65 ประชมุ ครกู ่อนเปดิ ภาคเรยี น 4 คณะกรรมการ

ความ 1-2 พ.ค. 65 ประชมุ ผปู้ กครองนักเรียน ม.1 และ 4 คณะกรรมการ
5
พรอ้ ม ม.4 ปีการศกึ ษา 2565 4 ครูทุกคน

3-4,5-6 พ.ค. 65 ปฐมนิเทศและค่ายอตั ลักษณ์นักเรยี น 5 ครทู ุกคน
5 ครทู ุกคน
ม.1 และ ม.4 ปีการศึกษา 2565 5 ครูทุกคน
5
1 9-12 พ.ค.65 เปิดภาคเรียน 1/2565 5 ครทู กุ คน
3 ครทู กุ คน
จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ ครทู กุ คน
5 ครทู ุกคน
13 พ.ค. 65 วนั พชื มงคล 4
5 ครูทกุ คน
2 16 พ.ค.65 ชดเชยวนั วิสาขบูชา 4
5 ครทู ุกคน
17-20 พ.ค.65 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ 5
ครทู กุ คน
3 23-27 พ.ค.65 จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ ครูทุกคน

4 30-31 พ.ค.- จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนปกติ ครูทกุ คน
ครูทกุ คน
1-2 มิ.ย.65
ครทู กุ คน
3 ม.ิ ย.65 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษาพระบรมราชนิ ี ครทู ุกคน

5 6-10 มิ.ย.65 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ

6 13-17 มิ.ย.65 จดั กิจกรรมการเรียนการสอนปกติ

7 20-24 มิ.ย.65 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ

8 27-30 ม.ิ ย.- จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ

1 ก.ค.65

9 4 ก.ค.65 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ

5-8 ก.ค.65 สอบกลางภาค

10 11-12 ก.ค. 65 สอบกลางภาค

13-14 ก.ค.65 วันอาสาฬหบูชา,วนั เขา้ พรรษา

15 ก.ค. 65 จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนปกติ

11 18-22 ก.ค.65 จดั กิจกรรมการเรียนการสอนปกติ

12 25-27,29 ม.ค.65 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ

28 ก.ค.65 วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ร.10

13 1-5 ส.ค.65 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ

14 8-11 ส.ค.65 จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนปกติ

12 ส.ค.65 วันแม่แหง่ ชาติ

15 15-19 ส.ค.65 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนปกติ

16 22-26 ส.ค.65 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ

46 ค่มู อื ปฏบิ ัติงานครู ปกี ารศึกษา 256๕ ภาคเรียนที่ ๑

สปั ดาหท์ ี่ วัน/เดอื น/ปี กิจกรรม จานวนวัน ผรู้ บั ผิดชอบ

17 29-31 ส.ค.-2 จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนปกติ 5 ครูทุกคน

ก.ย.65

18 5-9 ก.ย.65 จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนปกติ 5 ครูทกุ คน

19 12-15 ก.ย.65 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนปกติ 5 ครทู ุกคน

16 ก.ย.65 สอบปลายภาค

20 19-23 ก.ย.65 สอบปลายภาค 5 ครทู กุ คน

26-28ก.ย.65 ครูจดั ทารายงาน ปพ.5 ในระบบ ครทู ุกคน

SGS

28 ก.ย.65 ประชมุ ครูก่อนปิดภาคเรียน ครูทกุ คน

30 ก.ย.65 ส่งปพ.5 ตอ่ กลุ่มสาระฯ ครทู กุ คน

3 ต.ค.65 สง่ ปพ.5 ตอ่ งานวัดผล หวั หน้ากลุ่ม

-รายงานนักเรียนสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ สาระและ

การประเมนิ งานวดั ผล

-ประกาศรายช่ือนักเรยี นสอบไม่ผ่าน

-นกั เรยี นยนื่ คารอ้ งสอบแกต้ ัวครงั้ ท่ี 1

4-6 ต.ค.65 -ดาเนนิ การสอบแก้ตวั คร้งั ท่ี 1 ครปู ระจาวชิ า

7 ต.ค.65 -สง่ ผลการสอบแก้คร้ังท่ี 1 ตัวตอ่ งาน ครแู ละ

วัดผล งานวดั ผล

-ประกาศผลการสอบแกต้ ัวครั้งท่ี 1

10 ต.ค.65 ปิดภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

21 ต.ค. 65 ประชุมครเู ตรียมความพร้อมกอ่ นเปิด ครทู กุ คน

ภาคเรียน 2 ปกี ารศึกษา 2565

23 ต.ค.65 คณะคร-ู นกั เรียนรว่ มวันปิยะมหาราช

25 ต.ค. 65 เปิดเรยี นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา ครูทกุ คน

2565

กาหนดการดาเนินการสอบแกต้ วั คร้ังท่ี 2 ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565

*****หมายเหตุ: ท้ังนีเ้ ป็นการกาหนดปฏทิ ินการดาเนนิ งานในเบอื้ งตน้ ซง่ึ อาจมีการปรับเปลยี่ นตามสถานการณ์
เหตุพิเศษ


Click to View FlipBook Version