The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสภาพโรงเรียนเทศบาล2บ้านกระทู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mamawolfgrowlhistoru, 2022-07-07 03:11:41

รายงานสภาพโรงเรียน

รายงานสภาพโรงเรียนเทศบาล2บ้านกระทู้

รายงาน

การศึกษาสงั เกตสภาพทวั่ ไปของโรงเรียน

การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชีพครรู ะหว่างเรยี น ๑

(Professional Practicum 1)

โรงเรียน เทศบาล ๒ บา้ นกะทู้

รายช่ือนกั ศึกษา

๑. นางสาวจิรชั ญา นาคสุวรรณ รหสั นกั ศกึ ษา ๖๓๑๑๗๐๗๑๐๕ สาขาวิชาภาษาไทย

๒. นายรัตภูมิ เลพล รหสั นักศึกษา ๖๓๑๐๓๕๗๑๒๓ สาขาวิชาคณิตศาสตร์

๓. นางสาวธนั ยพร จานงคภ์ กั ด์ิ รหสั นกั ศกึ ษา ๖๓๑๐๙๔๑๑๐๗สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป

๔. นางสาวสลิลทิพย์ แกว้ เพ็ง รหัสนักศกึ ษา ๖๓๑๑๑๔๙๑๒๔ สาขาสงั คมศึกษา

๕.นายณฐั วฒุ ิ คงเรอื ง รหสั นักศกึ ษา ๖๓๑๐๖๗๗๒๑๐ สาขาพลศกึ ษา

๖.นางสาวจันทรจ์ ริ า ทองเล็ก รหัสนกั ศึกษา ๖๓๑๐๖๗๗๒๐๔ สาขาพลศกึ ษา

๗.นายธนเทพ แซข่ ู่ รหัสนกั ศึกษา ๖๓๑๐๓๘๐๑๑๒ สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา

๘.นางสาวอิสริยา สรุ ยิ รงั ษี รหสั นักศกึ ษา ๖๓๑๐๒๗๑๑๒๘ สาขาการศกึ ษาปฐมวยั

๙.นางสาวบญุ สิตา บญุ เอบิ รหสั นกั ศกึ ษา ๖๓๑๑๑๙๘๑๑๗ สาขาการประถมศึกษา

ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภเู กต็



คำนำ

การปฏบิ ตั ิการสังเกตการสอนในสถานศกึ ษา ๑ ณ โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ตาบลกะทู้ อาเภอกะ
ทู้ จังหวัดภูเก็ต เป็นวิชาที่เน้นการศึกษาการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับผู้เรียนด้านต่าง ๆ ในด้านสภาพทั่วไปของ
สถานศกึ ษา งานบริหารและบรกิ ารของสถานศึกษา สภาพและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถานศึกษากับชุมชน งาน
ในหน้าที่ครู เพื่อศึกษาผู้เรียน ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านพัฒนาการและ
ปัญหาทางการเรียน และเพื่อศึกษาการเป็นผู้ช่วยครูด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
และดา้ นการพฒั นาสถานศกึ ษาและชมุ ชน

สาหรับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติการสังเกตการสอนในสถานศึกษา ได้เรียนรู้กระบวนการการ
จัดการเรียนรู้ในการเรียนการสอน การปฏิบัติหน้าที่ครูประจาชั้น การปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอน การผลิตสื่อและ
นวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการปฏิบัติการสอนการนาหลักจิตวิทยามาเป็นแนวทางในการปฏิบัติหรือควบคุมชั้น
เรียน งานบริหารและงานบริการตา่ ง ๆ ตลอดจนเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการนามาปฏิบัติใช้
ในการสอน และการทางานเป็นคณะก็ถือเป็นส่วนสาคญั ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนางานใหม้ ีความสมบูรณ์
ยิ่งขึ้น อีกทั้งการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้นักศึกษาเล็งเห็นถึงบทบาทหน้าที่ของการเป็นบุคลากรของ
โรงเรียน ไม่ว่าจะในตาแหน่งใดก็ตามล้วนแต่มีความสาคัญต่อการพัฒนาตัวบุคลากร นักเรียน สถานศึกษา
ตลอดจนเชื่อมโยงกับชุมชนสาหรับประโยชน์จากการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาที่กล่าวมาเป็นเพียง ส่วน
หนึ่งเท่าน้ัน

คณะผูจ้ ดั ทาจึงขอขอบคณุ อาจารยท์ ุกทา่ น ทใ่ี ห้นักศกึ ษาชั้นปีท่ี ๓ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏภูเก็ต มาปฏิบัติการสังเกตการสอนในสถานศึกษา ๑ ณ โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ตาบลกะทู้
อาเภอกะทู้ จงั หวัดภเู กต็ ขอขอบคุณคณะครูทุกทา่ นทคี่ อยให้คาปรกึ ษา คาแนะนา จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ตลอดจนขอขอบพระคุณทา่ นผอู้ านวยการ นางสวรรยา ศิรกิ ิจวฒั นาและคณะครู โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้
ท่ีใหโ้ อกาสในการมาปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาครง้ั น้ี หากผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้

คณะผ้จู ัดทา



สำรบัญ

เรือ่ ง หน้ำ

๑. ขอ้ มูลโรงเรียนฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครู ๑

๑.๑ ท่ีต้งั โรงเรยี น............................................................................................................................ .๑

๑.๒ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา..................................................................................................................๑

๑.๓ คณะกรรมการสถานศกึ ษา.........................................................................................................๒

๑.๔ ปรัชญาโรงเรยี น......................................................................................................................... ๘

๑.๕ วิสัยทศั น์ของโรงเรียน................................................................................................................๘

๑.๖ พนั ธกจิ ของโรงเรียน..................................................................................................................๘

๑.๗ ยทุ ธศาสตรข์ องโรงเรยี น............................................................................................................๘

๑.๘ เอกลักษณ์ของโรงเรียน............................................................................................................๑๐

๑.๙ อัตลักษณข์ องโรงเรียน.............................................................................................................๑๐

๑.๑๐ ข้อมลู บุคลากร.......................................................................................................................๑๑

๑.๑๑ ข้อมูลนกั เรียน.......................................................................................................................๑๑

๑.๑๒ ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน...........................................................................................๑๒

๒. งำนบรหิ ำรและบรกิ ำรของโรงเรียน ๑๕

๒.๑ การบริหารงานบคุ คล...............................................................................................................๑๕

๒.๒ การบรหิ ารงานวิชาการ........................................................................................................... ๑๖

๒.๓ การบริหารงานงบประมาณ................................................................................................... ๑๖

๒.๔ การบรหิ ารงานท่ัวไป........................................................................................................... ๑๗

สำรบัญ (ตอ่ ) ค

เรื่อง หน้ำ
๓. สภำพชมุ ชนและควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งโรงเรียนกับชุมชน ๑๗
๑๗
ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม ๑๙
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา ๑๙
แหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ๒๐
๓.๑ โครงการ/กจิ กรรมที่โรงเรียนดาเนนิ การรว่ มกับชุมชน ๒๑
๓.๒ แผนผงั แสดงบริเวณและที่ตง้ั ของโรงเรยี น ๒๒
๔. ผลกำรประเมนิ คุณภำพกำรศกึ ษำ ๒๒
๔.๑ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในในรอบปีท่ผี ่านมา (ปีการศึกษา ๒๕๖๓) ๒๓
๔.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบปที ่ีผา่ นมา (ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓) ๒๓
๔.๓ ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก ๒๓
๔.๓ แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๒๗
๕. ผลกำรแลกเปล่ยี นเรียนรู้ (PLC : Professional learning Community) ๓๑
ภำคผนวก

สำรบัญภำพ ง

เร่ือง หนำ้
ภาพที่ ๑ คณะกรรมการสถานศกึ ษาและคณะครถู า่ ยโอนโรงเรียน ๑๔

เข้าสังกดั เทศบาลเมืองกะทู้ ๒๑
ภาพท่ี ๒ แผนผังแสดงบริเวณ ๒๒
ภาพท่ี ๓ ท่ีตง้ั โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ๓๐
ภาพที่ ๔ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (PLC : Professional learning Community)

สำรบญั ตำรำง จ

เรอ่ื ง หน้ำ
ตารางที่ ๑ ยุทธศาสตรข์ องโรงเรียน ๙
ตารางที่ ๒ แหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรยี น ๒๐
ตารางท่ี ๓ แหล่งการเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ๒๐
ตารางที่ ๔ แสดงระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ปีการศึกษา ๒๕๖๓) ๒๒
ตารางที่ ๕ แสดงระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) ๒๓



