The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2565 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phraharuthai Nonthaburi, 2023-05-29 03:57:40

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2565

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปี 2565 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี

โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 69 2) ประหยัดและพอเพียง ครูปลูกฝังให้เด็กเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางรัชกาลที่ 9 โดยบูรณาการเกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในหน่วยการเรียนรู้ ปลูกฝังให้เด็กใช้สิ่งของอย่างประหยัด เช่น ดินสอ สี ดื่มนม และรับประทานอาหาร ให้หมดไม่เหลือทิ้ง เป็นต้น 3) มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน ครูปลูกฝังให้เด็กเรียนรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การใช้น้ำ ไฟ อย่างประหยัด การดูแล สิ่งแวดล้อม การรักษาความสะอาด แม่น้ำ คลอง การร่วมดูแลต้นไม้เพื่อช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมในการดูแล ความสะอาดโต๊ะเรียน ความเป็นระเบียบในการจัดวางสิ่งของต่างๆ การดูแลรักษาความสะอาดทั้งในและนอกห้องเรียน เป็นต้น 4) มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ฯลฯ ครูปลูกฝังให้เด็กมีมารยาทที่ดี งดงามตามแบบไทย สัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ตามอัตลักษณ์ของโรงเรียน รัก สุภาพ ซื่อสัตย์ เมตตา และมีการบูรณาการในจัดหน่วยการจัดประสบการณ์ เกี่ยวกับมารยาท เช่น การพูด การฟัง การนั่ง ฝึกการไหว้สวย การไหว้ผู้ใหญ่ การกล่าวขอบคุณ ขอโทษ การเดิน การพูดมีหางเสียง จัดให้เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรมอัต ลักษณ์ลูกพระหฤทัย กิจกรรมสอนลูกปลูกวินัย เป็นต้น 5) ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น ครูปลูกฝังให้เด็กอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างทางเพศ อายุ ศาสนา หรือเชื้อชาติ ให้ยอมรับความแตกต่างจาก เพศ หญิง ชาย สอนให้รู้จักการเคารพความแตกต่างของเพื่อน อายุ หรือต่างเชื่อชาติ ต่างศาสนา โดยการบูรณาการใน หน่วยการเรียนรู้และการดูคลิปเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นต้น 6) เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัดแย้งโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง ครูจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นและทำงานร่วมกับเพื่อน เช่น กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรม Sport Day กิจกรรมค่าย Day Camp กิจกรรม Cooking การทำศิลปะกลุ่ม กิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์ กิจกรรมเล่นตามมุม กิจกรรมเล่น กลางแจ้ง เพื่อให้เด็กสามารถแก้ปัญหาจากการเล่น การทำงาน โดยไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา เด็กได้แก้ปัญหาจาก การเล่นด้วยกัน ทำกิจกรรมต่างๆด้วยกัน ส่งผลให้เด็กสามารถเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 1) สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ครูจัดให้เด็กได้เล่าเรื่อง สนทนาโต้ตอบกับครูในการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยส่งเสริมให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่า เรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจได้จากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ครูกระตุ้นให้เด็กสนทนา โต้ตอบกับครู จัดให้มีมุมหนังสือในห้องเรียน ส่งเสริมให้อ่านนิทานจากมุมหนังสือในห้องเรียน และเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้ เหมาะสมกับวัย ให้เด็กเล่าเรื่องหน้าห้องจากที่พบเห็น ให้เด็กอ่านหนังสือนิทาน ดูนิทานแล้วเล่าเรื่องจากภาพ เป็นต้น


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 70 2) ตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ ครูส่งเสริมให้เด็กรู้จักตั้งคำถามในสิ่งที่ตนสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ โดยครูตั้งคำถามให้เด็กได้ โต้ตอบกับครูในการร่วมกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ส่งเสริมให้ตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหา คำตอบ จากการเรียนในห้องเรียน นอกห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการผ่าน การเล่น เข้าร่วมกิจกรรมสนุกกับภาษาจีน กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการการอ่านและการเขียน กิจกรรม English For Fun ส่งผลให้เด็กมีทักษะการสื่อสารที่เหมาะสมกับวัย สามารถสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ รู้จักตั้งคำถามในสิ่งที่ตน สนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ 3) อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย ครูส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน โดยผ่านกิจกรรมการเล่านิทานในทุกเช้าวันอังคาร มีการเล่านิทานให้เด็กฟัง และให้เด็กเล่าเรื่องจากที่ฟังอีกครั้ง ให้ดูคลิปนิทาน ให้เด็กอ่านนิทานจากมุมหนังสือในห้องเรียน และให้เล่าเรื่องที่ตนเองอ่าน ให้พ่อแม่ และครูฟัง ได้เหมาะสมกับวัย 4) มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์การคิดแก้ปัญหาและ สามารถตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ ได้ ครูจัดกิจกรรมด้านคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับ จำนวน ตัวเลข รูปทรงต่างๆ ขนาด รูปร่าง ครูจัดกิจกรรมเสริม ประสบการณ์เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยบูรณาการ กับหน่วยการเรียนรู้ ฝึกให้ใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแสวงหาความรู้การฝึกหาความหมายทางคณิตศาสตร์และ การนำเสนอการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ได้เหมาะสมกับวัย เช่น การเปรียบเทียบ การเรียนรู้จำนวน ตัวเลข เงิน เวลา การวัด ตวง เรียนรู้รูปทรงต่างๆ เรียนรู้เรื่อง มิติสัมพันธ์ เป็นต้น เด็กสามารถบอกคุณลักษณะคุณสมบัติของสิ่งของ ได้ เช่น นิ่ม แข็ง ขรุขระ หนา บาง เย็น ร้อน ความเหมือนความแตกต่างเช่น รูปทรง สี รูปภาพ จำแนกประเภทจัดหมวดหมู่ เช่น สิ่งของ เครื่องใช้ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต และบอกความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้ได้ด้วย ตนเองอย่างถูกต้องคล่องแคล่วและชัดเจน กิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์ เด็กได้เรียนรู้การทดลองวิทยาศาสตร์ โดยผ่าน กิจกรรมการทดลองที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการทดลองการวิทยาศาสตร์ ตามหน่วย โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการสังเกตสงสัย การซักถาม การตั้งคำถาม คาดคะเนคำตอบ การตั้งสมมติฐาน ออกแบบวิธีการหาความรู้ลงมือทำด้วยตนเอง โดยร่วมกันทำเป็นกลุ่มบันทึกการเรียนรู้นำ เสนอข้อมูลการเรียนรู้ที่ได้ด้วย ตนเอง จัดหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ มีการสังเกต สำรวจ สืบค้น และสรุปข้อมูลจากการทดลอง เด็กได้ใช้ แว่นขยาย ในการส่องดูพืช แมลงต่างๆ ใช้กล้องจากมือถือของครูถ่ายรูป ดอกไม้ ต้นไม้ แมลง แมง และเด็กได้ใช้อุปกรณ์ ในการทดลอง ถ้วยตวง แก้ว และเทียน ครูฝึกให้เด็กสามารถคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้ จากการ เล่น การทำกิจกรรมกลุ่ม และเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา มีความคิดรวบยอดในสิ่งที่ เรียนรู้ การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 5) สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ ฯลฯ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 71 ครูส่งเสริมให้เด็กสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีรายละเอียดมีความแปลกใหม่และหลากหลายเหมาะสมกับวัย ผ่านค่าย ศิลปะสร้างสรรค์ โดยให้วาดภาพระบายสีตามจินตนาการ เคลื่อนไหวร่างกายตามเพลง การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ จัดให้เด็ก ได้ทำงานศิลปะที่หลากหลายตามจินตนาการ เช่น ปั้นดินน้ำมันและปั้นดินน้ำมัน วาดภาพ ระบายสี จัดกิจกรรมเล่นตามมุม เด็กเล่นต่อบล็อก เล่นบทบาทสมมุติการเข้าเรียนที่ห้องศูนย์การเรียนรู้ทำให้มีทักษะการคิดพื้นฐาน การออกแบบผลงานตาม ความคิด จินตนาการ และแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย 6) ใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล ฯลฯ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้ ครูส่งเสริมให้เด็กมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ตรง และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้ใช้สื่อเพื่อแสวงหาความรู้ ในห้องเรียนทุกห้องมีการติดตั้ง สมาทร์ทีวี เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน ครูให้เด็กใช้แว่นขยาย ในการสำรวจพืช ใบไม้ สัตว์เล็กๆ ใช้แม่เหล็ก ทำการทดลอง ใช้ กล้องในการถ่ายภาพ แมลง พืช มด ผีเสื้อ และใช้อุปกรณ์การทดลองวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 72 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ (ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับ บริบทของท้องถิ่น 1.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ✓ 1.2 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและ ไม่เร่งรัดวิชาการ ✓ 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ผ่านการ เล่น และการลงมือปฏิบัติ (Active learning) ✓ 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองความ ต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น ✓ 1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนา หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ✓ 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 2.1 จัดครูครบชั้นเรียน ✓ 2.2 จัดครูให้มีความเหมาะสมกับภารกิจการจัด ประสบการณ์ ✓ 2.3 จัดครูไม่จบการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรม การศึกษาปฐมวัย ✓ 2.4 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัย ✓ 2.5 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัยและผ่านการอบรม การศึกษาปฐมวัย ✓ 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 3.1 มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ✓ 3.2 ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ✓ 3.3 ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการ จัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สังเกตและประเมินพัฒนาการเด็ก เป็นรายบุคคล ✓ 3.4 ส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัว ✓ 3.5 ส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ✓


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 73 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ (ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 4.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนที่คำนึงถึงความ ปลอดภัย ✓ 4.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความ ปลอดภัย ✓ 4.3 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่น แบบร่วมมือร่วมใจ ✓ 4.4 จัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ ที่ ปลอดภัยและเพียงพอ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจาก ธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยีการ สืบเสาะหาความรู้ ✓ 4.5 จัดห้องประกอบที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์และ พัฒนาเด็ก ✓ 5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ ✓ 5.1 อำนวยความสะดวกและให้บริการสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ ✓ 5.2 พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้ สื่อในการจัดประสบการณ์ ✓ 5.3 มีการนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ ✓ 5.4 มีการนำผลการนิเทศติดตามการใช้สื่อมาใช้เป็นข้อมูล ในการพัฒนา ✓ 5.5 ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพัฒนาสื่อ และ นวัตกรรมเพื่อการจัดประสบการณ์ ✓ 6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี ส่วนร่วม 6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา ✓ 6.2 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่ สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน ✓ 6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน สถานศึกษา ✓