ขอ้ มูลสถำนศึกษำทฝ่ี ึกปฏิบตั ิวิชำชพี ครูระหวำ่ งเรียน ๑

ภำคเรยี นท่ี ๑ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๕

๑. ข้อมูลโรงเรียนฝกึ ประสบกำรณ์วชิ ำชีพครู

๑.๑ ท่ตี ้ังโรงเรยี น

โรงเรยี นเทศบาล ๒ บา้ นกะทู้ สงั กัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองกะทู้ ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้
จงั หวัดภเู กต็ ท่ีตง้ั ตงั้ อยู่ทีเ่ ลขท่ี ๙/๑๑ หมู่ที่ ๒ ถนนวชิ ิตสงคราม ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้ จงั หวัดภเู กต็
รหสั ไปรษณีย์ ๘๓๑๒๐ โทรศพั ท์ ๐๗๖ - ๓๒๑๐๓๕

Email : [email protected]

๑.๒ ผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ

ชอ่ื ผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ นางสวรรยา ศริ ิกิจวัฒนา

ชื่อผชู้ ่วยผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำ นางสาวอาภาพันธ์ แสงดารา

ชอ่ื ผชู้ ่วยผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ นางเบญจวรรณ ดาบทอง

ฝ่ำยปกครอง นางธญั วรตั น์ แกว้ เพชร

ฝำ่ ยธรุ กำร นางสาววนิดา รกั จิต

ฝำ่ ยบรหิ ำรงำนวิชำกำร นางเบญจวรรณ ดาบทอง

ฝ่ำยบริหำรงำนบคุ ลำกร นางศริ ริ ตั น์ ชรู าช

ฝ่ำยบรหิ ำรงำนแผนและงบประมำณ วา่ ท่รี ้อยตรีหญงิ พรรณนภัส ไชยวรรณ์

ฝ่ำยบรหิ ำรงำนทั่วไป นางสาวอาภาพันธ์ แสงดารา

หวั หน้ำฝ่ำยวชิ ำกำร (มัธยม) นางสาวมณั ฑณา ประชารกั ษ์



๑.๓ คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ

คณะกรรมการฝ่ายอานวยการ ประกอบด้วย

๑.๑ นางสวรรยา ศริ ิกจิ วฒั นา ประธานกรรมการ

๑.๒ นางเบญจวรรณ ดาบทอง รองประธานกรรมการ

๑.๓ นางสาวอาภาพนั ธ์ แสงดารา กรรมการ

๑.๔ นางศริ ริ ตั น์ ชรู าช กรรมการ

๑.๕ ว่าทร่ี อ้ ยตรีหญิงพรรณนภัส ไชยวรรณ์ กรรมการ

๑.๖ นางสาวมณั ฑณา ประชารักษ์ กรรมการและเลขานุการ

๑.๗ นางสาวศุภรัตน์ ปติ ิ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มหี น้ำท่ี

๑. ประชมุ วางแผนการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๒. ให้คาปรกึ ษาอานวยความสะดวก และประสานงานในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในแตล่ ะ

มาตรฐาน

๒.คณะกรรมกำรรวบรวมเอกสำร ประเมนิ มำตรฐำนสถำนศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน

๒.๑ มำตรฐำนท่ี ๑ ด้ำนคุณภำพของผเู้ รียนมี ๑๐ ประเด็น ประกอบด้วย

๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผเู้ รยี น (๖)

๑) มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา

๒) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยน
ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม

๔) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

๕) ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี น

๖) มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ



๑.๒.คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน (๔)

๑) มีคุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดีตามสถานศึกษากาหนด

๒) มคี วามภมู ิใจในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย

๓) ยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

๔) มสี ุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม

มำตรฐำนท่ี ๑ ด้ำนคณุ ภำพของผเู้ รยี นระดับประถม - มัธยม ประกอบด้วย

๑.นางเบญจวรรณ ดาบทอง ประธานกรรมการ

๒.นางสาวมัณฑนา ประชารักษ์ รองประธานกรรมการ

๓.นางพรพิมล พลู ศริ ิ กรรมการ

๔. นางสาวเบญจวรรณ พน้ ภัย กรรมการ

๕. นางพัชรินทร์ จีนแบง่ กรรมการ

๖. นายนรารกั ษ์ สมาแอ กรรมการ

๗. นายพงศกร อรณุ รตั น์ กรรมการ

๘. นายวฒุ ิชยั พแู หวน่ กรรมการ

๙. นายริสกี จงรกั ษ์ กรรมการ

๑๐. นายรชั พล ทองถม กรรมการ

๑๑. นายธราวุฒิ พนั ธท์ ิพย์ กรรมการ

๑๒. นายธีรศักดิ์ กาญจนรักษ์ กรรมการ

๑๓. นายนาโชค แทนหาร กรรมการ

๑๔. นางสาวสธุ าสนิ ี ศรีแกว้ กรรมการ

๑๕. นางสาวธญั วดี ชชู ิต กรรมการ

๑๖. นางสาวนจั มยี ์ เซ็งสะ กรรมการ



๑๗.นางสาวพชั รวรรณ หวังดี กรรมการ

๑๘.นางสาวนิตยา เก้อื ชมุ กรรมการ

๑๙.นางสาวพชิ ามญช์ุ ศรสี ินธนนิ ี กรรมการ

๒๐.นางสาวศภุ รัตน์ ปิติ กรรมการและเลขานุการ

๒๑.นางสาววรรณภรณ์ ตะวนั กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

๒.๒ มำตรฐำนที่ ๒ ด้ำนกระบวนกำรบริหำรและจดั กำร มี ๖ ประเด็น ประกอบด้วย

๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชดั เจน

๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของการศึกษา

๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและ

ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ

๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี ออื้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการเรยี นรู้

มำตรฐำนท่ี ๒ ดำ้ นกระบวนกำรบริหำรและจัดกำร ประกอบด้วย

๑. นางสาวอาภาพนั ธ์ แสงดารา ประธานกรรมการ

๒. วา่ ท่รี ้อยตรหี ญิงพรรณนภัส ไชยวรรณ์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสุธารัตน์ สงิ หค์ ีพงค์ กรรมการ

๔. วา่ ท่ีร้อยตรสี ุวทิ ย์ สหะกจิ กรรมการ

๕. นายวรพจน์ ศรีสุกใส กรรมการ

. ๖. นายปภณิ วชิ เกษรินทร์ กรรมการ

๗. นางสาวจนิ ทนา พาเจรญิ กรรมการ

๘. นางสาวจิราพร พบิ ูลย์ กรรมการ



๙. นางสาวพาขวัญ พลเดช กรรมการ
๑๐. นางสาวปนัดดา สวุ รรณลิขสทิ ธ์ิ กรรมการและเลขานุการ
๑๑.นางสาวอธิชา บวั ยก กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

๒.๓ มำตรฐำนที่ ๓ ดำ้ นกระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั มี ๕ ประเดน็
ประกอบดว้ ย

๓.๑ จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริงและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้

๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้

๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก

๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน

๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจดั การ
เรยี นรู้

มำตรฐำนท่ี ๓ ดำ้ นกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ประกอบด้วย

๑. นางศริ ิรัตน์ ชูราช ประธานกรรมการ

๒. นางพัชรนิ ทร์ จีนแบ่ง ประธานกรรมการ

๓. นางสาวปยิ าภรณ์ ชัยทอง รองประธานกรรมการ

๔. นายนนทป์ วิช อีสอ กรรมการ

๕. นายศุภโชค รงคก์ ุล กรรมการ

๖. นายมักตา กะสิรักษ์ กรรมการ

๗. นางสาวนิรนชุ จันทร์เอียด กรรมการ

๘. นางสาวกฤษณา ศรีวเิ ชียร กรรมการ

๙. นางสาววนิดา รกั จติ กรรมการ

๑๐. นางสาวหทัยชนก มากคง กรรมการ



๑๑. สบิ เอกหญงิ บษุ บา บัวแก้ว กรรมการและเลขานุการ
๑๒. นางสาวพมิ พว์ ลัญช์ ชาติดอนไฟ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

มหี นำ้ ที่

. ๑. จัดพมิ พร์ ายงานมาตรฐานแตล่ ะดา้ นทรี่ บั ผิดชอบ และจัดเก็บเอกสารรอ่ งรอย เพ่ือเตรียมใน

การประเมนิ การประกนั คุณภาพของมาตรฐานทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ

๒. รวบรวมรอ่ งรอยเอกสาร/หลักฐาน ตามตวั ชีว้ ัดเข้าแฟ้มมาตรฐาน และประเมินตนเองตามแบบ

ประเมนิ ทีก่ าหนดให้

๓. สรปุ คะแนนผลการประเมินของแตล่ ะมาตรฐาน เพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจดั