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 74 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ (ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 6.4 มีการติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผล การประเมินตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมิน ตนเอง ให้หน่วยงานต้นสังกัด ✓ 6.5 นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน ร่วม ✓ สรุปผลการประเมิน 5 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 โรงเรียนจัดระบบการบริหารจัดการในวางแผนการบริหารจัดการด้วยการใช้ระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ งานฝ่ายปฐมวัย ซึ่งเป็นงานฝ่ายหนึ่งที่มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบทั้งด้านการจัดสรรบุคลากร การจัดทำโครงสร้างในการ บริหารงาน การดำเนินการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ โดยประสานร่วมกันกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้กำหนด แนวทาง และการวางแผนในการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยยึดแนวทางการพัฒนาตามนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ การพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาชาติและแนวนโยบาย ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ดังนั้น จึงได้ระดมพลังสมองมีการประชุมคณะกรรมการจัดการศึกษา วางแผนในการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยผ่านกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น โรงเรียนได้จัดหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และ บริบทของท้องถิ่น โดยมีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน ซึ่งหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัยเป็นรูปแบบเน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างของเด็กแต่ละคน โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้และได้สร้างนวัตกรรม Happiness Education for Early childhood by Oasis Model ที่เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีที่บูรณาการเป้าหมายสำคัญของหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย ได้แก่ พัฒนาการของเด็ก กิจกรรมหลักประจำวันที่จัดให้กับเด็ก และ สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร โดยการบูรณาการ ความสุขเข้าไปในทุกนาทีที่เด็กอยู่โรงเรียนจากบุคลากรทุกฝ่ายประดุจน้ำซึมเข้าไปในโอเอซิสและทำให้ดอกไม้ทุกดอกที่ปักลง บนโอเอซิสได้รับความชุ่มน้ำและมีชีวิตชีวา เปรียบเสมือนเด็กได้เรียนรู้บนความสุขส่งผลให้เด็กเกิดพฤติกรรมความสุขและการ เรียนรู้ที่ยั่งยืน และได้มีการประเมิน ตรวจสอบ ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 75 2. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน การจัดบุคลากรในระดับปฐมวัย โรงเรียนได้แต่งตั้ง และจัดครูที่มีวุฒิการศึกษาปฐมวัย พี่เลี้ยงที่ดูแลเด็กในการปฏิบัติ หน้าที่ตามความเหมาะสม และครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่และผ่านการอบรมด้านการศึกษาปฐมวัย การมี บุคลิกภาพที่ดีมีความรักในวิชาชีพครูรักเด็ก มีเมตตา และยึดมั่นในอุดมการณ์การเป็นครูโดยแต่ละห้องเรียนมีครูผู้สอนห้อง ละ 1 คน พี่เลี้ยงเด็กห้องละ 1 คน และมีครูที่จบวุฒิการศึกษาปฐมวัยจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 57.89 ส่วนครูที่ไม่ได้จบ ด้านปฐมวัยแต่ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัยและประสบการณ์ด้านการสอนจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 42.11 ซึ่งครูและ พี่เลี้ยงเด็กได้รับการอบรมพัฒนาร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่และเตรียมความพร้อมรวมถึงการใช้หลักจิตวิทยาในการอยู่ร่วมกับ เด็กอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นให้ครูมีการบริหารชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก การมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง และมีการ อบรมพัฒนาตนเองในระบบของโรงเรียนและผ่านการอบรมออนไลน์ไม่น้อยกว่า 60 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โรงเรียนได้มีการส่งเสริมให้ครูปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่องจากหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานต่างๆที่จัดขึ้น เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ผ่านการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ บูรณาการแนวคิด Happiness Education ที่เด็กได้ใช้การเรียนรู้อย่างมีความสุขจากการปฏิบัติจริงเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส ทั้ง 5 พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนกสรุปความคิดรวบยอด การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์และจัด กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ โดยคำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของเด็ก เน้นพัฒนาการ 4 ด้านและผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ส่งเสริมในการพัฒนาครูผู้สอนด้วยการประชุม อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประเมินพัฒนาการเด็กโดยประเมิน ควบคู่กับการจัดประสบการณ์ตามปกติในชีวิตประจำวัน ประเมินอย่างต่อเนื่อง ครูผู้สอนมีแบบบันทึกการประเมิน และ เครื่องมือในการประเมินที่สามารถสรุปผลการพัฒนาตามสภาพจริงทั้งแบบรายบุคคลและโดยรวม พร้อมนำผลการประเมินให้ ผู้ปกครองร่วมพิจารณาเพื่อนำมาพัฒนาเด็กตามความสามารถของเด็กแต่ละคน และยังมีการบูรณาการสอนกับการประเมิน เน้นความก้าวหน้าของเด็ก โดยการสังเกตบันทึกพฤติกรรมการสนทนากับเด็ก การวิเคราะห์จัดทำข้อมูลเด็ก ครูผู้สอนออกแบบ การจัดกิจกรรมประเมินพัฒนาการผู้เรียนรายบุคคล และส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว โดยครูพบปะ พูดคุยทักทายเมื่อผู้ปกครองมาส่งเด็ก การสื่อสารข้อมูลข่าวสารผ่านทางจดหมายกลุ่มไลน์ facebook อย่างสม่ำเสมอ ใช้การ สื่อสารทางสื่อสัมพันธ์บ้าน และโรงเรียนโดยใช้หลักการสร้างสัมพันธภาพที่ดีคือ เอาใจใส่กันเสมอ สร้างความเข้าใจ ความรู้สึก ที่ดีการพูดให้เกียรติซึ่งกันและกัน ให้เวลาในการพัฒนาเด็กร่วมกัน ซึ่งการดำเนินการได้รับการตอบรับความร่วมมือจาก ผู้ปกครองเป็นอย่างดี 4. การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 76 โรงเรียนดำเนินงานในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด สวยงาม และมีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ สวยงาม สะอาด ปลอดภัย และมีความมั่นคงเป็นสัดส่วนเฉพาะเด็กระดับปฐมวัย มีอาณาเขตบริเวณที่เด็กอยู่แยกเฉพาะอาคาร เด็กปฐมวัย โดยภายในอาคารเรียนจัดสภาพห้องเรียนสะอาด ในห้องเรียนมีห้องน้ำ จุดที่แปรงฟัน ล้างมือ และสภาพห้องเรียน แต่ละห้องสะอาด ปลอดโปร่ง อากาศถ่ายเทได้ดีแสงสว่างเพียงพอ ทุกห้องเรียนเป็นระเบียบเรียบร้อย และภายในอาคารยังมี ห้องปฏิบัติการ ห้องศูนย์การเรียนรู้ห้องโถงอเนกประสงค์ใช้ในการทำกิจกรรม หรือจัดงานพิธีการเฉพาะเด็กปฐมวัย มีห้อง ประกอบการต่างๆ ที่เอื้อต่อเด็กอยู่ภายในตัวอาคาร ภายนอกอาคารได้จากสภาพแวดล้อมร่มรื่น สวยงาม มีสนามเด็กเล่น ศาลาที่พัก จุดที่เด็กสามารถปีนป่ายมุดลอดได้ ด้านหลังอาคารมีสถานที่ปลูกต้นไม้มีสถานที่เล่นน้ำเล่นทราย มีต้นไม้สื่อธรรมชาติสถานที่รับส่งนักเรียน การดูแลเรื่องความสะอาด และความปลอดภัยของเด็ก โรงเรียนจัดระบบการรับส่งเด็กโดยมีการสำรวจผู้ที่จะมารับส่ง การเดินทางมาโรงเรียนของเด็ก เพื่อความปลอดภัยป้องกันการล่อลวง หรือลักพา ความปลอดภัยด้านระบบไฟฟ้าจะมีการดูแล ให้สูง และมีป้าย มีฝาปิด ป้องกันเด็กเล่น เครื่องเล่นของใช้อุปกรณ์ที่เด็กจับถือเล่นร่วมกันจะมีการล้างทำความสะอาดใหม่ทุก วัน ความปลอดภัยทางเข้าออกโรงเรียนจะมีเวลาในการเปิดปิดประตูป้องกันเด็กออกจากโรงเรียน หรือบุคคลภายนอกเข้ามา ในโรงเรียนด้านความปลอดภัยในการดูแลเด็ก จะมีครูเวรรักษาการณ์ประจำตามจุดต่างๆ เพื่อตรวจตราและอำนวยความ สะดวก 5. การให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์โรงเรียนได้มีการจัดบริการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านวัสดุอุปกรณ์มีเครื่อง คอมพิวเตอร์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน จัดเป็นห้องเรียนให้นักเรียนเรียนรู้และจัดสำหรับบริการครูในการศึกษา ค้นคว้า มี เครื่องคอมประจำสำนักงาน มีการติดตั้งระบบ wifi เพื่อบริการให้ครูได้ใช้สื่อประเภทภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว YouTube และ ระบบการใช้สื่อ ในห้องเรียนทุกห้องมีจอโทรทัศน์สำหรับใช้ในการนำเสนอสื่อ การบริหารด้านการผลิตสื่อสร้างสรรค์ทุก ระดับชั้นที่ครูผลิตให้สอดคล้องตามสาระการเรียน ซึ่งส่งผลให้ครูผู้สอนได้รับความสะดวก และรวดเร็วในการใช้เทคโนโลยี และ มีการนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์โดยผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าระดับชั้นร่วมนิเทศการสอนแบบ กัลยาณมิตร นิเทศภาคเรียนและ 1 ครั้ง พร้อมกับนำผลการนิเทศมาปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก โรงเรียน ได้สนับสนุนในการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม โดยการเข้าร่วมกิจกรรมการผลิตนวัตกรรมร่วมกับโรงเรียนในเครือคณะพระหฤทัย โดยส่งนวัตกรรมเข้าประกวดและเผยแพร่ได้แก่นวัตกรรมทางการศึกษาประเภทบริหารสถานศึกษา คือ Happiness Education for Early Childhood by Oasis Model และนวัตกรรมด้านครูผู้สอน คือ นวัตกรรม Strawberry love and share, นวัตกรรม Coding Unplugged ส่งเสริมทักษะด้านสติปัญญา นวัตกรรมวงล้อหรรษา เพื่อพัฒนาทักษะด้านจำนวน และนวัตกรรม นิทานส่งเสริมอัตลักษณ์พระหฤทัย เป็นต้น 6. มีระบบบริหารคุณภาพ เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 77 โรงเรียนพัฒนาด้านการบริหารคุณภาพ โดยกำหนดแนวทางในการพัฒนาตามจิตตารมณ์พระหฤทัยฯโดยมีการ วางแผนทิศทางการพัฒนา และการกำหนดนโยบายสอดคล้องตามมาตรฐาน และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มุ่งพัฒนาด้าน ภาษาและเทคโนโลยี มีแผนปฏิบัติงานประจำปีโครงการ และกิจกรรมตามกลยุทธ์และนอกจากนี้ยังมีการดำเนินการในการ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และดำเนินการตามแผนมีระบบการตรวจสอบ คุณภาพภายในสถานศึกษา และระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามระเบียบและกฎกระทรวง 2561 ตามลำดับ ขั้นตอนการกำหนดมาตรฐานกำหนดค่าเป้าหมายการจัดทำแผนพัฒนาแผนปฏิบัติการและนิเทศกำกับติดตามประเมินผลการ พัฒนาการปฏิบัติงานและกำกับติดตามตรวจสอบประเมินผล และรายงานผลการประเมินตนเองประจำปีการศึกษาว่าเสร็จสิ้น แต่ละปีการศึกษา ให้นำผลมาปรับปรุงพัฒนาและทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนางานแต่ละฝ่ายอย่างเป็นระบบและมีบุคลากร รับผิดชอบดำเนินการในการปฏิบัติงานกำกับติดตามรายงานผลการทำงานตามระบบส่งผลให้เกิดการพัฒนาคุณภาพในการบริ หารจัดการและสร้างเสริมให้เกิดประสิทธิภาพ การประเมินผลระบบการบริหารจัดการโดยการติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพในการดำเนินการและนำผลการ ประเมินมาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาและแก้ไขปัญหาแต่ละด้านส่งผลให้ระบบการบริหารจัดการเกิดประสิทธิภาพ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 78 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่าน เกณฑ์ที่ กำหนด 1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี พัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพ 90.18 1.1 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็น รายบุคคล ✓ 1.2 จัดทำแผนและใช้แผนการจัด ประสบการณ์จากการวิเคราะห์ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ใน หลักสูตรสถานศึกษา ✓ 1.3 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้าน อารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา โดย ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้าน ใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว ✓ 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 92.68 2.1 จัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับ ประสบการณ์เดิม ✓ 2.2 ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรม อย่างอิสระ ตามความต้องการความ สนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย ✓ 2.3 เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ✓ 3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้ สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 92.64 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม ในห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย และ อากาศถ่ายเทสะดวก ✓


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 79 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่าน เกณฑ์ที่ กำหนด 3.2 จัดให้มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่ สำหรับมุมประสบการณ์และการจัด กิจกรรม ✓ 3.3 จัดให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดภาพ แวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ✓ 3.4 ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ ช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการ เรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้ กลุ่มย่อย สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและ หาคำตอบ เป็นต้น ✓ 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ พัฒนาเด็ก ✓ 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม และกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือและ วิธีการที่หลากหลาย ✓ 4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการ เด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วน ร่วม ✓ 4.3 นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนา คุณภาพเด็กอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ✓ 4.4 นำผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ ✓ สรุปผลการประเมิน