การศึกษา

๔. นาเสนอผลการดาเนนิ การแตล่ ะมาตรฐานตามตวั บง่ ชี้ เพ่ือรับประเมินภายในจากคณะกรรมการ
ตน้ สังกดั

๕. มาตรฐานใดทมี่ ปี ัญหาให้คาปรกึ ษาคณะกรรมการอานวยการเพ่ือแก้ไขใหล้ ุล่วง

๖. จดั พมิ พเ์ อกสารแต่ละมาตรฐานตามตวั ชี้วดั พรอ้ มจดั ส่งเป็นรูปเลม่

๗. อื่น ๆ ตามความเหมาะสมและที่ไดร้ บั มอบหมาย

๓.คณะกรรมกำรจัดพิมพ์ รวบรวมเอกสำร กำกับติดตำมขอ้ มูลแต่ละดำ้ น ประกอบด้วย

๑. นางสาวมัณฑนา ประชารักษ์ ด้านท่ี ๑

๒. นายรสิ กี จงรักษ์ ดา้ นที่ ๑

๓. นางสาวนจั มยี ์ เชง็ สะ ดา้ นที่ ๑

๔. นางสาวอาภาพันธ์ แสงดารา ดา้ นท่ี ๒

๕. วา่ ท่รี อ้ ยตรหี ญงิ พรรณนภัส ไชยวรรณ์ ด้านท่ี ๒

๖. นางศริ ิรตั น์ ชรู าช ด้านที่ ๓

๗. นางพัชรินทร์ จนี แบ่ง ดา้ นท่ี ๓



มหี นำ้ ท่ี
๑.รวบรวมเอกสารการพิมพง์ านแต่ละมาตรฐานเปน็ รปู เลม่
๒.มอบหมายครู บุคลากรทุกคน จดั เตรียมแฟ้ม เอกสารรอรับการประเมนิ ภายในเดือนพฤษภาคม
๒๕๖๕ ณ หอ้ งประชุมพดุ พิชญา

๔. คณะกรรมกำรจัดรปู เลม่ เอกสำรรำยงำนประเมินตนเอง ประกอบด้วย

๑.นางเบญจวรรณ ดาบทอง ประธานกรรมการ

๒.นางสาวมณั ฑนา ประชารักษ์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวพรพิมล พูลศิริ กรรมการ

๔. นางสาววราภรณ์ ตะโม กรรมการ

๕. นางสาวจฑุ ามาศ จติ หลงั กรรมการ

๖. นางสาวนจั มยี ์ เชง็ สะ กรรมการ

๗. นางสาวพชิ ามญข์ ศรีสนิ ธนินี กรรมการ

๘. นายริสกี จงรักษ์ กรรมการและเลขานุการ

๙. นางสาวศุภรัตน์ ปิติ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มีหนำ้ ที่

๑. รวบรวมผลการประเมินในแตล่ ะมาตรฐาน จดั รวบรวมรายงานตามรปู แบบการรายงาน

ประเมินตนเองประจาปี ให้แลว้ เสร็จและส่งไฟล์งานให้เทศบาล วนั ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๕

๒.ตรวจสอบ / ตรวจทานขอ้ มูลใหเ้ รยี บร้อย ครบถว้ นสมบรู ณ์ ถกู ต้องก่อนเข้าเลม่ จานวน ๕ เล่ม

ทงั้ น้ี ใหค้ ณะกรรมการทไ่ี ด้รบั การแต่งตั้งดาเนินการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ประจาปี
การศกึ ษา ๒๕๖๔ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีตามที่ได้รบั มอบหมายอย่างเตม็ ความสามารถใหเ้ กิดผลดแี ก่
นักเรียนและโรงเรียน



๑.๔ ปรัชญำโรงเรียน
ผูร้ ้ดู ี เปน็ ผูเ้ จริญ

๑.๕ วสิ ัยทศั น์ของโรงเรียน
โรงเรียนเทศบาล ๒ บา้ นกะทู้ มุ่งพฒั นาการจัดการศกึ ษาโดยเนน้ กระบวนการจดั การเรยี นรู้

ให้ผเู้ รียนมคี วามเปน็ เลศิ ดา้ นวชิ าการ ก้าวทันเทคโนโลยี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี ุณภาพตาม
มาตรฐานสากล พร้อมรว่ มมือทกุ ภาคสว่ นในการพฒั นาสถานศึกษา ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

"วชิ าการเดน่ เนน้ สง่ิ แวดล้อม พรอ้ มความร่วมมือ ยดึ ถือคุณธรรม นอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี ง"
๑.๖ พันธกิจของโรงเรียน

๑. พัฒนาผู้เรียน
๒. พฒั นาครแู ละบุคลากร
๓. พัฒนาการบริหารจัดการด้วยการประกันคุณภาพ
๔. พัฒนาส่อื เทคโนโลยี
๕. พฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้
๖. พัฒนาการมีส่วนร่วม
๑.๗ ยุทธศำสตรข์ องโรงเรยี น
จากการสารวจปัญหาและความต้องการของโรงเรยี นเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ได้ กาหนดนโยบาย
การจดั การศึกษาของโรงเรียน ใหส้ อดคล้องกับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาตปิ ี พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรฐาน
การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน นโยบายด้านการศึกษาของเทศบาลเมอื งกะทู้ และความต้องการของทุกฝ่ายทีม่ ีส่วน
เก่ยี วข้องกับการจัดการศกึ ษา และได้แบง่ ยทุ ธศาสตร์ของโรงเรยี นเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ได้ ๑ ยทุ ธศาสตร์ ๗
แนวทาง ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้



ตารางที่ ๑ ยุทธศาสตรข์ องโรงเรยี น

ยทุ ธศำสตร์ แนวทำงกำรพัฒนำ หนว่ ยงำนท่รี บั ผิดชอบ
๑. ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นกำรพัฒนำ
คุณภำพกำรศกึ ษำ ๑.๑ แนวทางการพัฒนาคุณภาพและ ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

๒. ยุทธศำสตรด์ ำ้ นกำรพัฒนำ มาตรฐานการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ฝ่ายบริหารงานทว่ั ไป
นกั เรยี นใหไ้ ด้มำตรฐำน
พร้อมเข้าสสู่ ังคมนานาชาติ อาเซียนและ ฝา่ ยบริหารงานแผนและ

ความเสมอภาคทางการศึกษา งบประมาณ

๑.๒ แนวทางการพฒั นาส่งเสริม พัฒนา

ระบบการประกนั คณุ ภาพและ

ผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาใหม้ ี

ประสิทธิภาพ

๑.๓ แนวทางการพฒั นาผ้เู รยี นให้มี เจต

คตทิ ี่ดตี ามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ

พอเพยี ง

๑.๔ แนวทางการพัฒนาปรับปรุง พัฒนา

และจดั หาส่อื วสั ดุ-อปุ กรณ์

ทางการศกึ ษาให้เพียงพอและทันสมยั

๑.๕ แนวทางการพฒั นาการปรบั ปรุง

และทาแผนพัฒนาการศกึ ษาของ

สถานศึกษา

๒.๑ แนวทางการพัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมี ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการ

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ระเบียบวนิ ัย ฝา่ ยบริหารงานทั่วไป

ค่านิยมพืน้ ฐาน ๑๒ ประการและ

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

๒.๒ แนวทางการพฒั นาส่งเสริมให้

ผ้เู รียนมจี ติ สานึกรกั ท้องถนิ่

๒.๓ แนวทางการพฒั นาส่งเสรมิ ให้

ผูเ้ รียนสบื ทอดวฒั นธรรมและ ประเพณี

ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์

๒.๔ แนวทางการพฒั นาส่งเสริม สุขภาพ

ความสามารถด้านกีฬา และ

นนั ทนาการทุกประเภท ๒.๕ แนว

ทางการพัฒนาคุณภาพดา้ น เทคโนโลยี

๑๐

๓. ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรมสี ่วนร่วม เพ่อื การศึกษา การส่ือสาร และสรา้ ง ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
สังคมแหง่ การเรยี นรูส้ ูต่ ลอด
๔. ยทุ ธศำสตร์ดำ้ นบคุ ลำกร ชีวติ ฝา่ ยบรหิ ารงานบุคลากร
๒.๖ สนับสนุนสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
๕. ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำยภำพ และ ภาษาตา่ งประเทศ เปน็ ภาษาทส่ี อง ฝ่ายบรหิ ารงานทั่วไป
ส่ิงแวดล้อม เพื่อการสือ่ สารอย่างมีประสทิ ธิภาพ
๖. ยุทธศำสตรด์ ้ำนควำม ทัว่ ถงึ ๓.๑ แนวทางการพฒั นาส่งเสรมิ และ ฝา่ ยบริหารงานวชิ าการ
และเทำ่ เทียม สนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของหนว่ ยงาน ฝา่ ยบริหารงานทวั่ ไป ฝา่ ย
ทกุ ภาคส่วนทีส่ ่งผลตอ่ การศึกษา และ บริหารงานแผน และ
เพื่อสนองต่อความต้องการของนักเรยี น งบประมาณ
ผ้ปู กครอง และชุมชน
๔.๑ แนวทางการพฒั นาสง่ เสริม
สนบั สนุนความรู้ ความเข้าใจ พัฒนา
ความก้าวหน้าทางวิชาชีพตลอดจน
สวัสดิการแก่ครู และบคุ ลากรทางการ
ศึกษา
๕.๑ แนวทางการพัฒนาปรับปรงุ พัฒนา
อาคาร สถานท่ี สภาพแวดล้อม
เคร่อื งมอื เครื่องใช้ ส่อื และวทิ ยุ ทาง
การศึกษาให้เพียงพอและทันสมัย
๖.๑ แนวทางการพัฒนาสง่ เสรมิ ความ
เสมอภาคทางการศึกษา และพัฒนา
กระบวนการเรยี นรู้อย่างท่วั ถึงของ
นกั เรยี น เดก็ พิเศษ และเดก็ ด้อย โอกาส