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 80 จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 1. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ โรงเรียนมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา มีโครงการพัฒนาครูและบุคลากร ครูได้รับการอบรมเรื่องการจัดทำแผนการ จัดประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ตามอายุของเด็กแต่ ระดับชั้น ที่มาจากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา จัดทำหน่วยการจัดประสบการณ์ ครบถ้วน 4 สาระการเรียนรู้ ใช้ในการสอนช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล โดย ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล และนำข้อมูลมาพัฒนาเด็กต่อไป พร้อมทั้งมีการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ HAPPINESS เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ ที่เน้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ผ่านการลงมือปฏิบัติกิจกรรมเรียนรู้ การเล่นและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมี ความสุข 2. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ครูจัดประสบการณ์แบบออนไลน์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็ก จาก กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ตามความสามารถ จากกิจกรรมสร้างสรรค์ เช่นวาดภาพระบายสี ติดปะ ครูได้จัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้ ลงมือกระทำและสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การทำการทดลองวิทยาศาสตร์ กิจกรรม Cooking การทำศิลปะ การ เลือกเล่นตามมุม การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ที่เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือกระทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข 3. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย โรงเรียนมีการจัดห้องเรียนสะอาด สวยงาม อากาศถ่ายเทสะดวก ปลอดภัย น่าอยู่ ตกแต่งป้ายนิเทศความรู้ โดยนำ ภาพผลงานของเด็กมาติด ตกแต่งที่ป้ายนิเทศ การตกแต่งมุมต่าง ๆ จัดบรรยากาศอบอุ่นคล้ายกับบ้าน มีความปลอดภัย มี สีสันสดใสเหมาะสมกับวัยของเด็ก ทำให้ห้องเรียนมีบรรยากาศที่ส่งเสริมความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก มีการพื้นที่ หน้าห้องเป็นพื้นที่สำหรับแสดงผลงานเด็ก มีพื้นที่จัดมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม โดยมีพื้นที่กลางห้องให้เด็กได้ทำ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ และกิจกรรมอื่นๆ มีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้แว่นขยาย ในการส่องดูแมลง แมง พืช เกสรดอกไม้ ใช้กล้องจากมือถือของครูถ่ายรูปแมลง แมง ดอกไม้ ต้นไม้ และเด็กได้ใช้อุปกรณ์ในการทดลอง ถ้วยตวง แก้ว เด็กได้เรียนคอมพิวเตอร์ทุกสัปดาห์ 4.ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ พัฒนาเด็ก ในการจัดการเรียนออนไลน์ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงในการ สอนแบบออนไลน์ โดยอิงพัฒนาการเด็ก ครูทุกคนประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมที่ให้เด็กทำ และกิจวัตรประจำวันที่ทำ ที่บ้าน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพจริง ไม่ใช้แบบทดสอบ โดยการสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจสอบ ผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ ที่ครอบคลุมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 81 จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา โดยใช้แบบประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และมีการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพื่อนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาและปรับปรุง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียน ทำให้ เด็กมีพัฒนาการครบทั้งองค์รวมและเต็มตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 82 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่าน เกณฑ์ที่ กำหนด ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 94.73 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการอ่านในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ✓ 2,932 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการเขียนในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ✓ 2,965 1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ✓ 2,958 1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคิดคำนวณในแต่ ละดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ✓ 3,053 2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แก้ปัญหา 89.08 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิด จำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ ✓ 2,956 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น ✓ 2,926 2.3 ร้อยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ✓ 2,938 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 92.50 3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวม ความรู้ได้ทั้งตัวเองและการทำงานเป็นทีม ✓ 2,915 3.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต ✓ 2,935 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร ✓ 2,953 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ✓ 2,993


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 83 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่าน เกณฑ์ที่ กำหนด 4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม ✓ 2,912 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 93.81 5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ✓ 3,144 6 มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 93.67 6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจต คติที่ดีในการศึกษาต่อ ✓ 3,012 6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจต คติที่ดีในการจัดการ การทำงานหรืองานอาชีพ ✓ 2,988 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด 93.52 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา ✓ 2,956 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่ สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ วัฒนธรรมอันดีของสังคม ✓ 3,015 2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ✓ 3,020 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็น คุณค่าของความเป็นไทย ✓ 3,068 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย ✓ 2,972 3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย ✓ 3,054 3.1 ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี ✓ 3,054 4 สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ✓ 3,009


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 84 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่าน เกณฑ์ที่ กำหนด 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่าง เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ✓ 3,020 สรุปผลการประเมิน 95.44 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ได้วางแผนในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2565 – 2569 โดยกำหนดแนวทางในการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ตามกระบวนการ กำหนด เป้าหมายและทิศทาง การพัฒนาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง 2560) และมีคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะของผู้เรียน โดย ผ่านกระบวนการเรียนรู้ และการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร นอกจากนี้ยังได้จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี การศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา สร้างเสริมศักยภาพผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน มีการ ประชุมวางแผนในการพัฒนาตามลำดับ และกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีที่หลากหลาย ดำเนินการในการกำกับและ ติดตามโดยวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียนและโรงเรียนยังได้ดำเนินการในการศึกษาข้อมูล ข้อเสนอแนะจากการประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษาภายนอกครั้งที่ 4 โดยการประเมินในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 และรวบรวมผลการพัฒนาตามสภาพจริงที่ปรากฏ เพื่อนำผลมาพัฒนาต่อไป ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การพัฒนาด้านการอ่าน จัดให้มีการพัฒนาด้านการอ่านโดยฝึกให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้ จัดกิจกรรม ฝึกทักษะ การอ่านรายบุคคล พัฒนานักเรียนทั้งระบบและประเมินผลการพัฒนา จัดกิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้าในห้องสมุด ฝึกการอ่านหนังสือ เสริมประสบการณ์ ทั้งในบทเรียนและนอกบทเรียน การอ่านข่าว หรือ เรื่องที่สนใจ พร้อมทั้งได้จัดท าโครงการ ส่งเสริมความสามารถทางภาษาไทย สู่ความเป็นเลิศ การท่องบทอาขยานและฝึกทักษะและ เขียนบันทึก ข้อมูลการอ่าน มีระบบการอ่านเพื่อ การพัฒนา ทุกระดับชั้นมีการประเมิน นักเรียนรายบุคคล และให้ความ ช่วยเหลือ ซ่อมเสริมนักเรียนนอกเหนือจากเวลาเรียนปกติ หรือช่วงเวลาที่เสร็จภารงานที่มอบหมาย นักเรียนได้รับการ พัฒนาการอ่านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ อย่างสม ่าเสมอเพื่อยกระดับคุณภาพด้านการอ่าน การพัฒนา ด้านการฝึกทักษะ และกระบวนการปฏิบัติ ส่งเสริมให้นักเรียนอ่านได้ตามวัตถุประสงค์ และสามารถเรียนรู้ แบบบูรณาการในกิจกรรมต่างๆ อย่างเหมาะสม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 85 ด้านการเขียน ด าเนินการในการพัฒนานักเรียนในการเขียน ควบคู่กับการอ่านในรูปแบบการบูรณาการ การเขียน เชิงสร้างสรรค์ การเขียนในลักษณะต่างๆ เช่น การเขียนบูรณาการ การเขียนบรรยาย การเขียนเรื่องราวจากภาพ เขียนจาก จินตนาการ ซึ่งในแต่ละระดับชั้น จะด าเนินการพัฒนาและฝึกทักษะการเขียนให้นักเรียนมีทักษะ เกิดจินตนาการและ คุณธรรมในเชิงสร้างสรรค์ เช่น การเขียนเรียงความ ย่อความ สรุปความ ครูผู้สอนจะใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติ การตรวจ ผลงาน การประเมินผล และพัฒนาให้นักเรียนผ่านเกณฑ์ ตามหลักสูตร ด้านการเขียนและส่งเสริมให้นักเรียนฝึกการเขียน Reflection เพื่อให้เกิดความคิดและน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน และใช้วิธีการเขียน ผ่านประสบการณ์การเรียนรู้ จากสิ่งที่พบ มาเชื่อมโยงกับชีวิตประจ าวันสะท้อนผลการปฏิบัติกิจกรรม หรือความคิดสรุปผลการปฏิบัติงาน ใช้กระบวนการเขียน ถูกต้องตามรูปแบบ การสื่อความหมาย การเขียนจากเรื่องที่อ่าน จากกิจกรรมพิซซ่าชวนน้องอ่าน โดยนักเรียนอ่านแล้ว มาเขียนบันทึก ผลการพัฒนาผ่านการประเมิน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า โรงเรียนพัฒนากระบวนการฝึกปฏิบัติและให้ ความส าคัญ การพัฒนานักเรียนด้านการสื่อสาร โรงเรียนด าเนินการโดยใช้กระบวนการในการพัฒนานักเรียนด้านการสื่อสาร ด้วยวิธีที่หลากหลาย และแตกต่างตามวัยของนักเรียน ในแต่ละระดับชั้น โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตร และการ ปฏิบัติในชีวิตประจ าวัน เช่น การสื่อสารด้วยการใช้ทักษะ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และให้นักเรียนได้ใช้ ประสบการณ์ ความคิด ในการสื่อสาร การพูดสื่อความหมาย การเล่าเรื่อง การอธิบาย การบอกถึงความรู้สึก การแสดง ความคิดเห็น โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ฝึกทักษะและประสบการณ์ และนักเรียนสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยี กลุ่มไลน์ เฟสบุ๊ค โทรศัพท์และการใช้ระบบการติดต่อสื่อสารหลากหลายรูปแบบ นักเรียนสามารถปฏิบัติได้เป็นอย่างดี การสื่อสาร ด้านการเขียน โดยใช้กระบวนการพัฒนาการเขียน ดังกล่าว ข้างต้นเน้นให้นักเรียนสามารถสื่อสารได้ เข้าใจชัดเจน และสื่อ ความหมายได้ตามวัย การสื่อสารด้วยการฟัง เรื่องราวต่างๆ และสามารถปฏิบัติในการฟังในทางการสื่อสารได้ และใน กระบวนการเรียนการสอน นักเรียนมีทักษะในการคิดค านวณ เหมาะสมกับวัย ทั้งในด้านการคิดค านวณตามระบบคณิตศาสตร์ และการฝึก ทักษะการคิดเลขเร็ว ก่อนเริ่มการเรียนหรือสอดแทรกในกิจกรรม ใช้กระบวนการกลุ่มในการพัฒนาการคิด การคิดร่วมกัน การคิดรายบุคคล การใช้กระบวนการแก้ปัญหาหรือใช้กรณีศึกษาตามสถานการณ์ ครูผู้สอนใช้รูปแบบของเกมส์สื่อ สร้างสรรค์มากระตุ้นการคิดค านวณให้เกิดความสนุกกับการเรียน นอกจากนี้โรงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการเรียนจินต คณิต โดยสถาบัน Icreation ในระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ฝึกทักษะการคิดค านวณ และการใช้แบบฝึก ในการพัฒนาควบคู่ ไปด้วย จึงส่งผลให้นักเรียนมีการพัฒนาการในการพัฒนาทักษะการคิดค านวณ กระบวนการพัฒนา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา โรงเรียนได้ด าเนินการในการพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณผ่านกระบวนการ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 86 เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน โดย บูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนฝึกการคิด โดยใช้ รูปแบบที่หลากหลายจากการท ากิจกรรม การตอบค าถาม การศึกษาค้นคว้า การศึกษาวิเคราะห์ ตามสถานการณ์ด้วยเหตุ และผล และจัดท าโครงการ 7 Thinking Skills รวมถึงการแก้ปัญหาจากสถานการณ์พร้อมกับวิเคราะห์ข้อมูลและสาเหตุ ได้ การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การส่งเสริมให้นักเรียนจัดท าชิ้นงาน การศึกษาจากกิจกรรม สเต็มศึกษา การใช้กรณีศึกษา และสถานการณ์จริงในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข่าวและข้อมูลต่างๆ หลากหลายทักษะที่น ามาใช้ในการเรียนรู้ และการ สรุปรวบรวมข้อมูล ฝึกทักษะให้นักเรียนหาประสบการณ์จากสื่อ ฝึกการเปรียบเทียบแง่มุม ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม ในระดับชั้นที่สูงขึ้น จะใช้วิธีการสรุปประเด็นและการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง เรื่องราวและสถานการณ์ แสดงความคิดเห็น หาเหตุการณ์สนับสนุน นอกจากนี้ยังเสริมคุณภาพผู้เรียน ในการท ากิจกรรมชมรม ทั้งในเชิงวิชาการ พัฒนาด้านภาษา จัดกิจกรรมในการพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมการแสดง กิจกรรมดนตรี การร้องเพลง การวิเคราะห์ใช้ หลักการให้นักเรียน วิเคราะห์สมเหตุสมผล น่าเชื่อถือ และมีความเป็นไปได้ ในระดับสูงขึ้น นักเรียนสามารถ วิเคราะห์สิ่งที่ ผู้เขียนต้องการ วิพากษ์ในแง่มุมต่างๆ ได้ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง หรืออธิบายสนับสนุน อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม นักเรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ด้วยตนเอง และ การท างานเป็นทีม โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้ ด้วยตนเอง และท างานเป็นทีม โดยจัดกิจกรรมร่วมกันในห้องเรียน กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมค่ายลูกเสือ กิจกรรมจิตอาสา และกิจกรรมดนตรี กิจกรรมการแสดง กลุ่มสภานักเรียน เยาวชนครอบครัวพอเพียง โดยนักเรียน ทีมงานตัวแทนของแต่ละ ชั้น สร้างทีมเพื่อท าประโยชน์ต่อสังคม และมีการด าเนินงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ และสามารถเชื่อมโยงความรู้และ ประสบการณ์มาใช้ ในการท าสิ่งใหม่ นักเรียนทุกระดับชั้น มีการฝึกในกรท าชิ้นงาน ผลงาน และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เชิง สร้างสรรค์ นักเรียนได้ใช้ความคิดในการสร้างนวัตกรรม จากการเรียนรู้ ในเชิงวิชาการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวางแผน จัดท าวัสดุอุปกรณ์ที่สามารถน ามาใช้ได้ และนวัตกรรม ด้านเทคโนโลยี ในระดับประถมมีการจัดท าและออกแบบ สิ่งที่อยู่ ใกล้ตัว หรือในชีวิตประจ าวันส่วนระดับมัธยม ใช้นวัตกรรม การเรียนรู้ AI ใช้เทคโนโลยี ในการออกแบบและจัดแสดงผลงาน ด้านนวัตกรรมใหม่ตามบริบทของนักเรียนแต่ละระดับชั้น นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร นักเรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร พัฒนา ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการสืบค้นข้อมูล มีการจัดการเรียนการสอนส่งเสริมการค้นคว้า สรุปความรู้ด้วยตนเอง ส่งเสริมการจัดกิจกรรม เสริมทักษะการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี จัดกิจกรรมเทคโนโลยีกับการเรียนรู้ นักเรียนปฏิบัติงานการ เรียนการสอน โดยใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ และสร้างจิตส านึกในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 87 ไม่ท าให้ผู้อื่นเดือดร้อน หรือเกิดความเสียหาย ซึ่งผลจากการใช้เทคโนโลยี นักเรียนสามารถใช้ในการเรียนรู้การท างาน การ ติดต่อสื่อสาร และการพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีนตามหลกัสตูรสถานศกึษา ตามเปา้หมายหลกัสตูร ซ่งึเป็นหลกัสตูรท่สีามารถเลือกเรยีน ได้ตามความสนใจ ผลการประเมินการเรียนรู้ ผ่านตามเกณฑ์ที่ก าหนด โรงเรียนได้พัฒนาโดยจัดท าโครงการพัฒนา ศักยภาพทางการเรยีน โครงการวดัผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีน กิจกรรมเสรมิความรู้ทกัษะในศตวรรษท่ี21 จดักิจกรรมเสรมิ ความรู้ ติวเข้มจากหน่วยงานภายนอก เปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนรู้ทั้ง ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการเรียนรู้จากกิจกรรม ที่ มีการเรียนรู้ภายในโรงเรียน และศึกษาค้นคว้าจากภายนอก จากแหล่งเรียนรู้ รวมถึงการเรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิตมา เป็นบทเรียนที่เติมเต็ม และสร้างความเข้มแข็งในทุกๆ ด้าน และได้จัดท าโครงการทักษะชีวติในศตวรรษที่21 พัฒนา อย่างต่อเนื่อง จัดท าโครงการ Inspiring Language กิจกรรมส่งเสริมภาษาอังกฤษและภาษาจีน กระบวนการพัฒนาผลการเรียน อีกด้านที่โรงเรียนยังคงท าสม ่าเสมอ คือ การประสานกับผู้ปกครอง การรายงานผลอย่างต่อเนื่อง การพัฒนานักเรียน รายบคุคล การใหค้วามช่วยเหลือดแูลนกัเรยีนเท่าเทียมกนัสิ่งเหลา่นี้เป็นสว่นสา คญัท่จีะทา ใหน้กัเรยีนมีผลสมัฤทธิ์ ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์ที่หลักสูตรก าหนด นักเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ จัดท าโครงการอาชีพในฝัน สร้างสรรค์สังคม นักเรียน ทุกระดับชั้นผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้านงานอาชีพ ซึ่งเป็นงานที่เรียนรู้ในระดับเบื้องต้นในชีวิตประจ าวัน และการประกอบ อาชีพในอนาคต แต่ละระดับชั้นจัดกิจกรรมการเรียนและการปฏิบัติควบคู่กัน ส่งเสริมการเรียนรู้งานอาชีพที่นักเรียนสนใจ โดยใช้กระบวนการศึกษาจากกรณีศึกษา การศึกษาค้นคว้า การปฏิบัติกิจกรรมที่น ามาสู่การสร้างอาชีพได้นักเรียนศึกษา อาชีพยุคใหม่ที่สอดคล้องกับการพัฒนา ด้านเทคโนโลยี และใช้หลักการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ของงานอาชีพให้เป็นไป ในทางที่ดี มีจิตใจงดงามคิดบวกและสร้างสรรค์ จัดท าโครงการเปิดโลกทัศน์งานอาชีพ โดยจัดกิจกรรมเรียนรู้อาชีพ กิจกรรม เปิดโลกการศึกษาสู่อาชีพ โครงการอาชีพในฝันสร้างสรรค์สังคม และยังได้ท า MOU กับสถาบันภายนอก กับ สถาบันการ จัดการปัญญาภิวัฒน์นักเรียนได้ไปเรียนรู้และปฏิบัติในการท ากิจกรรมด้านอาชีพ และเชิญวิทยากรจากสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ มาให้ความรู้แก่นักเรียน โรงเรียนยังได้สนับสนุนการปฏิบัติด้านงานแบบอย่างไทย เช่นการท าอาหาร การ เย็บปักถักร้อย การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ และการรีไซเคิล รวมถึงการส่งเสริมเรื่องของธรรมชาติ ต้นไม้ และภูมิ ปัญญาไทยที่เป็นส่วนหนึ่งของงานอาชีพ นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ เหมาะสมกับวัย และสภาพของโรงเรียนที่เอื้ออ านวย คุณลักษณะทพี่งึประสงคข์องผู้เรียน