๑.๘ เอกลักษณข์ องโรงเรียน
ดเี ดน่ ด้านการพัฒนา นาพาอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม

๑.๙ อัตลักษณข์ องโรงเรยี น
ประหยัด อดออม เพ่ือความพอเพยี ง

๑๑

๑.๑๐ ขอ้ มลู บคุ ลำกร

ครู มีทั้งหมด ๔๔ คน เป็นชาย ๑๖ คน เป็นหญิง ๒๘ คน

แยกตามวฒุ กิ ารศึกษา ดังนี้

ปริญญาเอก จานวน - คน

ปริญญาโท จานวน ๓ คน

ปรญิ ญาตรี จานวน ๔๑ คน

๑.๑๑ ขอ้ มูลนักเรยี น

นักเรยี นมที ้งั หมด ๘๗๒ คน เป็นชาย ๔๘๓ คน เป็นหญงิ ๓๘๙ คน

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ จานวน ๑๐๒ คน

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ จานวน ๙๒ คน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๑๐๕ คน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จานวน ๑๓๖ คน

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ จานวน ๑๐๖ คน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน ๑๐๖ คน

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ จานวน ๖๒ คน

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ จานวน ๖๓ คน

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ จานวน ๖๓ คน

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ จานวน ๓๕ คน

สรปุ อัตราสว่ นระหว่าง จานวนครตู ่อจานวนนักเรียน ๑ คน ตอ่ ๒๐ คน

๑๒

๑.๑๒ ประวตั คิ วำมเปน็ มำของโรงเรียน

โรงเรยี นเทศบาล ๒ บา้ นกะท้มู ีพ้ืนที่ท้งั สน้ิ ๓๐ ไร่ ตง้ั อยู่ หมู่ท่ี ๒ ตาบลกะทู้ อาเภอ กะทู้
จังหวดั ภเู ก็ต บนถนนวิชติ สงคราม สายตะวนั ออกเฉยี งเหนือของอาเภอกะทหู้ ่างจากศาลเจ้าต่าวโบเ้ กง้ (ศาลเจา้
กนิ ผัก) ๕๐๐ เมตรและหา่ งจากทีว่ า่ การอาเภอกะทู้ ๑.๒ กิโลเมตร สภาพที่ดนิ เปน็ ดนิ ปนทรายเหมอื งเกา่
บริเวณทต่ี ้ังโรงเรยี นเปน็ พืน้ ท่เี คยเปน็ เหมืองมาก่อนและอยู่ในซอยห่างจากถนนวชิ ติ สงคราม ๓๐๐ เมตร
โรงเรยี นตัง้ อยูห่ ่างจากสานกั งานเทศบาลเมืองกระทู้ ๕๐๐ เมตร เทศบาลนครภเู ก็ต ๗ กโิ ลเมตร มอี าณาเขต
ดังน้ี

ทศิ เหนอื จดถนนพระภูเกจ็ แก้ว

ทศิ ใตจ้ ดทดี่ ินตระกูลอุปัติศฤงค์

ทศิ ตะวนั ออกจดถนนวิชติ สงคราม

ทิศตะวันตกจดที่ดินตระกลู อุปตั ศิ ฤงค์

สถานที่ตั้งโรงเรียนเดิมอยู่ที่บริเวณวัดกระทเู้ ร่ิมเปดิ สอน เม่ือวันท่ี ๑ เมษายน ๒๔๕๖ โดยพระยารัษฎา
นปุ ระดิษฐ์ (คอซิมบ้)ี เป็นผ้คู ดิ สรา้ งข้นึ เมื่อครัง้ เป็นสมหุ เทศาภบิ าลมณฑลภูเกต็ ในขณะนน้ั แตห่ าหลกั ฐานไม่
พบว่าใครเป็นครูใหญ่

ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๘๐ นายคล่อง สวสั ดิรกั ษ์ ดารงตาแหน่งครูใหญ่และโรงเรยี นบา้ นกระทู้ ไดย้ ้ายมา
ปลกู สร้างในท่ดี นิ ใหมซ่ ึ่งเป็นท่ีราชพัสดุบรเิ วณดา้ นหน้าตรงขา้ มท่ีว่าการอาเภอกะทูเ้ กา่ สรา้ งดว้ ยงบประมาณ
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและเงินการกุศลของกง่ิ อาเภอกระทูเ้ ปน็ เงนิ ๖,๔๐๐ บาท

ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ นายอานวย สตนั กลุ ดารงตาแหน่งครใู หญ่

ปี พ. ศ. ๒๔๙๑ นายล่อง บัวซ้อน ดารงตาแหน่งครใู หญใ่ นเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ไดร้ ้อื อาคาร
เรยี นหลังเก่าท่ีชารดุ ทรุดโทรมมากและสรา้ งใหมโ่ ดยงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการเป็นเงิน ๑๓๐,๕๐๐
บาท

ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ นายสมมาตร ทิพโยธนิ ดารงตาแหนง่ ครูใหญส่ รา้ งอาคารเรียนแบบ ป๑ ก ๖ ห้องเรียน
(แยกสรา้ งเป็น ๒ หลัง) ด้วยงบประมาณของกระทรวงมหาดไทยเปน็ เงิน ๑๙๕,๐๐๐ บาท สรา้ งสว้ ม ๑ หลงั ๕
ทีน่ ัง่ ด้วยงบประมาณองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเกต็ เปน็ เงนิ ๑๒,๐๐๐ บาท และสรา้ งโรงอาหารหอ้ งประชุม
ดว้ ยเงนิ บรจิ าคจากการราวงเป็นเงิน ๒๕,๕๐๐ บาท

๑๓

ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ไดร้ ับงบประมาณจากองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั ภเู ก็ตสร้างโรงฝกึ งานแบบ ๓๑๓ เอ

เป็นเงิน ๗๐,๐๐๐ บาท

ปี พ.ศ.๒๕๑๒ ได้ขยายการศึกษาภาคบงั คบั ช้นั ป.๗ โดยมี นายสมนกึ เกษมภัทรา ดารงตาแหน่ง
ครูใหญ่ ขณะนนั้ มนี กั เรยี นประมาณ ๔๐๐ กวา่ คน ครู ๓๕ คน มีอาคารแบบเรยี น ๐๐๔ (๒ ชัน้ ๘ ห้อง ) ๑ หลงั
อาคารเรียนแบบ ป.๑ ก ( ชั้นเดียว ๓ หอ้ ง ) ๒ หลัง อาคารแบบ ป.๑ ก. ๖ หอ้ ง ๑ หลงั โรงฝึกงาน แบบ ๓๑๓
เอ และโรงอาหาร แบบ ๓๑๒ แบบละ ๑ หลัง ทน่ี ง่ั ๑ หลงั

ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ นางสาวประเทียบ สุขหวาน ดารงตาแหน่งครูใหญ่

ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ บริษทั บ่านหงวนตนิ ไมน่ิงจากัด โดย นายบันลอื ตันตวิ ทิ เปน็ ผจู้ ดั การได้ขอแลกเปลี่ยน
ท่ีดนิ กบั องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ภูเก็ตโดยจัดสรา้ งอาคารเรยี นแบบ ๐๑๕ ( ๒ ช้นั ๑๖ ห้องเรียน) โรงฝึกงาน
แบบ ๓๑๓ เอ และโรงอาหารแบบ ๓๑๒ แบบละ ๑ หลัง สว้ ม ๕ ที่น่งั ๒ หลงั บ้านพักครูแบบกรมสามญั ๔
หลัง พรอ้ มติดตงั้ ไฟฟ้าน้าประปาของอาคารทงั้ หมดรวมท่ีดิน ๓๐ ไร่ มี การยา้ ยวัสดุครภุ ณั ฑ์และนักเรียนมาที่
โรงเรยี นในปัจจุบนั เมอ่ื วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๑๘

ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ไดร้ บั คัดเลอื กเป็นโรงเรียนชุมชน และเม่ือวันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๑๘ ได้ทาพธิ ีเปดิ ปา้ ย
โรงเรยี นแห่งใหมน่ ้ี โดยผวู้ ่าราชการจงั หวัดภูเก็ต นายสนุ ยั ราชภณั ฑารกั ษ์ เป็นประธาน นายวีรชยั แนวบญุ
เนยี ร นายอาเภอกะทู้ กลา่ วรายงานความเปน็ มาของการสรา้ งโรงเรยี นและการแลกเปลีย่ นทดี่ ินพร้อมผนู้ า
ชุมชน ชาวบ้าน แขกผู้มีเกยี รติ ขณะนั้น นายไตรรัตน์ พทุ ธิปิลนั ธน์ เป็นหัวหนา้ สว่ นการศึกษาจังหวัดภเู ก็ต นาย
ร่งุ แสงรงุ่ รวี เปน็ หัวหนา้ หมวดการศึกษาอาเภอกะทู้ นางสาวประเทียบ สุขหวาน เป็นครูใหญ่

ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ โรงเรียนไดร้ ับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนตน้ แบบโครงการรงุ่ อรณุ ระดับประถมศกึ ษา
ของจงั หวดั ภเู กต็ ซ่งึ เป็นโครงการเน้นการจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการเพ่ือให้เกดิ จิตสานกึ ในการ
อนุรกั ษ์พลงั งานเพ่ือสิ่งแวดล้อม คณะครู - นักเรยี น ได้รบั การอบรมสมั มนาและศึกษา แหลง่ เรยี นรหู้ ลายๆ
รูปแบบ หลายสถานที่ รวมทั้งไดร้ บั งบประมาณในการดาเนินโครงการต่างๆ รวม ๓ ปี การศกึ ษา ๒๕๔๒-๒๕๔๔
โดยการสนบั สนนุ จากสถาบันสงิ่ แวดล้อมไทยและสานกั งาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ

ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดร้ ับคัดเลือกจากสมาคมสร้างสรรค์ไทยให้ดาเนนิ การอนุรักษ์พลังงานและ สิง่ แวดล้อม
ในโครงการรุ่งอรุณ ระยะ ๒ จดั การเรียนรู้ แบบบูรณาการ การอนรุ ักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมทุกกลุ่มสาระ
และไปศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ในสถานที่ที่เก่ียวข้องกบั การอนรุ ักษ์พลงั งาน

ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ นายสายณั ห์ องคบ์ รริ ักษ์กลุ เปน็ ผบู้ รหิ ารต้นแบบพร้อมดว้ ยคณะครมู ี นางสาวเยน็ ตา

ขวญั นาค, นายแฉลม้ วัชรีบริรักษ์ เป็นครูต้นแบบภาษาไทย นางทศั นา ประดิษฐ์เสรี เปน็ ครูต้นแบบ

๑๔

ภาษาต่างประเทศ และนางวรรณภา รตะเสรี เป็นครูต้นแบบคณติ ศาสตร์ นอกจากนี้ ในปเี ดียวกัน นายสายณั ห์
องค์บริรักษ์กุล ได้เลอื่ นตาแหนง่ เป็นผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นกะทู้

ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โรงเรียนบ้านกะทู้ได้รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบแรกจาก สมศ. และ ได้รบั การ
ประเมินโรงเรยี นพระราชทานขนาดเล็กได้รับรางวัลชมเชยระดับประเทศ

ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ คณะครโู รงเรียนบ้านกะทู้ ไดร้ บั การประเมินการเลือ่ นวทิ ยฐานะเปน็ ครูชานาญการ เมือ่
วนั ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๙

ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ นางสาวพรรณี ไฉไลพันธ์ ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านกะทู้ ในวนั ที่ ๙
เมษายน ๒๕๕๐

ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดร้ บั การประเมินการประกันคณุ ภาพภายนอกรอบสอง จาก สมศ. ผลการประเมินดี
๑๒ มาตรฐาน (ในมาตรฐานที่ ๔ และ ๑๓ ) ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ เด็กหญิงสวุ รรณ หวลศรที ัย เขา้ รับรางวลั นกั เรียนพระราชทานของปี
พ.ศ. ๒๕๕๐

๒๒ มกราคม ๒๕๕๒ คณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครลู งคะแนนสมัครใจถ่ายโอนโรงเรียนเข้า
สงั กดั เทศบาลเมืองกะทู้

ภาพที่ ๑ คณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครูถ่ายโอนโรงเรียนเข้าสงั กัดเทศบาลเมืองกะทู้
๗ พฤษภาคม ๒๕๕๒ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาภเู กต็ ส่งมอบโรงเรยี นให้กบั เทศบาลเมอื งกะทู้
และได้เปลย่ี นช่ือโรงเรยี นเป็นโรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้
๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๒ โรงเรยี นเทศบาล ๑ เมอื งกะทู้และโรงเรียนเทศบาล ๒ บา้ นกะทู้ เปิดทาการ
เรยี นการสอนเป็นวนั แรก ท้งั สองโรงเรียนใชส้ ถานทเี่ ดียวกัน คือโรงเรยี นเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ โดยโรงเรียน

๑๕

เทศบาล ๑ เปิดทาการเรียนการสอน ๒ ชั้นเรยี น คือ อนบุ าล ๑ จานวน ๒ หอ้ งเรียน โรงเรียนเทศบาล ๒ บา้ น
กะทู้ เปิดทาการเรียนการสอนในระดบั ประถมศกึ ษา ๑ ถึง ๖ จานวน ๖ ห้องเรยี น นายชยั อนันท์ สทุ ธิกลุ
นายกเทศมนตรี นายอรรถพงษ์ จนั ทรตั นวงศ์ รองนายกเทศมนตรี และนายภภู ฎั ยกทวน ผ้อู านวยการกอง
การศกึ ษา เข้ามาพบปะนักเรยี นทัง้ ๒ โรงเรยี น

๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ นางสาวพรรณ ไฉไลพันธุ์ ดารงแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้

๒๑ มกราคม ๒๕๕๓ ถึง ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๓ ก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ สน.ศท.ชั้นลอย
งบประมาณ ๖,๕๘๐,๐๐๐ บาท (หกล้านหา้ แสนแปดหม่นื บาทถ้วน) จากงบประมาณไทยเขม้ แข็ง SP๒
ร่วมกับงบของเทศบาลเมืองกะทู้ ตามแบบแปลนของเทศบาลเมอื งกะทู้ เริ่มใช้งานอาคาร เมือ่ ๓ ธนั วาคม
๒๕๕๓

๒๑ มกราคม ๒๕๕๓ ถึง ๒๐ มกราคม ๒๕๕๔ กอ่ สร้างอาคาร สน.ศท. ๔/๑๒ ใตถ้ นุ โล่ง งบประมาณ
๑๒,๒๑๕,๐๐๐ บาท ( สบิ สองลา้ นสองแสนหน่งึ หม่นื หา้ บาทถว้ น) จากงบประมาณไทย เข้มแข็ง SP๒ ร่วมกบั
งบของเทศบาลเมืองกะทู้ ตามแบบแปลนของเทศบาลเมืองกะทู้ เริ่มใช้งานอาคาร เม่ือ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔
เป็นห้องเรยี นของชั้น ป. ๒- ป.๖

๑๖ สงิ หาคม ๒๕๕๕ นายสังวร ภริงคาร ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาวิทยฐานะ
ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ

๑๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๒ นางวไิ ลวรรณ ทองหนูนุย้ ดารงตาแหน่งรกั ษาการแทนผู้อานวยการจนถงึ
ปจั จบุ นั