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 88 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก าหนด ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพกฎกติกา มีค่านิยมตามจิตตารมณ์พระหฤทัยฯ โดยไม่ขัดต่อกฎหมายและวัฒนธรรมที่ดีของสังคม โรงเรียน ได้ให้ความส าคัญในการพัฒนานักเรียนทั้งร่างกายจิตใจให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีร่างกายเจริญเติบโตสมวัย และมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ส่งเสริม ทั้งด้านคุณภาพชีวิต ทักษะชีวิต คุณธรรม จริยธรรม และการอยู่ในสังคมอย่างมี ความสุข โรงเรียนจัดกิจกรรม Heart of God โดยจัดกิจกรรมการสอนจริยะ กิจกรรมบูรณาการ 8H ในแผนการจัดการ เรียนรู้ กิจกรรม 8H Camping โดยเสริมสร้างคุณธรรม Heart Holy Honest Honor Humble Home Hope Hospitality พัฒนาด้านคุณธรรมให้เกิดกับบุคลากรในองค์กร ด้วยการเสริมสร้างกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการ แบ่งปันการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน กิจกรรมช่วยสังคม กิจกรรมเยาวชนอาสาศุภนิมิต รวมพลังคนรุ่นใหม่ ช่วยเหลือเด็ก ยากไร้ เยาวชนคนดี คนเก่งคนกล้า ร่วมเป็นเยาวชนอาสาช่วยเหลือเด็กยากไร้ ด้อยโอกาส จัดกิจกรรมเด็กดีศรี พทน. ตลอดปีการศึกษา เพื่อมอบเกียรติบัตรให้ขวัญก าลังใจ และให้เป็นแรงเสริมแก่นักเรียน ในการปฏิบัติดี ท าดี กิจกรรมรณรงคเ์รื่องความซื่อสัตย์ มอบเกียรติบัตรแก่นักเรียนที่เก็บของได้และน าส่งคืนเจ้าของ และส่งเสริมการสร้างและพัฒนาด้านคุณธรรม โดยผ่านสื่อ หนังสั้นคุณธรรม ภาพคุณธรรม กิจกรรมอัตลักษณ์ 8 H จัดกิจกรรม ค่ายธรรมทูตพระหฤทัยโครงการ 8H นำชีวิต โครงการทำดีเพื่อสังคม โครงการพัฒนาการศึกษาตามจิตตารมณ์ โครงการ บุคลากรพระหฤทัยหัวใจ 8H ซึ่งเป็นการเสริมสร้างคุณธรรมให้เกิดแก่นักเรียนเป็นเมล็ดพืชที่เพาะขยายผลต่อไปนี้ นอกจากนี้ยังจัดกิจกรรมตามรอย ร.9 ก้าวกล้าอาสา VESED พิทักษ์ป่ าชายเลน เพื่อช่วยสังคม สร้างคุณค่าทาง ธรรมชาติ การปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสา หลากหลายกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก เพื่อสร้างความมีคุณธรรม น ้าใจดี เสียสละอุทิศตน และร่วมกิจกรรมเยาวชนดีเด่นของจังหวัดนนทบุรี การปฏิบัติตน การอุทิศตนด้วยการให้ The Heart of Giving หัวใจแห่งการให้แก่ผู้ต้องการความช่วยเหลือ และสร้างความดีให้กับบุคลากร ปลูกคนกล้า ท้าความดี VESD อาสา จัดกิจกรรมอภิบาลเด็กและเยาวชนก้าวไปด้วยกันในยุคโควิด และกิจกรรมต้นแบบค่ายเยาวชนจิตอาสา กิจกรรม เยาวชนศาสนิกสัมพันธ์โครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนยังได้ส่งเสริมและอนุรักษ์ความเป็นไทย การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี เชื้อชาติภาษาและวัฒนธรรม ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพศ วัย เชื้อชาติศาสนา สร้างเสริมการปฏิบัติงานร่วมกันด้วยการจัดกิจกรรมสภานักเรียน มี การเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ให้เกิดการยอมรับ และให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในการท างานร่วมกันทั้งผู้ที่ได้รับ เลือกตั้งและไม่ได้รับการเลือกตั้ง ให้โอกาสในการท างานสร้างเสริมประสบการณ์ การเปิดใจรับการท างานร่วมกัน จัด กิจกรรมกีฬาในรูปแบบใหม่ที่เปิดโอกาสให้แต่ละชั้นร่วมกันคิด วางแผน จัดกิจกรรมและด าเนินงานในระดับชั้น โดย นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมกีฬาและพัฒนาการท างานรวมถึงสร้างความสุขสนุกในการท ากิจกรรม กิจกรรมการสร้างภาวะผู้น า เลือกตั้งหัวหน้าห้อง โครงการ Leader in Me อบรมภาวะผู้น า ค่ายผู้น า จัดกิจกรรมเวที


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 89 ศักยภาพ ให้นักเรียนได้แสดงออกมีผลงานด้านการแสดงออกเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาศักยภาพแต่ละด้าน กิจกรรมการ ประกวดร้องเพลง ประกวดวาดภาพ และเสริมคุณภาพด้านความกตัญญู เช่นการประกวดมารยาทไทย กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมสร้างเสริมจิตส านึกในการรัก ศรัทธา ต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้านสุขภาพร่างกาย และจิตสังคม นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านการอุทิศตน เพื่อสังคม ในการเสียสละและท าจิต อาสาทุกคน และพัฒนาด้านสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ด้วยการดูแลสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจ าปี ออกก าลังกาย สม ่าเสมอและรณรงค์ด้วยการจัดกิจกรรมทานผักผลไม้ พัฒนานักเรียนที่มีโภชนาการเกินเกณฑ์ให้มีความสมดุลตามหลัก ของกรมอนามัย จัดท าโครงการส่งเสริมสุขภาพและร่วมกิจกรรมดูแลหุ่นสวยด้วยตนเอง โครงการโภชนาการสมวัยใน โรงเรียน นอกจากนี้มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง 2560) ด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็น ไทย มีจิตสาธารณะและสมรรถนะผู้เรียน ด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยีด้วยวิธีที่ หลากหลาย และการน าไปปฏิบัติในชีวิตประจ าวัน และโครงการทักษะชีวิตในศตวรรษที่21 จากการพัฒนาดังกล่าว ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพเกิดการเรียนรู้และปฏิบัติตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ได้รับการพัฒนาด้านความรู้ ความสามารถ ส่งเสริมศักยภาพ สร้างเสริมการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม ผ่านตามเป้าหมาย และบรรลุผลตามที่ก าหนด โรงเรียนได้ด าเนินการ ก ากับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาด้านต่างๆ ด้วยการใช้วิธีการ กระบวนการจัด กิจกรรมและสร้างเครื่องมือในการประเมินผลติดตาม ตรวจสอบ เพื่อน าผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดการพัฒนา ต่อไป ผลการด าเนินงานประสบผลส าเร็จเกิดคุณภาพบรรลุตามเป้าหมาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 90 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ(ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษา กำหนดชัดเจน 1.1กำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของ รัฐบาลและต้นสังกัด ✓ 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง กับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการ ศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด ✓ 1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของสังคม ✓ 1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความ เห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ✓ 1.5 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียน เผยแพร่ ต่อสาธารณชน ✓ 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา อย่างเป็นระบบ ✓ 2.2 มีการนำแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ✓ 2.3 มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศ ภายใน ✓ 2.4 สถานศึกษามีการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา สถานศึกษา ✓ 2.5 สถานศึกษาให้บุคลากรและผู้ทีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี ส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วม รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา ✓ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ✓ 3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการ พัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน ที่ ✓