๒. งำนบริหำรและบริกำรของโรงเรียน

๒.๑ กำรบรหิ ำรงำนบุคคล จะมหี น้าที่หลัก ๆ ดงั น้ี

๒.๑.๑ แผนงาน/โครงการ

๒.๑.๒ งานกาหนดตาแหน่ง

๒.๑.๓ งานทะเบียน/ข้อมลู ประวัติ

๒.๑.๔ งานพฒั นาบคุ ลากร

๒.๑.๕ งานเครื่องราชยฯ์

๒.๑.๖ งานสวสั ดิการ/ครุสภา

๑๖

๒.๑.๗ งานการเลื่อนวิทยฐานะ
๒.๑.๘ งานเกยี รติบตั ร/รางวัล
๒.๑.๙ งานบนั ทึกการประชุม
๒.๑.๑๐ งานอ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
๒.๒ กำรบรหิ ำรงำนวิชำกำร จะมหี น้าท่หี ลัก ๆ ดังนี้
๒.๒.๑ แผนงาน/โครงการ
๒.๒.๒ งานนิเทศ
๒.๒.๓ งานหลกั สตู ร
๒.๒.๔ งานหอ้ งสมุด
๒.๒.๕ งานหอ้ งพเิ ศษ
๒.๒.๖ งานแนะแนว
๒.๒.๗ งานการวดั และประเมินผล
๒.๒.๘ งานการพัฒนาผู้เรยี น
๒.๒.๙ งานอ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง
๒.๓ กำรบริหำรงำนงบประมำณ จะมีหนา้ ท่ีหลกั ๆ ดงั น้ี
๒.๓.๑ แผนงาน/โครงการ
๒.๓.๒ งานการเงนิ
๒.๓.๓ งานการเบิก-จ่ายเงิน
๒.๓.๔ งานพสั ดุ
๒.๓.๕ งานจัดซือ้ จัดจา้ ง
๒.๓.๖ งานจดั สรร-โอนเงิน
๒.๓.๗ งานสหกรณโ์ รงเรยี น

๑๗

๒.๓.๘ งาน คก.อาหารกลางวัน
๒.๓.๙ งานอื่น ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง
๒.๔ กำรบรหิ ำรงำนทั่วไป
๒.๔.๑ แผนงาน/โครงการ
๒.๔.๒ งานสารบรรณ
๒.๔.๓ งาน พ.ร.บ. ประถมศึกษา
๒.๔.๔ งานกิจการนักเรยี น
๒.๔.๕ งานอาคารสถานท่ี
๒.๔.๖ งานสัมพนั ธ์ชุมชน
๒.๔.๗ งานประชุมผู้ปกครอง
๒.๔.๘ งานอน่ื ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง

๓. สภำพชุมชนและควำมสัมพันธ์ระหว่ำงโรงเรยี นกับชุมชน

ขอ้ มูลสภำพชุมชนโดยรวม

๑. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมลี กั ษณะเปน็ ก่ึงชมุ ชนกึ่งเมืองก่ึงชนบทมีประชากร

ประมาณ ๒,๓๑๒ คน บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ บ้านเรือน รา้ นค้า สถานทตี่ ้งั หนว่ ยงานราชการ
เช่น เทศบาลเมอื งกะทู้ สถานีอนามัยตาบลกะทู้ วดั กะทู้ ศาลเจ้าฮกเซยี งเก้ง ศาลเจา้ ต่องยอ่ งสู ศาลเจา้ กะทู้ ดี
คอนโด

อาชีพหลักของชมุ ชน คือ รับจา้ ง เนื่องจากประชากรทีม่ าอาศัยส่วนใหญเ่ ปน็ คนต่างถิ่นท่ีเข้า
มาประกอบอาชพี ในจังหวดั ภเู ก็ต และมีส่วนหนึ่งทีเ่ ป็นคนในท้องท่ี

การนับถือศาสนาของประชาชนสว่ นใหญ่ คือ ศาสนาพุทธ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ
เปน็ ทีร่ ู้จักโดยทว่ั ไป คือ ประเพณถี ือศีลกนิ ผัก (เจย๊ี ะฉา่ ย) การไหวพ้ ระจันทร์ วนั ตรษุ จนี วันลกั โงย้ จบั ชิด งาน
วนั สารทเดือนสบิ

๑๘

๒. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา-มัธยมศึกษา อาชพี หลัก คือ อาชพี
รับจ้าง คดิ เป็นร้อยละ ๙๐ อ่ืนๆ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐ สว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๙ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ/รายไดเ้ ฉล่ยี ต่อครอบครวั ตอ่ ปี ๕๐,๐๐๐ บาท

๓. โอกาสและข้อจากดั ของโรงเรียน

โอกาส :

๑) หน่วยงานตน้ สงั กัดสนบั สนนุ งบประมาณในการจดั การศึกษาอย่างทัว่ ถงึ

๒) ผูม้ จี ิตศรทั ธาสนับสนุนทนุ การศกึ ษาแกน่ ักเรียนท่ี เรยี นดแี ตข่ าดแคลนทุนทรัพย์และสนับสนนุ วัสดุ
อปุ กรณ์ทส่ี ง่ เสริมแกก่ ารเรียนรูแ้ ก่นกั เรียน

๓) ผปู้ กครองและชมุ ชนให้ความร่วมมือในการจัดกจิ กรรมทุกครั้งอย่างสม่าเสมอ

๔) มีเครอื ข่ายตา่ งๆ ใหก้ ารสนบั สนนุ ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมการศึกษา เช่น วดั สถาบนั อดุ มศึกษา
องค์การบริหารส่วนจงั หวดั

๕) โรงเรยี นอยู่ใกล้แหลง่ เรียนรู้ คือ สานกั งานเทศบาลเมืองกะทู้ วดั กะทู้ สถานอี นามัยตาบลกะทู้ ศาล
เจ้ากะทู้ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์วิทยาเขตภเู กต็ ไปรษณียก์ ะทู้ โรงเรียน วดั เก็ตโฮ่ วดั อนภุ าษกฤษฎาราม
(วดั เกต็ โฮ่) สถานีตารวจทุ่งทอง ที่ว่าการอาเภอกะทู้ หอ้ งสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติฯ นา้ ตกกะทู้ เข่ือนบางวาด
สนามกอล์ฟภูเก็ตคันทรคี ัพ ห้างสรรพสินคา้ โลตสั

ข้อจากัด :

๑) บุคลากรสนบั สนนุ การสอนไม่เพียงพอสาหรบั การดแู ลด้านอาคารสถานที่ ส่งิ แวดล้อม ตลอดจน
ด้านสาธารณูปโภคในโรงเรยี นได้ทวั่ ถงึ แต่กไ็ ดร้ ับความชว่ ยเหลอื จากตน้ สงั กัด ส่งเจา้ หนา้ ท่ี มาใหค้ วาม
ช่วยเหลอื เป็นระยะๆ

๒) ผู้ปกครองนักเรียนมีฐานะปานกลางต้องทางานไม่มเี วลาดูแลนักเรียน ขาดการเอาใจใสใ่ นเรื่องการ
เรยี นของนกั เรยี นทาให้นกั เรยี นมีผลสัมฤทธค์ิ ่อนข้างพอใช้

๓) โรงเรยี นมีคณุ ครูภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นทีเ่ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนการสอนนัน้ น้อยมาก เมื่อ
เทยี บกับโรงเรียนในเมือง เน่ืองจากผู้ปกครองต้องทางาน

๑๙

โครงสรำ้ งหลักสตู รสถำนศกึ ษำ

โรงเรยี นเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ จดั สอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรยี นไดจ้ ัดสัดส่วนสาระการเรยี นร้แู ละเวลาเรียน ประจาปีการศึกษา
๒๕๖๓

แหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่นิ

๑. หอ้ งสมุดมพี น้ื ที่ขนาด ๑๖ ตารางเมตร หนงั สอื ในหอ้ งสมุดมีจานวน ๒,๐๐๐ เล่ม มี
วารสาร/หนงั สือพิมพใ์ ห้บริการจานวน ๕๐ ฉบบั การสบื คน้ หนงั สือและการยืม - คืน ใชร้ ะบบดิว้ อ้ี มเี ครอ่ื ง
คอมพิวเตอร์ใหบ้ รกิ ารสบื คน้ เทคโนโลยสี ารสนเทศในห้องสมดุ จานวน ๓ เครื่อง มจี านวนนักเรยี นทใี่ ช้
หอ้ งสมดุ (ในปีการศึกษา ๒๕๖๓) เฉลี่ย ๙๐ คน ต่อวัน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๘๗ ของนักเรยี นทง้ั หมด มีการ
ให้บริการห้องสมุดแกช่ มุ ชนรอบนอก โดยมีบคุ คลมาใช้บริการ เฉลยี่ – คน ต่อปี (ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔)

๒. ห้องปฏบิ ัติการท้ังหมด ๖ หอ้ ง จาแนกเป็น

๑) หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จานวน ๑ หอ้ ง

๒) ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ จานวน ๒ ห้อง

๓) หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา จานวน ๑ ห้อง

๔) ห้องอัจฉรยิ ะภาพ จานวน ๑ ห้อง

๕) ห้องสือ่ ICT จานวน ๑ หอ้ ง

๖) หอ้ งเกียรตยิ ศ จานวน ๑ ห้อง

๓. เครื่องคอมพวิ เตอร์ทั้งหมด จานวน ๖๓ เคร่ือง จาแนกเปน็

๑) ใชเ้ พือ่ การเรยี นการสอน จานวน ๕๕ เคร่อื ง

๒) ใชเ้ พื่อให้บรกิ ารสบื ค้นข้อมลู ทางอินเตอร์เน็ต จานวน ๓ เครอื่ ง

โดยมจี านวนนักเรยี นทใ่ี ชบ้ ริการสืบคน้ ขอ้ มลู ทางอนิ เตอร์เน็ต (ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔) เฉลย่ี ๒๐ คนต่อวนั คดิ
เป็นร้อยละ ๓.๖๔ของนักเรยี นท้งั หมด

๓) ใช้เพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารสถานศึกษา (สานักงาน) จานวน ๕ เครื่อง

๔. แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น

ตารางที่ ๒ แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น ๒๐
ที่ ชอื่ แหล่งกำรเรยี นรู้
ทส่ี ถิติกำรใช้ จำนวนคร้ัง/ปี
๑ หอ้ งสมดุ ๖๐
๒ หอ้ งเกียรติยศ ๖๐
๓ หอ้ งคอมพิวเตอร์ ๒๐๐

๕. แหลง่ การเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ที่สถติ กิ ำรใช้ จำนวนครั้ง/ปี
ตารางที่ ๓ แหล่งการเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรยี น

ท่ี ชอ่ื แหล่งกำรเรียนรู้ ๑

๑ ศาลเจา้ กะทู้ ๒
๒ วดั กะทู้
๓ พพิ ิธภณั ฑ์เหมืองแรภ่ ูเกต็

๓.๑ โครงกำร/กิจกรรมทโ่ี รงเรียนดำเนนิ กำรรว่ มกับชุมชน
๓.๑.๑ โครงการพบปะผปู้ กครอง
๓.๑.๒ ชมรมศษิ ยเ์ ก่า
๓.๑.๓ โครงการเข้าคา่ ยพุทธบุตร
๓.๑.๔ โครงการมัคคุเทศกน์ ้อย ณ ชุมชนกะทู้ ซอย ๔
๓.๑.๕ ศนู ย์การเรียนรกู้ ารทาขนมพ้นื เมือง
๓.๑.๖ โครงการความรว่ มมือในการเข้าร่วมโครงการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของครอบครัว

แกไ้ ขปัญหาสังคม จงั หวัดภเู ก็ต
๓.๑.๗ โครงการศึกษาแหล่งเรียนรแู้ ละภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
๓.๑.๘ โครงการอนุรกั ษท์ รัพยากรและสงิ่ แวดล้อม

๒๑

๓.๑.๙ โครงการเขา้ ค่ายคุณธรรม จรยิ ธรรม
๓.๑.๑๐ โครงการศนู ยก์ ารเรียนรูต้ ามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (จัดตงั้ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (เงนิ อุดหนุน) )
๓.๑.๑๑ โครงการพัฒนาการจัดการ ศกึ ษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพฒั นาทอ้ งถ่ิน
(SBMLD) (เงินอดุ หนนุ )
๓.๑.๑๒ โครงการจดั ทาศนู ย์การเรียนรดู้ า้ นการท่องเทย่ี ว

๓.๒ แผนผังแสดงบริเวณและท่ีต้งั ของโรงเรียน

ภาพท่ี ๒ แผนผังแสดงบรเิ วณ
ทม่ี า: http://kathuschool2.com/?page_id=9

๒๒

ภาพท่ี ๓ ท่ีตง้ั โรงเรียนเทศบาล ๒ บา้ นกะทู้
ท่ีมา: Google map

๔. ผลกำรประเมินคณุ ภำพกำรศึกษำ ระดบั คุณภาพ
ดี
๔.๑ ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในในรอบปีทผี่ ำ่ นมำ (ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๔) ดี
ดี
๔.๑.๑ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ตารางท่ี ๔ แสดงระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ปีการศึกษา ๒๕๖๔)

มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผ้เู รียน
มาตรฐานท่ี ๒กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนรู้การสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั

๒๓

๔.๒ ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกในรอบปีท่ีผ่ำนมำ (ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๕๙ – ๒๕๖๔)

๔.๒.๑ ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ตารางท่ี ๕ แสดงระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔)

ดา้ น ระดับคุณภาพ
คณุ ภาพผเู้ รยี น ดี
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดี
กระบวนการจดั การเรียนร้กู ารสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ดี

๔.๓ ข้อเสนอแนะจำกผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในและภำยนอก
๔.๓.๑ จุดเดน่
การบรหิ ารงานในแตล่ ะโครงการ / กิจกรรมมงี บประมาณค่าใชจ้ ่ายอยา่ ง เพียงพอ
๔.๓.๒ จุดที่ควรพจิ ารณา
๑. บุคลากรมีไม่เพยี งพอต่อจานวนนกั เรยี น และขาดครูวชิ าเอกวิทยาศาสตร์ วชิ า
ภาษาไทย วชิ าคณิตศาสตร์
๒.ผบู้ ริหารควรนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นมาวิเคราะห์เพ่อื แก้ปญั หาการอา่ นไม่ออก
เขยี นไม่ได้ คดิ เลขไมถ่ ูกต้อง
๔.๓.๓ ข้อเสนอแนะ
จัดจ้างวิทยากรในการชว่ ยสอน

๔.๔ แนวทำงกำรพัฒนำคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ

๔.๔.๑ ดา้ นผลการจดั การศึกษา

๑. ผ้เู รยี นควรไดร้ บั การส่งเสริม การเป็นลูกที่ดีของพ่อแมห่ รือผู้ปกครอง และการ
บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม โดยสถานศึกษาควรขอความร่วมมอื จากผู้ปกครองใหช้ ่วยดูแลผูเ้ รยี นขณะอยู่ท่บี า้ น

๒๔

ให้ปฏบิ ัตติ นเป็นคนดีเป็นเด็กดีของพ่อแม่ ของครู และของสงั คม ตามท่ี สถานศึกษาได้พัฒนาไว้ และ
สถานศกึ ษา ควรสนบั สนนุ ให้ผู้เรยี นไดม้ ีโอกาสบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม ให้ครอบคลมุ ทุกระดับชน้ั

๒. ผเู้ รยี นควรไดร้ บั การพฒั นาใหม้ นี สิ ัยรกั การอ่าน และการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยสถานศึกษาควรจดั กิจกรรมใหเ้ ด็กไดเ้ ขา้ บริการหอ้ งสมุดใช้เวลาวา่ งในการอา่ นหนังสือ โดยใช้
วธิ กี ารกระตุ้น เชน่ การเลน่ เกม การใหร้ างวลั เป็นต้น รวมทงั้ ให้ผูเ้ รียนได้ใชเ้ ทคโนโลยีในการ สบื ค้นข้อมูลมาก
ยง่ิ ขนึ้

๓. ผเู้ รียนควรไดร้ ับการพัฒนา การเรียนรู้ผ่านประสบการณต์ รงร่วมกับผู้อ่นื ทัง้ ใน
และนอกสถานศึกษาโดยนาผูเ้ รยี นศกึ ษาและเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว และศึกษาเรยี นรจู้ ากภูมิ
ปญั ญาท้องถิน่ ผา่ นกระบวนการเรยี นการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ และบรู ณาการในการจดั การเรียน
การสอนอย่างท่วั ถึงทกุ ระดับชั้น

๔. ผู้เรียนควรได้รบั การพัฒนาความสามารถความคิดโดยผู้บริหาร ครู และ
คณะกรรมการ สถานศึกษาควรร่วมกันจดั การศึกษาใหเ้ กิดคณุ ภาพ โดยการนาผลการวเิ คราะหส์ ังเคราะห์
สรุปผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีทผ่ี ่านมา ออกแบบงาน โครงการ กจิ กรรม ใหผ้ ้เู รยี นคิดเป็น
ทาเป็น โดยยึดผเู้ รียนเป็นสาคญั ทุกปีการศกึ ษา

๕. ผู้เรยี นควรไดร้ บั การสนบั สนุนใหย้ กระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นให้สูงขนึ้
โดยเฉพาะในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สุข
ศกึ ษาและพลศึกษา และภาษาต่างประเทศโดยการจดั ตวิ เข้ม จัดสอนซ่อมเสรมิ อยา่ ง ต่อเนอ่ื งทุกระดับชน้ั
ตง้ั แต่ต้นปกี ารศกึ ษาอย่างจริงจงั และต่อเนอ่ื ง

๖. ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาให้มีสุขภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทดี่ ีอยแู่ ล้ว แต่เพือ่ ให้การ
ดาเนนิ งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ สถานศกึ ษาควรส่งเสริมใหผ้ ้เู รียน รู้จกั ดูแลตัวเองให้มคี วามปลอดภยั จาก
โรคภัย ส่ิงเสพตดิ ส่ิงมอมเมา และปญั หาทางเพศ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กใช้เวลาวา่ งใน การออกกาลงั กาย และ
ทากิจกรรมกลมุ่ รว่ มกบั เพื่อนให้มากย่ิงขน้ึ เพื่อพฒั นาผลการดาเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธภิ าพมีประสทิ ธิผลมาก
ยิ่งขึน้