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 91 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ(ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และ ท้องถิ่น 3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านเชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง ✓ 3.4 กำหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการ เรียนการสอนทุกกลุ่มเป้าหมาย ✓ 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม ✓ 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ ✓ 4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ✓ 4.2 จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ✓ 4.3 นำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการ พัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน ✓ 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ✓ 4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่เป็น แบบอย่างที่ดีที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ✓ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียน ที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย ✓ 5.2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอก ห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความ ปลอดภัย ✓ 5.3 จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม ✓ 5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้ และมีความปลอดภัย ✓ 5.5 จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากการจัด สภาพแวดล้อมตามศักยภาพของผู้เรียน ✓ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 92 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ(ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา ✓ 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา ✓ 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา ✓ 6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการ บริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ สภาพของสถานศึกษา ✓ 6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา ✓ สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม จุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 93 โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ได้วางแผนในการดำเนินงานพัฒนาการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ งานมาตรฐานคุณภาพการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการจัดการศึกษาได้ร่วม ประชุมวางแผน และใช้เป็นแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2565-2569 และได้วางแผนในการขับเคลื่อนโดยจัดทำ แผนปฏิบัติงานประจำปี โครงการ กิจกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาตามยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ โดยกำหนดบทบาทและ หน้าที่การดำเนินงานให้เหมาะสมกับภารงาน การดำเนินงานของโรงเรียน ได้ดำเนินการในการประชุมวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ตามแผนจัดการศึกษา กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและศึกษาสภาพจากการวิเคราะห์SWOT โดยการพัฒนาบริหารจัดการเชิงรุก บูรณาการ กับการแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมายสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาด้านภาษาและเทคโนโลยี และพัฒนาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดการศึกษามุ่งเน้นด้านความปลอดภัย การยกระดับคุณภาพ การศึกษา การสร้างโอกาสและการเสมอภาคเท่าเทียม ส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู การพัฒนาด้านเทคโนโลยี รวมทั้งพัฒนา ตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ด้านผู้เรียนเพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างสรรค์นวัตกรรม และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง โดยมีค่านิยม ความเพียรพยามยาม ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตยและเสมอภาค ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพอย่างเป็นระบบ นำแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบ ปรับปรุงพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลังทรัพยากรทางการศึกษาและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และนิเทศ ภายในอย่างเป็นระบบ วิสัยทัศน์ของโรงเรียน “โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี” จัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา และจิตตารมณ์พระหฤทัย สร้างคนดีสู่สังคม โดดเด่นวิชาการ ผสานโลกทัศน์อาชีพ ก้าวล้ำเทคโนโลยี มีมาตรฐานสากล ดำรงตนอย่างมีความสุข สู่วิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง จากการดำเนินงานได้กำหนดการบริหารงานออกเป็น 8 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบุคคลและงบประมาณ ฝ่ายอาคารสถานที่และบริการ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝ่ายปกครอง ฝ่ายจิตตาภิบาล ฝ่ายปฐมวัย แต่ละฝ่าย มีการ ดำเนินงานในการวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี และกำหนดบทบาทหน้าที่ผู้รับผิดชอบในรูปแบบคณะกรรมการ ดำเนินงาน และมีการกำกับติดตามประเมินผล การบริหารงาน ส่วนคณะกรรมการในส่วนอื่นๆ จะประกอบด้วยหัวหน้าสาย ชั้น/กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีคณะกรรมการดำเนินการวางแผนงานอย่างเป็นระบบ มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของ สถานศึกษา สถานศึกษามีการบริหารจัดการ โดยใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน 6 ด้าน ได้แก่ หลักนิติธรรม หลัก คุณธรรม หลักความโปร่งใส่ หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า จากหลักการบริหาร จัดการดังกล่าว ส่งผลให้มีระบบการพัฒนางานที่เกิดประสิทธิภาพ และโรงเรียนยังใช้ระบบการบริหารจัดการ โดยใช้นวัตกรรม HEARTS MODEL โดยนำหลักการจากทฤษฎีการบริหาร กระบวนการ PDCA เชื่อมโยงความสอดคล้อง เชิงระบบ ตามหลักการบริหาร โดยใช้หลักธรรมภิบาล ใช้หัวใจในการบริหาร ถักทอร้อยเรียง กับการบริหารของทุกฝ่าย และปฏิบัติงานตามและยังเน้นด้าน คุณธรรม โดยจัดทำ โครงการพัฒนาการศึกษาตามจิตตารมรณ์พระหฤทัย กระบวนการ PDCA มาเป็นแนวทางในการบริหาร สถานศึกษา นำอัตลักษณ์ของโรงเรียนมาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาการปฏิบัติดังเช่น รัก สุภาพ ซื่อสัตย์ เมตตา


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 94 ดำเนินการโดยใช้นวัตกรรมการบริหาร และกำกับติดตามประมวลผลตาม MODEL จัดระบบการวางอัตรากำลังคนตามความ เหมาะสม และความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ในปีการศึกษา 2565 โรงเรียนจัดบุคลากรครบตามระดับการ ปฏิบัติงาน และมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยมีจุดเด่นเรื่อง การเยี่ยมบ้านนักเรียนครบ 100% ทำให้เข้าใจและทราบ ถึงปัญหานักเรียนมีระบบการคัดกรองนักเรียน ที่มีปัญหาในด้านต่างๆ ทางโรงเรียนให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม จัดระบบการนิเทศภายในทั้งระบบโดยนิเทศการเรียนการสอนและระบบการนิเทศการปฏิบัติงาน นำแผนปฏิบัติงานไปปฏิบัติ และติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นำข้อมูลสะท้อนกลับจากการประเมินมาเป็นแนวทางใน การพัฒนา แก้ไขปรับปรุงให้เกิดประสิทธิภาพ และบุคลากรแต่ละฝ่ายร่วมวางแผน ปรับปรุงพัฒนา และรับผิดชอบงานในการ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อวางแผนและแก้ไขปัญหาร่วมกัน โรงเรียนได้จัดโครงการพัฒนาการศึกษาตามจิตตารมณ์พระหฤทัย โรงเรียนพัฒนางานวิชาการด้านคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการ บริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 ได้มีการปรับและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไป ทางเลือกสำหรับผู้เรียน ดังนี้ระดับประถมศึกษาได้จัดหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) โดยมีจุดเน้นในการพัฒนา 1. พัฒนาการเรียนรู้ตามหลักสูตรสามัญ 2. พัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นการเรียนภาษาอังกฤษ กับครูต่างชาติ (Intensive English) 3. จัดการเรียนรู้หลักสูตรสามัญเน้นการเรียนเสริมทักษะภาษาอังกฤษในวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (Science Mathematic English) 4. จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสามัญและมุ่งเน้นการเรียนด้านภาษาอังกฤษ และภาษาจีน (English Chinese) พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน การวางโครงการหลักสูตรและแผนในการพัฒนาที่ เหมาะสมสำหรับประถมศึกษา ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม.1- ม.3 ได้จัดหลักสูตรให้เป็นทางเลือก เช่นกัน โดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. หลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสามัญตามปกติ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 95 2. หลักสูตรสามัญแต่มุ่งเน้นการพัฒนาด้าน (Digital Technology) 3. หลักสูตรสามัญมุ่งเน้น (Science and Mathematic) 4. หลักสูตรสามัญมุ่งเน้นภาษาอังกฤษ (English Language) 5. หลักสูตรสามัญมุ่งเน้น (Art and Design) ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. แผนการเรียนเน้น วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 2. แผนการเรียน คณิตศาสตร์-บริหารทั่วไป 3. แผนการเรียนศิลป์-ภาษา 4. แผนการเรียนศิลป์ Art and Design โรงเรียนจัดระบบการเรียนการสอนและหลักสูตรสนองตอบความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น โดยมีการบริหารจัดการจัด กิจกรรม เสริมหลักสูตรเน้นคุณภาพผู้เรียนเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ทั้งในด้านการเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติ การ เรียนรู้แบบพึ่งตนเอง ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและการลงมือปฏิบัติ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนด้านคุณธรรมจริยธรรม โรงเรียนใช้หลักการอยู่ร่วมกันตามจิตตารมณ์พระหฤทัย รัก สุภาพ ซื่อสัตย์ เมตตา ปฏิบัติให้เกิดเป็นวิถีชีวิต การเอื้ออาทร ช่วยเหลือส่วนร่วม ช่วยสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีการบริหารจัดการอย่างมีเป้าหมาย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคม พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชียวชาญทางวิชาชีพ โดยส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง โดยสนับสนุนให้บุคลากรที่ทำหน้าที่ ผู้นำในการบริหาร ได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เพื่อทำความรู้ตาม ความสามารถพัฒนาองค์กร ส่วนบุคคลที่สังกัดสายงานต่างๆ มีการอบรมพัฒนาแต่ละสาขา ตามที่หน่วยงาน ภาครัฐหรือ เอกชนมีการดำเนินการ รวมถึงมีการอบรมพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพครู และมีการเสริมความรู้ด้วยการอบรม Online อย่างน้อย 60 ชั่วโมง ต่อ 1 ปีการศึกษา และจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรพระหฤทัยนนทบุรี โครงการ Heart of Giving การพัฒนาด้านการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับองค์กรภายนอก เกี่ยวกับการจัดหลักสูตร การพัฒนาครู การเรียนรู้เรื่องอาชีพ การปรับปรุงและพัฒนาในการเรียนรู้ร่วมกันในแต่ละระดับชั้น มีการวางแผนในการจัดกิจกรรม การ ทำงานร่วมกัน การส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ คณะกรรมการจัดการศึกษา มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากรที่ดีต่อผลการพัฒนาผู้เรียน โดยการตรวจสอบติดตามและแก้ปัญหา ในกรณีที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และดำเนินการในการศึกษาปัญหาและข้อมูล เพื่อสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา โรงเรียนได้เข้าร่วมกับโรงเรียนในเครือคณะในการจัดทำนวัตกรรมการศึกษาเข้าประกวด และนำเสนอผลงาน โดยแบ่งออกเป็นนวัตกรรมด้านการบริหาร เช่น HEARTS MODEL นวัตกรรม สื่อนวัตกรรมโมเดลป่าและ เมืองสาเหตุและปัญหาภัยพิบัติ อุกทุกภัยในระดับชั้นประถมปีที่ 6 นวัตกรรม POP UP สื่อปัญหาสู่ผลงานความพอเพียง นวัตกรรมปริศนาภาพสำนวนไทย นวัตกรรมการพัฒนาทักษะปฏิบัติรีคอร์นเดอร์จากสื่อการเรียนรู้ โดยเข้าร่วมโครงการ ประกวด One Teacher One Innovation ประจำปีการศึกษา 2565 ส่วนครูผู้สอนทุกท่านได้จัดทำนวัตกรรมในการพัฒนา หรือแก้ปัญหา การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และพัฒนาผู้เรียนทุกระดับชั้น


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 96 การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย ภายในห้องเรียน ได้จัดสภาพห้องเรียน เอื้อต่อการเรียนรู้ ตรวจสอบ ติดตามเรื่องของโต๊ะนั่ง ป้ายนิเทศ ความสะอาด ระบบความปลอดภัย เกี่ยวกับไฟฟ้า พัดลม แอร์ มีป้ายติด เตือนใจ การระมัดระวัง บางห้องเรียนที่มีห้องน้ำจะได้รับการดูแลเรื่องความสะอาด ข้อ ควรปฏิบัติ ห้องเรียนทุกห้องเรียน ติดเครื่องปรับอากาศ และมีระบบวงจรปิดภายในทั้งระบบ สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยจัดบรรยากาศให้เอื้ออำนวย สะอาด ร่มรื่น สวยงาม มี สถานที่พัก สถานที่เล่น ออกกำลังกายบริเวณทั่วไป มีบุคลากรดูแลทุกช่วงพัก จัดสถานที่ห้องสุขา ทุกอาคารและบริการสำหรับ ผู้ปกครอง โรงอาหารทุกอาคารเรียนมีตู้น้ำเย็นอำนวยความสะดวกให้นักเรียนทุกอาคาร และจัดทำโครงการส่งเสริมความ ปลอดภัย โรงเรียนมีระบบความปลอดภัย การเปิด-ปิด อาคารเรียนเปิด-ปิด ประตูทางเข้า-ออก มีรั้วรอบขอบชิด ตลอดแนว มี วงจรปิด ในการตรวจสอบเรื่องความปลอดภัย จัดบุคลากรดูแลตามจุดต่างๆ กำหนดเวรประจำวันประมาณ 25 คน/วัน จุดที่ จะต้องบริการดูแล รวมถึงการรับนักเรียนและส่งนักเรียนให้กับผู้ปกครอง ดังนั้น การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนจึงเป็นหนึ่ง ในมาตรการที่โรงเรียนให้ความสำคัญ การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นรายบุคคลและรายกลุ่มจัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดทำโครงการพัฒนาอาคารและสถานที่และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนโดยกำหนดแนวทางในการพัฒนา สภาพแวดล้อมให้นักเรียนใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ ศึกษารายบุคคล และรายกลุ่มในการปฏิบัติกิจกรรมการศึกษานอก ห้องเรียน ใช้พื้นที่ในบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สะดวกและปลอดภัยนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับต้นไม้ พืชผัก ใช้ประโยชน์ จากภูมิทัศน์ในโรงเรียนในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ศิลปะ และสภาพแวดล้อมทางวิทยาศาสตร์เป็นต้น จากสภาพแวดล้อม ภายในโรงเรียน ใช้เป็นสถานที่ในการทำกิจกรรม เพาะบ่มนักเรียนให้เกิดศักยภาพ เติมเต็มด้านคุณธรรมตามหลักศาสนา โดยมี สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา สถานที่เรียนรู้ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง สถานที่สำหรับการพัฒนาด้านการฝึกทักษะการ สังเกต การฝึกกิจกรรมกลุ่ม การเรียนกิจกรรมชมรม กิจกรรมลูกเสือ ดังนั้น สภาพแวดล้อมในโรงเรียนจึงเป็นสถานที่อันเป็น ประโยชน์ในการใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ สถานที่พัก สถานที่ปฏิบัติกิจกรรม สถานที่เล่น ออกกำลังกาย สถานที่สร้างประสบการณ์ ชีวิตในการปฏิบัติจริงของนักเรียน โรงเรียนได้จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โดยศึกษาตาม ต้องการและความจำเป็นของสถานศึกษาโดยกำหนดแนวปฏิบัติดังนี้ 1. จัดเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการบริหารจัดการโดยใช้ เทคโนโลยีในระบบการทำงานของฝ่ายต่างๆ ใช้ระบบเทคโนโลยีในการเก็บข้อมูล ปฏิบัติงานต่างๆ อย่างสะดวก คล่องตัว รวดเร็ว • โรงเรียนจัดเทคโนโลยีในการใช้ระบบ School Bright ในด้านการจัดและประเมินผลการเรียนรู้ / การใช้ ระบบการซื้ออาหารด้วยบัตรเติมเงิน ใช้ระบบเทคโนโลยีในการชำระค่าธรรมเนียม การติดต่อประสานงาน ประชาสัมพันธ์ และ งานด้านเว็บไซต์ของโรงเรียน


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 97 • นอกจากนี้ยังใช้ระบบ Single sign-on ในการรวบรวมข้อมูลและประสานงานในการนำข้อมูลที่ได้มาเป็นส่วน หนึ่งในการพัฒนา และจัดทำข้อมูลสารสนเทศในการใช้พัฒนางาน และพัฒนาระบบการเก็บข้อมูลให้เกิดประสิทธิภาพ • เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ พัฒนาระบบการใช้เทคโนโลยี จัดให้ห้องเรียนทุกห้องเรียนสามารถใช้ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างสะดวก โดยมีอุปกรณ์ การสื่อสารพร้อมในการเรียน • เทคโนโลยีในระบบความปลอดภัย มีเทคโนโลยีในการติดตั้งระบบ กล้องวงจรปิด ภายในโรงเรียน โดยทั่วถึง เพื่อป้องกัน เรื่องความปลอดภัย โรงเรียนจัดบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการโดยให้บริการในด้านต่างๆ เช่น • การบริการ Use account และการบริการ Fill Sharing บริการ E-mail / รวมถึงการให้บริการ Login เข้า เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ เพื่อใช้ในงานทรัพยากรต่างๆ ภายในองค์กร โดยฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียนดำเนินงาน บริการเพื่อความสะดวก • โรงเรียนบริการ E-mail โดยสามารถติดต่อสื่อสารภายในองค์กร ภายในสู่ภายนอก บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยกำหนด E-mail / address และ Mailbox และทำหน้าที่ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการบริการ E-mail • โรงเรียนมีระบบการบริการข้อมูลสารสนเทศ ในด้านการจัดการทำ File Sharing ในองค์กร ซึ่งมีภาระงาน ของโรงเรียนในการใช้เทคโนโลยีเพื่อมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในฝ่ายบริหาร 8 ฝ่าย และสนับสนุนการบริการในการใช้ Internet การสืบค้นข้อมูลในระบบออนไลน์ การติดต่อสื่อสาร การบริการด้านการปริ้นเอกสารข้อมูล การป้องกันไวรัส บริการแจ้ง ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ • ปรับปรุงและพัฒนาด้านเทคโนโลยี ในการปรับและพัฒนาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในสำนักงาน และ คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนให้ทันสมัย รวดเร็ว และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และติดตามประเมินผลการใช้ เทคโนโลยีในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ จาการดำเนินงาน โรงเรียนได้กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดำเนินงานในด้านการบริหารจัดการ ตรวจสอบ ประเมินปัญหาและแนวทางการพัฒนา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและนำผลมาปรับปรุงแก้ไข จากผลการพัฒนา ส่งผลให้การบริหารจัดการของโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี มีระบบการพัฒนาด้านการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพมีความคล่องตัว มีระบบงานที่สนองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาได้อย่างเหมาะสม บุคลากร ปฏิบัติอย่างเป็นระบบ สามารถดำเนินการบริหารจัดการทุกๆด้านบรรลุผล ตามนโยบายของสถานศึกษา และเป็นไปตาม แผนพัฒนาการจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2565 ด้วยความสำเร็จในระดับ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 98 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน(ร้อย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 87.26 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง ✓ 112 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ นำไปจัดกิจกรรมได้จริง ✓ 112 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะ สำหรับผู้ที่มีความจำเป็น และต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษ ✓ 87 1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และนำเสนอผลงาน ✓ 95 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ✓ 108 2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 87.55 2.1 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศใน การจัดการเรียนรู้ ✓ 110 2.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการจัดการเรียนรู้ ✓ 98 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย ✓ 96 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 92.68 3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ✓ 102 3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก ✓ 105


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 99 ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน(ร้อย ละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ ร่วมกันอย่างมีความสุข 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่าง เป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ✓ 102 4.1 มีการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น ระบบ ✓ 103 4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม กับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ✓ 112 4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและ ประเมินผล ✓ 96 4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อ นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ✓ 98 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ 88.45 5.1 และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกัน แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ในการจัดการเรียนรู้ ✓ 99 5.2 นำข้อมูลป้อนกลับไปใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ของตนเอง ✓ 102 สรุปผลการประเมิน 91.25 ยอดเยี่ยม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 100 จุดเน้นและกระบวนการในการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพในมาตรฐานที่ 3 โรงเรียนได้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพการศึกษาตามแผนพัฒนาการจัดกรศึกษา และ กำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560 ) และโรงเรียนยังได้มีการวางแผนตามแนวทางการพัฒนาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพ การศึกษา พัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21 พัฒนาด้านการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพครู พัฒนาการใช้เทคโนโลยีตลอดจนการการ พัฒนาผู้เรียน เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างสรรค์สังคม และนวัตกรรม เพื่อให้นักเรียนมีความเข้มแข็ง จากการ วางแผนโดยการประชุมคณะกรรมการจัดการศึกษา การระดมพลังสมอง การกำหนดกรอบแนวคิด ในการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพดังต่อไปนี้ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยจัดการ เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา เน้นให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง จัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการปฏิบัติจริง นำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนออกแบบการจัดกิจกรรม ผ่านการตรวจจากฝ่ายวิชาการ และนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีกระบวนการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน ใช้กระบวนการคิดใน รูปแบบที่หลากหลาย เช่น คิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ แนวคิดนอกกรอบ และกระบวนการคิดที่ หลากหลายและมีการปฏิบัติโดยการลงมือทำงาน ปฏิบัติด้วยตนเอง ออกแบบและแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผล โรงเรียน ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตามโครงการ Problem Based Learning โครงการพัฒนาหลักสูตร โครงการพัฒนากิจกรรมการ เรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตร สนับสนุนให้ครูผู้สอนเข้ารับการอบรมพัฒนาการเรียนรู้ และจัดทำโครงการพัฒนาครูมือ อาชีพ นอกจากพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ตามระบบแล้วยังคำนึงถึงนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในการ จัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะและความพร้อมของนักเรียน ซึ่งเป็นแบบแผนเฉพาะ เช่น การลดจำนวนงาน การปรับ รูปแบบกิจกรรม กิจกรรมการเรียนรู้ มีหลากหลายระบบที่จะสนับสนุน เช่น เพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยน้อง และวิธีการเรียนรู้แบบ สืบเสาะ การค้นคว้าฝึกทักษะการแสดงออก ในการปฏิบัติกิจกรรมทั้งรายบุคคล กิจกรรมกลุ่ม เช่น การพูดต่อหน้าชุมชน การ แสดงความสามารถ การเสนอความคิดเห็น การทำกิจกรรมในห้องเรียน นอกห้องเรียน การอภิปราย โต้วาที วิเคราะห์บทความ เรื่องสั้น ข่าว การแสดงความคิดเห็น มีการสรุปองค์ความรู้จากเรื่องที่เรียน หรือทำกิจกรรม ทุกกิจกรรมมีกระบวนการสะท้อน กลับ ให้เห็นข้อดีข้อเสีย ประโยชน์หรือโทษ และฝึกทักษะการนำเสนอผลงานอย่างหลากหลาย เช่น การนำเสนอในรูปแบบ ชิ้นงาน ผลงาน นิทรรศการ การจัดแสดงผลงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน โรงเรียนได้ให้ความสำคัญในการดำรงชีวิตอย่างมี คุณค่า และนำสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ดังนี้ 1. ความรู้ด้านวิชาการ ด้านสังคม ศาสนา และวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน การปฏิบัติตามหลักธรรมศาสนา การ ยึดถือตามวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม นักเรียนนำไปเชื่อมโยงกับชีวิตจริง


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 101 2. การใช้หลักการคิด แก้ปัญหาด้านต่างๆ ด้วยตนเองในเบื้องต้น การคิดคำนวณ การใช้เงินอย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อเป็นพื้นฐานของชีวิต 3. การใช้เทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า หรือ เครื่องอำนวยความสะอาด สามารถทำได้เหมาะสมกับ วัย รวมถึงการสื่อสาร ข้อมูลและเลือกบริโภคสิ่งที่ดีต่อการดำรงชีวิต 4. การใช้ความรู้ด้านการงาน ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การทำอาหาร ทำความสะอาดเสื้อผ้า งานเย็บปักถัก ร้อย งานประดิษฐ์ต่างๆ 5. การใช้หลักคุณธรรม - จริยธรรม ในการเรียนรู้ ปฏิบัติโดยการช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือสังคม และส่วนรวม รวมถึงการดูแลสมาชิกในครอบครัว มีเอื้ออาทรต่อผู้อื่น ซึ่งโรงเรียนได้ดำเนินการ และสอดแทรกการเรียนรู้ในวิถีชีวิต สิ่งเหล่านี้จะเป็นพื้นฐาน การนำไปใช้ในชีวิตจริง ซึ่ง นักเรียนสามารถช่วยตนเองได้ ตามความพร้อม ความถนัดของแต่ละบุคคล โรงเรียนได้พัฒนาโดยการจัดทำโครงการมืออาชีพ การสอนโดยใช้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การสอนแบบบูรณา การสมรรถนะ คุณธรรมจริยธรรม กระบวนการคิด และส่งเสริมการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้การสอนแบบ 5 Step ได้แก่ Learning by Question , Learning by Searching ,Learning by Construction, Learning by Communication และ Learning by Serving จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานกับการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์โดยใช้ประสบการณ์ตรงในการสัมผัส ปฏิบัติการ มาต่อยอดการเรียนรู้และเปรียบเทียบ กับการใช้ในชีวิตประจำวัน โดยมีหลักแนวคิดตามจิตตารมณ์พระหฤทัย รักและรับใช้ โดยนักเรียนจะเรียนรู้จากการซึมซับจากความรู้ การปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความรัก สุภาพ ซื่อสัตย์ เมตตา และสถานการณ์ที่ ส่งเสริมการคิด การไตร่ตรอง และใช้ระบบการเรียนแบบโครงงาน ศึกษาเปรียบเทียบ และสร้างองค์ความรู้ และแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ มีการสอดแทรกทักษะ กระบวนการตามธรรมชาติวิชาของแต่ละกลุ่มสาระ ซึ่งตอบสนองการพัฒนานักเรียนให้ เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้โรงเรียนยังได้สนับสนุนให้ครูผู้สอนได้ใช้กระบวนการเรียนการสอน โดยจัดทำโครงการ P.T.N. E-teacher โครงการ Problem bused Learning แบบแลกเปลี่ยนความคิดให้คิดตามประเด็นที่กำหนด คนละ 2-3 นาที สอนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม 3-6 คน สอนทบทวนโดยผู้เรียน ร่วมกันสรุปปัญหาและข้อสงสัย สอนโดยให้ผู้เรียนรู้จากเกม (Games) นำเกมมาบูรณาการการเรียน การสอนอาจเป็นในช่วงนำเข้าสู่บทเรียนหรือสรุป เรียนรู้แบบโต้วาที ศึกษาหาข้อมูลมาสนับสนุน แนวคิดของนักเรียน จัดการเรียนรู้แบบกรณีศึกษา เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนอ่าน ศึกษาและวิเคราะห์แลหเปลี่ยนความคิดเห็น ซึ่งในกระบวนการ ส่งเสริมการคิดและการจัดทำ (Concept Mapping) นักเรียนออกแบบผังความคิดรวบยอด การเชื่อมโยงความคิด ทั้ง รายบุคคลหรือกลุ่ม ซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะพบว่า ครูผู้สอนเลือกใช้ตามสถานการณ์ สอดแทรกหรือเสริม กิจกรรมทั้งนี้ การ เรียนรู้ในรูปแบบ Active Learning ก็จะเป็นผลของความสำเร็จตามเป้าหมายของหลักสูตร การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้โรงเรียนสนับสนุนให้มีการใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนรู้โดยครูผู้สอนพัฒนาในการนำเทคโนโลยีมาใช้และสนับสนุนให้นักเรียนได้ศึกษาและพัฒนาการ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 102 เรียนรู้ นำเทคนิคใหม่ๆ ภาพเคลื่อนไหว สถานที่ส่วนสำคัญที่จะศึกษา หรือส่วนขยายของเรื่องราว ข้อมูลที่มาที่จะสนับสนุน การเรียนรู้ เพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการวิเคราะห์เด็กกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง กลุ่มอ่อน ครูให้ความเอา ใจใส่และปรับแผน การใช้สื่อให้เรียนรู้ร่วมกันได้และจัดทำโครงการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การใช้สื่อเทคโนโลยี ทุกห้องเรียนจะมีเครื่องอำนวยความสะดวก จอโทรทัศน์สำหรับการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี การค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต เพื่อเสริมเพิ่มเติมความรู้สื่อผ่านจอ ภาพเคลื่อนไหว คลิปวีดีโอ สื่อจากอินเตอร์เน็ต การใช้ Smart Classroom โรงเรียนได้จัดทำโครงการ Smart Teacher การใช้สื่อการเรียนการสอนในห้องเรียน ภายในโรงเรียน เช่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ณ ห้องปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร์ ห้องสมุดอาคารคุณพ่อปิโอดอนท์ และอาคารปิติพร สนับสนุนหนังสือ คู่มือ สื่ออุปกรณ์การฝึกปฏิบัติให้นักเรียน สามารถเรียนรู้จากแหล่งข้อมูลและสื่อประเภทต่างๆ ห้องดนตรี ห้องประกอบการ ห้องนาฏศิลป์ ห้องปฏิบัติการอื่นๆ ที่ ส่งเสริมการเรียนรู้และเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาผู้เรียน การใช้สื่อภายนอกเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยการไปศึกษานอกสถานที่ใช้ธรรมชาติของต้นไม้ บรรยากาศ แหล่งน้ำและ ระบบการจัดสถานที่ เช่น สนามกีฬา เครื่องเล่น ที่ออกกำลังกาย เป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาและเรียนรู้ตามรูปแบบของฐาน กิจกรรม ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนได้จัดให้นักเรียนทุกระดับชั้นร่วมโครงการทัศนศึกษาในแหล่งเรียนรู้ ของชุมชนใกล้เคียง ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี ภายใต้กิจกรรม “เรียนรู้สนุก รักสุขภาพ ซึมซาบธรรมชาติ” นักเรียนได้รับประโยชน์ จากการเรียนรู้แบบบูรณาการและคุณค่าของชีวิตในการสอนให้อดทน รักผู้อื่น การให้โดยไม่หวังผลตอบแทนและเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรงทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ และศึกษานอกสถานที่โดยใช้ใช้แหล่งเรียนรู้ สะท้อนคุณภาพชีวิต สิ่งที่เป็น ประสบการณ์ Relaxion ออกมาในแนวความคิดและความรู้ควบคู่กัน แยกแยะได้สิ่งใดมีคุณค่า สิ่งใดต้องปรับปรุงแก้ไขและยัง ได้จัดให้นักเรียนศึกษานอกสถานที่ เกี่ยวกับประชาธิปไตย ณ ศูนย์ศึกษาประชาธิปไตย ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น นนทบุรี และการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง หรือ ชุมชนในท้องถิ่น มาให้ความรู้แก่นักเรียนทุกระดับชั้น เนื่องในโอกาสวันแม่ และ ใช้โอกาสในการเรียนรู้ทั้งในระบบ และนอกระบบจากการศึกษาข้อมูล ความรู้ด้านต่างๆ เป็นบทเรียนที่ได้ฟังความรู้ ความ ภูมิใจ คุณธรรม การคิดอย่างสร้างสรรค์ มีการจัดชั้นเรียนเชิงบวก ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวก บริหารจัดการให้เกิดความ อบอุ่น ความรัก เช่น นักเรียนรักครู ครูรักนักเรียน และนักเรียนรักกันในห้องเรียน โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี เป็นโรงเรียน ขนาดใหญ่พิเศษ มีความพร้อมสูงในการจัดการบริหารชั้นเรียน ครูผู้สอนมีคุณวุฒิ และวุฒิภาวะ เข้าใจระบบงาน ระบบการ ดูแลนักเรียน ดังนั้นจึงกำหนดนโยบายให้ครูผู้สอนเอาใจใส่ ดูแลนักเรียนในทุกเรื่องทั้งด้านสุขภาพอนามัย การเรียนรู้ สภาพ ครอบครัว ความพร้อม ครูสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ปกครอง เยี่ยมบ้านนักเรียนให้ความไว้วางใจในการดูแลนักเรียน ครู ประจำชั้นทุกห้องเรียน จัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เปิดใจแสดงความคิดเห็น ความในใจเปิดเผยความรู้สึกทั้งในส่วน ปกติ และในการจัดกิจกรรมวันพิเศษของนักเรียนที่สังสรรค์ วันคริสต์มาสก็มีกิจกรรมเปิดใจซึ่งกันและกันทำให้เกิดความ ไว้วางใจ กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น เปิดเผยตัวตนและมีความมั่นใจ ซึ่งส่งผลให้นักเรียน มีความอบอุ่นไว้วางใจ ครูกับ นักเรียนมีความใกล้ชิด ในการปรึกษางานร่วมกันออกแบบการจัดกิจกรรม และมีข้อตกลงในการเสนอความเห็นแบบ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 103 ประชาธิปไตยและให้ความเป็นกันเอง เช่น การจัดกิจกรรมกีฬาสี ประจำปี 2565 ปรับรูปแบบกิจกรรมโดยนักเรียนและครู ประจำชั้นแต่ละห้อง ร่วมกันคิดกิจกรรมและวางแผนการทำงานร่วมกัน ทุกคนได้มีส่วนร่วม วางแผน แสดงออก สิ่งที่ได้รับเป็น ความสุข สนุกในการทำกิจกรรมร่วมกัน ผลจากการพัฒนาจะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพนักเรียนในการเป็นผู้นำ การเรียนรู้จาก กิจกรรม แบบสร้างสรรค์ การดำเนินการในการสร้างความสัมพันธ์อันดี ของครูและศิษย์จัดบรรยากาศเป็น การอยู่ร่วมกันด้วยความรัก เอาใจใส่ ดูแลความสะอาดในห้องเรียน จัดตกแต่งห้องเรียนให้กำลังใจ ชื่นชมยินดีกับความสำเร็จของนักเรียน สร้างให้นักเรียนมี คุณธรรมและมีบุคลิกภาพที่ดี สภาพและบรรยากาศในห้องเรียน จะเป็นการอยู่ร่วมกันในเชิงบวก ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ ของปีการศึกษาที่ผ่านมา นำมากำหนดแนวทางในการพัฒนาครู จัดประชุม อบรม พัฒนาให้ครูมีความเชี่ยวชาญในการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เน้นการสร้างองค์ความรู้ กระบวนการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน จัดทำแผนการเรียนรู้ในการพัฒนาผู้เรียน ตรวจสอบผลการพัฒนาผู้เรียน กลุ่มใดมีจุดเด่น จุดควรพัฒนา ถ้าพบปัญหาด้านการ เรียน จะดำเนินการติดตาม จัดระบบประเมินผลเป็นระยะและนำผลมาเปรียบเทียบดูการพัฒนา พร้อมกับพิจารณาช่วยเหลือ ให้นักเรียนมีความก้าวหน้าขึ้น ใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ตั้งกลุ่มติดตามงานดูแลในระบบกลุ่มเพื่อให้มีคุณภาพการเรียนดีขึ้น ระบบงานวิชาการมีการกำหนดอัตราส่วนคะแนนภาคปฏิบัติการสอบวัดความรู้ การประเมินตามสภาพจริง การประเมิน ชิ้นงาน ผลงานนักเรียน และประเมินพัฒนาการ ความก้าวหน้า รวมถึงเปรียบเทียบตามตัวชี้วัดและเป้าหมายของหลักสูตร และหน่วยการเรียนรู้ ในแต่ละภาคเรียน จะมีการประเมินผลการเรียน 2 ครั้ง และนำผลมาพิจารณาตัดสินการดำเนินงาน การสร้างเครื่องมือในการประเมินผล ครูผู้สอนผ่านการอบรมการวัดและประเมินผลตามระบบ โครงสร้างแบบวัดและ ประเมินผล ในรูปแบบทดสอบการประเมินชิ้นงาน ผลงาน โดยมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพ และระบบการประมวลผล โดยใช้ ระบบ School Bright ในการใช้ข้อมูลสรุปผลการดำเนินงาน และเปิดโอกาสให้นักเรียนในห้องเรียนมีส่วนร่วมในการ ประเมินผล เพื่อให้เกิดความสมดุลในการประเมินแต่ละส่วน และนำมาประเมินไปปรับปรุง แก้ไขในการประเมินและจัดทำ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ทั้งระบบ สู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้เรียนและนำมาแก้ไข แต่ละประเภท เช่น การอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ ละวิชา และการพัฒนาด้านศักยภาพ พฤติกรรมการแสดงออก รวมถึงการได้รับความสุขในการมาโรงเรียน ครูผู้สอนของโรงเรียนในทุกระดับชั้นมีการพัฒนาตนเองในแต่ละมิติเพื่อให้เกิดคุณภาพในการปฏิบัติงาน โดยมีระบบ การพัฒนาร่วมกันดังนี้ 1. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในการพัฒนางานการเรียนการสอนโดยมีการประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทบทวนพัฒนาประเด็นต่างๆ ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ความรู้ตามวิชาเอก ศิลปะในการสอน และระดมพลังสมอง เกี่ยวกับการแก้ปัญหาด้านต่างๆ 2. ดำเนินการในการนำเสนอนวัตกรรมในกลุ่มสาระที่จะนำมาใช้ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาด้านการเรียนการ สอน โดยมีการกำหนด แนวทางในการพัฒนานวัตกรรม การประเมินผลการพัฒนานวัตกรรม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 104 3. การประเมินสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้เมื่อพบประเด็นปัญหาหรือแก้ปัญหา 4. กิจกรรมการนิเทศ การสอนภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยฝ่ายวิชาการ หัวหน้าสายชั้น / หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้ และเชิญครูที่มีคาบว่างมาร่วมกิจกรรมนิเทศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์โดยจัดทำโครงการ นิเทศแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูผู้สอนจะนำความรู้ที่ได้รับแนวทางในการแก้ปัญหามาปรับในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และสร้าง ประสิทธิภาพในการทำงานทั้งในด้านการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานในระบบ จากการดำเนินงานดังกล่าวโรงเรียนมีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้วยการ กำกับ ติดตาม ตรวจสอบตามนโยบายของสถานศึกษา และมีการประเมินผลที่เกิดกับผู้เรียน ประเมินสภาพจริงในการปฏิบัติ โดยการสังเกต สอบถาม สัมภาษณ์ ประเมินจากสถานการณ์การพัฒนาและอยู่ร่วมกับนักเรียน การนิเทศและการประเมินตาม ประเด็นมาตรฐานคุณภาพการศึกษา การนำผลไปปรับปรุงพัฒนางาน โรงเรียนได้นำผลจากการประเมินมาเป็นแนวทางในการพัฒนาในปีการศึกษา ต่อไปในด้านการจัดสรรบุคลากร ระบบการวัดและประเมินผล ระบบการจัดการเรียนการสอน คุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ ความสามารถด้านวิชาการ และคุณภาพนักเรียนตามหลักสูตร ดังนั้นการพัฒนาด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากการประเมินผลมีคุณภาพในการพัฒนา ประสบ ความสำเร็จและมีผลการพัฒนาในระดับ ยอดเยี่ยม


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 105 จุดเด่น (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก o เด็กพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมตามวัย o เด็กสามารถปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ตนเองนับถือ o เด็กเรียนรู้และยอบรับกฎระเบียบ การอยู่ร่วมกันในสังคม มีวินัย o เด็กมีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการเสียสละ o เด็กมีทักษะทางการสื่อสารภาษาต่างประเทศ สื่อสารได้เหมาะสมตามวัย o เด็กมีความมั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก o เด็กรู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกับผู้อื่น o เด็กมีทักษะการใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ดี เหมาะสมตามวัย o เด็กมีจินตนาการ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักแสวงหาความรู้ o เด็กดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย o เด็กมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับวัย o เด็กมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น o เด็กมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย o เด็กมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ยอมรับและชื่นชมผู้อื่น o เด็กมีสุขนิสัยที่ดี สามารถเลือกรับประทานอาหารมีประโยชน์ o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ o ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา o ผู้บริหารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนตามบริบทของสถานศึกษา o ผู้บริหารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น o ผู้บริหารส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือกันในสถานศึกษา ท้องถิ่น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย o ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย o ผู้บริหารจัดสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการด้านสื่อเทคโนโลยีที่ครบถ้วนเพียงพอ o ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร o ผู้บริหารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ o ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีคุณธรรม จริยธรรม o ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์อยู่เสมอ o ผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน o ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม o ผู้บริหารจัดการงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 106 o ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครูให้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก o ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ o ครูจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เน้นการปฏิบัติจริงมีประสิทธิภาพส่งผลต่อพัฒนาการเด็กทุกด้าน o ครูปลูกฝังเด็กให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก o ครูมีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดประสบการณ์ได้อย่างเหมาะสม o ครูสามารถบูรณาการสื่อสำหรับการจัดประสบการณ์ได้เป็นอย่างดีและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน o ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร รู้เป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา o ครูนำผลการประเมินเด็ก การจัดประสบการณ์ในชั้นเรียนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น o ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล ใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย o ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก o ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชิดดูแลเอาใจใส่เด็กอย่างทั่วถึง o ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ o ครูมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ชุมชน o ครูมีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ o ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ o ครูพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศึกษาดูงาน ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ o ครูจัดทำนวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ที่สนใจ o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการออม o กิจกรรมประเภทให้ความรู้ด้านการเงิน การออม การลงทุน o กิจกรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน o อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม o กิจกรรมประเภทให้ความรู้และปลูกสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม o กิจกรรมประเภทส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน o อื่น ๆ ระบุ............................................................................


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 107 จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก o เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญาไม่เป็นไปตามเกณฑ์เหมาะสมกับวัย o เด็กขาดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับวัย o เด็กขาดความรับผิดชอบ การทำงานที่รับมอบหมายให้สำเร็จ ความมีระเบียบวินัย o เด็กประพฤติตนไม่เป็นไปตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ o เด็กมีส่วนสูง น้ำหนัก ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน o เด็กขาดความสามารถในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย o เด็กขาดทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย o เด็กขาดสุขนิสัยที่ดี ถูกสุขลักษณะ การรู้จักรักษาความสะอาดของตนเอง สถานที่ การเลือกรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ o เด็กขาดความกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นำ ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นยังไม่เหมาะสมตามวัย o เด็กขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา สามารถวิเคราะห์เหตุและผล o เด็กขาดทักษะความสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ การใช้เทคโนโลยียังไม่เหมาะสมกับวัย o เด็กขาดจิตสำนึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม o เด็กขาดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การไตร่ตรอง การสังเคราะห์ o เด็กยังไม่สามารถปฏิบัติตนอย่างมีมารยาท มีสัมมาคารวะ ตามวัฒนธรรมไทยได้เหมาะสมตามวัย o เด็กขาดความพร้อม และทักษะในการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ o ผู้บริหารควรนำระบบประกันคุณภาพการศึกษามาใช้เป็นส่วนในการบริหารจัดการ o ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดวิสัยทัศน์ ในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ก้าวหน้า มีประสิทธิภาพ o ผู้บริหารขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำมาปรับใช้ในการบริหารจัดการ o ผู้บริหารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารจัดการสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดการดูแล การให้ขวัญกำลังใจ สวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลากรอย่างเหมาะสม ไม่ทั่วถึง o ผู้บริหารจัดสรรครูผู้สอน บุคลากร ไม่เพียงพอ ไม่เป็นไปตามวุฒิ ตามเกณฑ์ที่กำหนด o ผู้บริหารขาดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนในการบริการ o ผู้บริหารไม่มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สถานที่เรียนไม่มีความปลอดภัย o ผู้บริหารจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ ไม่เพียงพอต่อการให้บริหาร o ผู้บริหารไม่พัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนให้เป็นระบบ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 108 o ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครู บุคลากร ได้พัฒนาตนเองจนมีความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก o ผู้บริหารไม่มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน o ผู้บริหารไม่มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก o ผู้บริหารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ o ครูขาดความรู้ ทักษะในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านให้เหมาะสมกับวัย o การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนของครูไม่ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการของเด็ก o ห้องเรียนไม่สะอาด ขาดสุขลักษณะ ไม่มีความปลอดภัยต่อเด็ก o ครูขาดการวิจัยในชั้นเรียน ไม่นำงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน o ครูขาดการผลิตสื่อที่หลากหลาย และไม่มีการใช้สื่อที่หลากหลายในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก o ครูไม่จัดมุมประสบการณ์ในชั้นเรียน กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้งให้กับเด็ก o ครูไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ขาดคุณธรรม จริยธรรม o ครูขาดทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก o ครูไม่มีการพัฒนาตนเองด้วยการเข้าร่วมการอบรมที่ส่งเสริมความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ o ครูไม่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู เพื่อนร่วมงานในสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม o ครูไม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวัตกรรม แบบอย่างที่ดีทั้งในสถานศึกษาและต่อสาธารณชน o ครูไม่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน การทำงานเป็นทีม o ครูขาดทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ และการนำมาใช้ในชั้นเรียน o ครูขาดคุณวุฒิ ความรู้ ตามสายอาชีพ o ครูขาดการใช้วิธีประเมินผลที่หลากหลาย เป็นรายบุคคล และบันทึกผล ติดตามเด็กอย่างต่อเนื่อง


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 109 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน o ผู้เรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดรวบยอด การแก้ไขปัญหา o ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ความสามารถในด้านการอ่าน การเขียนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด o ผู้เรียนขาดความรับผิดชอบ ไม่มีระเบียบวินัย ขาดการมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม มีจิตอาสา o ผู้เรียนไม่ประพฤติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ไม่ปฏิบัติตนตามหลักธรรม คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ o การเจริญเติบโต สมรรถภาพทางกายของผู้เรียนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ o ผู้เรียนไม่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย ผู้เรียนขาดทักษะการคิด การปฏิบัติตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การใช้ทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 o ผู้เรียนไม่ปฏิบัติตนตามสุขนิสัยที่ดี ไม่ดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย อาคารสถานที่ o ผู้เรียนขาดความกล้าแสดงออก ไม่มีความเป็นผู้นำ ขาดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น o ผู้เรียนขาดการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา ไม่สามารถวิเคราะห์เหตุและผล o ผู้เรียนขาดความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมกับวัย o ผู้เรียนขาดจิตสำนึกการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม o ผู้เรียนขาดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การไตร่ตรอง การสังเคราะห์ o ผู้เรียนขาดการรู้จักมีมารยาท มีสัมมาคารวะ ตามวัฒนธรรมไทย o ผู้เรียนขาดการคิดนอกกรอบ พัฒนาการสร้างนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ o ผู้บริหารไม่ใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดวิสัยทัศน์ ในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ก้าวหน้า มีประสิทธิภาพ o ผู้บริหารขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตามสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อนำมาปรับ ใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา o ผู้บริหารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ของผู้บริหาร o ผู้บริหารขาดการดูแล การให้ขวัญกำลังใจ สวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลากรอย่างเหมาะสม ไม่ทั่วถึง o ผู้บริหารจัดสรรครูผู้สอน บุคลากร ไม่เพียงพอ ไม่เป็นไปตามวุฒิ ตามเกณฑ์ที่กำหนด o ผู้บริหารขาดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนในการบริการ o ผู้บริหารไม่มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สถานที่เรียนไม่มีความปลอดภัย o ผู้บริหารจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ ไม่เพียงพอต่อการให้บริหาร o ผู้บริหารไม่มีการพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนที่เป็นระบบ


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 110 o ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครู บุคลากร ได้พัฒนาตนเองจนมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน o ผู้บริหารไม่มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน o ผู้บริหารไม่มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก o ผู้บริหารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ o ครูขาดความรู้ ทักษะในกระบวนการจัดการเรียนการสอน จบไม่ตรงสาขาที่สอน o การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนของครูไม่ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ ไม่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน o ห้องเรียนไม่สะอาด ขาดสุขลักษณะ ไม่มีความปลอดภัย ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ o ครูขาดการวิจัยในชั้นเรียน ไม่นำงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน o ครูขาดการผลิตสื่อที่หลากหลาย และไม่มีการใช้สื่อที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน o ครูไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีขาดคุณธรรม จริยธรรม o ครูขาดทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน o ครูไม่มีการพัฒนาตนเองด้วยการเข้าร่วมการอบรมที่ส่งเสริมความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน o ครูขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู เพื่อนร่วมงานในสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม o ครูไม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวัตกรรม แบบอย่างที่ดีทั้งในสถานศึกษาและต่อสาธารณชน o ครูขาดการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน การทำงานเป็นทีม o ครูขาดทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร และการนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน o ครูไม่มีคุณวุฒิ ความรู้ ทักษะในการจัดการเรียนการสอน ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย o ครูขาดการใช้วิธีการประเมินผลที่หลากหลาย เป็นรายบุคคล และบันทึกผล ติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง o ครูขาดความซื่อสัตย์สุจริตต่ออาชีพ และหน้าที่การงาน


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 111 แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา 1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เกิดคุณภาพ ตามหลักสูตรสถานศึกษา และจุดเน้นในการพัฒนาแต่ละแผนการเรียน 2. พัฒนาด้านภาษาในการสื่อสารการเรียนรู้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และมีความคล่องตัวใน การบริหารจัดการ ความต้องการช่วยเหลือ 1. การพัฒนา ด้านการเสริมสร้างความรู้ให้แก่ ครูผู้สอนให้เกิดสมรรถนะในการพัฒนาตนเอง ตามมาตรฐานวิชาชีพครู 2. การเสริมสร้างทักษะด้านอาชีพ โดยการสนับสนุนจากวิทยากรหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ความรู้ทางอาชีพในยุค ศตวรรษที่ 21 ความโดดเด่นของสถานศึกษา โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี ได้พัฒนาการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพให้เกิดความโดเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม มี การปฏิบัติด้านการช่วยเหลือสังคม อุทิศตนเพื่อสังคม การปฏิบัติกิจกรรมทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน โดยใช้แนวคิด ในการปฏิบัติตามจิตตารมณ์พระหฤทัย กระบวนการปฏิบัติ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสังคม กระบวนการปฏิบัติจัดทำทั้งระบบ บุคลากรในโรงเรียนทุกคนร่วมกันปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต และเป็นที่ยอมรับโดยใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ประกอบการจัดกิจกรรม คือ ทฤษฎีของ มาสโลว์ ลำดับขั้นความต้องการของ Maslow’s Hierarchy of Needs และความหมายของจิตอาสา กรอบแนวคิด ในการดำเนินการจิตอาสา เป็นการสมัครใจด้สนความพึงพอใจในการช่วยเหลือสังคม ภายใต้เงื่อนไขหลักคุณธรรมของผู้มีความ ซื่อสัตย์ สุจริต พากเพียร โดยใช้กระบวนการและวิธีดำเนินการ ความโดดเด่นของสถานศึกษา ระดับการศึกษา ได้รับการยอมรับเป็นต้นแบบระดับ นานาชาติ (C 3) ชาติ (C 2) ท้องถิ่น/ภูมิภาค (C 1) 1.จิตอาสาพัฒนาสังคม ป.1 - ม.6 ✓ 2 .โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ป.1 - ม.6 ✓


โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 112 กระบวนการพัฒนาความโดดเด่นของสถานศึกษา การพัฒนากิจกรรม จิตอาสา โรงเรียนได้ดำเนินการในการปลูกฝัง สร้างเสริมให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม จิตอาสาด้สนความภาคภูมิใจ ความตั้งใจ และการมีหัวใจ เปี่ยมด้วยคุณธรรม จริยธรรมในการคิดถึงส่วนรวมและการทำเพื่อคน อื่น โดยสถานศึกษามีการพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรม 1. จัดกิจกรรมภายในและภายนอกโรงเรียน ให้นักเรียน ครู สามารถปฏิบัติได้ตามความสนใจ 2. อบรมเชิงปฏิบัติการในการสร้างจิตสำนึกในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคม 3. จัดนิทรรศการ สร้างแนวคิดและผลการดำเนินงานและนิทศรรการเพื่อเป็นการเรียนรู้และเห็นแบบอย่างที่ดี 4. ให้ขวัญกำลังใจ ประกาศเกียรติคุณ ผู้ที่ทำความดี และให้ขวัญกำลังใจ แก่ผู้ปฏิบัติกิจกรรม กระบวนการในการพัฒนาด้านการส่งเสริมโรงเรียนคุณธรรม จริยธรรม โดยจัดทำกิจกรรมที่พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามข้อกำหนดในการส่งโรงเรียนเข้าประกวด ซึ่งได้รับรางวัล โล่ “The Heart of Giving” ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 ถึงปี การศึกษา 2565 โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในรูปแบบที่หลากหลาย


Click to View FlipBook Version