๗. สถานศึกษามีผลการดาเนินงานบรรลุตามปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ และ
วัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตัง้ สถานศกึ ษา ซ่งึ สะท้อนอตั ลกั ษณ์ของผเู้ รียนอยา่ งเด่นชดั อยู่แล้ว เพื่อเปน็ การรักษา
มาตรฐานการดาเนนิ งานให้ยง่ั ยืนสถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นในดา้ นประหยัด อดออม เพอื่ ความ
พอเพียง อย่างต่อเน่อื งใหค้ รอบคลมุ ตามวยั ทุกระดับช้ันให้มากยิ่งข้นึ

๒๕

๘. สถานศึกษาควรธารงรกั ษาผลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจุดเดน่ ท่สี ่งผลสะท้อน
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา “ดา้ นความสามารถด้านกีฬา” ใหช้ มุ ชนและองค์กรภายนอกทราบอย่างกว้างขวาง
มากยง่ิ ขึ้น

๙. สถานศึกษามผี ลการดาเนินงานโครงการพิเศษที่สามารถแกป้ ญั หาผเู้ รียนและเปน็
แบบอย่างทด่ี ีอยู่แลว้ แต่ ควรดาเนนิ การโครงการกิจกรรมการเรยี นการสอนให้ครอบคลมุ ในทุกกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ ทีย่ ังเป็นประโยชน์กบั ผู้เรียนเพือ่ พัฒนาการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลมากยิง่ ขึ้น

๔.๔.๒ ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษา

๑. สถานศึกษามปี ระสิทธิภาพของการบรหิ ารจัดการและพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือ
พฒั นาสู่ความเป็นเลศิ ท่ีสอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษา เพอื่ เตรยี มความพร้อมเขา้ สู่ประชาคม
อาเซียน

๒. สถานศกึ ษาควรทาข้อมูลเกยี่ วกับข้อตกลงรว่ มกนั ระหว่างสถานศึกษากบั
หน่วยงานต้นสังกดั หรอื หน่วยงานสนบั สนนุ ใหเ้ ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรท่ีชัดเจนมีข้อมูลเชิงประจกั ษ์

๔. ครทู กุ คนควรวิเคราะหผ์ ลการประเมินและนามาใช้ในการซอ่ มเสรมิ และพัฒนา
เรยี นรวมท้ังปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนอยา่ งจรงิ จงั และต่อเน่ือง

๕. ครูทุกคนควรศึกษาคน้ ควา้ วิจยั เพือ่ พัฒนาส่ือและกระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ให้ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ย่างจรงิ จงั และต่อเน่ือง

๖. การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษามปี ระสิทธิภาพการดาเนินงานด้าน ตา่ งๆ
โดยจัดสารสนเทศเปน็ หมวดหมู่ ครอบคลมุ เปน็ ปจั จบุ ันสะดวกต่อการเขา้ ถึงและการให้บรกิ าร ต่อผูเ้ กี่ยวขอ้ ง
ตลอดจนส่งเสรมิ แนวทางความคิดเร่ืองการประกันคุณภาพท่มี งุ่ การพฒั นาคุณภาพ การศึกษาอยา่ งต่อเน่ืองให้
เกดิ ขึ้นกับครแู ละบคุ ลากรทุกคน ในสถานศึกษาจนเป็นวัฒนธรรมคุณภาพ ในการทางานปกตขิ องสถานศึกษา
ดงั นนั้ สถานศึกษาควรรักษาประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานให้ยัง่ ยืน เพ่อื พฒั นาสู่ความเปน็ เลศิ ของสถานศึกษา
และเตรยี มความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนต่อไปทง้ั น้ี กาหนดระยะเวลาในการพัฒนาทกุ ดา้ นภายใน 2 ปี
การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามแผนปฏิบตั ิการประจาปีของสถานศึกษา

การบรหิ ารจัดการศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล 2 บา้ นกะทู้ ไดจ้ ัดแบง่ โครงสรา้ งการ บรหิ ารงาน
เป็น 4 ฝ่าย โดยแบง่ เป็นฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคลากร ฝ่ายบรหิ ารงาน แผนและ
งบประมาณ ฝ่ายบริหารงานทั่วไปผ้บู ริหารยดึ หลกั ธรรมมาภบิ าลในการบรหิ ารใช้เทคนิคการบริหารแบบมีส่วน
รว่ ม กลา่ วคอื เป็นการบริหารทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้มีสว่ นเกย่ี วข้องกบั การจัดการศกึ ษา ไดเ้ ขา้ มาสว่ นคดิ ตัดสนิ ใจ

๒๖

รว่ มวางแผนรว่ ม ทางานจงึ ก่อใหเ้ กิดความรู้สึกผูกพัน และตกลงใจร่วมกนั ในการบรหิ ารโรงเรยี นให้บรรลุ
เปา้ หมาย

การบริหารแบบมสี ่วนร่วมเกิดประโยชน์ดงั นี้

๑. กอ่ ใหเ้ กดิ การระดมความคิดทาให้เกิดความคิดเห็นที่หลากหลายซึ่งดีกวา่ การคิดและ ตัดสนิ ใจเพยี ง
คนเดียว

๒. ในการบรหิ ารเป็นการลดการต่อตา้ นและก่อให้เกิดการยอมรบั มากข้ึน

๓. เปิดโอกาสใหม้ กี ารส่ือสารท่ดี สี ามารถแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการทางานร่วมกนั เสรมิ สรา้ ง
ความสมั พนั ธท์ ด่ี ีตอ่ กัน

๔. การตัดสนิ ใจมคี ุณภาพและทาใหม้ คี วามพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงานมากข้ึนดว้ ย โรงเรยี น เทศบาล 2
บา้ นกะทู้

ดาเนนิ การใชร้ ูปแบบการมสี ่วนร่วมดังนี้

๑. รูปแบบคณะกรรมการเพ่ือการปรกึ ษาหารือ (Consultine Management) ในการดาเนินงาน
ปรึกษาหารือเพ่ือช่วยตัดสินใจ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา กรรมการทีป่ รึกษาเป็นรปู แบบการมีส่วนรว่ ม
คิดร่วมตดั สินใจร่วมทางานและรว่ มภาคภูมใิ จในความสาเรจ็

๒. รปู แบบการร่วมเสนอแนะ (Suggestion System) เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของการมสี ว่ นร่วมโดย วิธกี าร
จดั ประชุมรับฟังขอ้ เสนอแนะ การเสนอแนะในแบบฟอร์ม การเสนอแนะทางเทคโนโลยี เป็นตน้

๓. รูปแบบการมสี ว่ นรว่ มโดยการทางานเป็นกล่มุ เปน็ ทีม (Team Working) เปน็ การเปิดโอกาส ให้
ทกุ คนรว่ มคดิ รว่ มทาโดยใช้กระบวนการทางาน เปน็ ทีมหรือกลมุ่ คุณภาพ

๔. รปู แบบการมสี ว่ นร่วมเป็นเจ้าของธรุ กจิ หรือเปน็ เจา้ ของรับผดิ ชอบงานบรหิ าร เชน่ การร่วมลงทุน
การใช้รปู แบบการอาจผสมผสานโดยใชห้ ลักหลายวิธใี นการทางานข้นึ อยู่กบั สภาพของงาน

๒๗

แบบบนั ทึกกำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

ชมุ ชนวชิ ำชพี ครู

(PLC : Professional Learning Community)

โรงเรียนเทศบาล ๒ บ้านกะทู้ ครง้ั ที่ ๑

วนั ท่ี ๒๔ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๔.๐๐ น.- ๑๕.๐๐ น.

ผเู้ ข้าร่วม

ผู้อานวยการสถานศึกษา ผอ.สวรรยา ศริ ิกจิ วฒั นา

1. นาย รัตน์ภมู ิ เลพล สาขาคณติ ศาสตร์

2. นางสาว บญุ สติ า บญุ เอบิ สาขาการประถมศึกษา

3. นางสาว อสิ รยิ า สุริยรงั สี สาขาการศกึ ษาปฐมวัย

4. นาย ธนเทพ แซข่ ู่ สาขาคอมพิวเตอร์

5. นางสาว จันทรจ์ ิรา ทองเลก็ สาขาพลศึกษา

6. นาย ณัฐวฒุ ิ คงเรอื ง สาขาพลศึกษา

7. นางสาว จิรัชญา นาคสุวรรณ สาขาภาษาไทย

8. นางสาว ธันยพร จานงค์ภักดิ์ สาขาวทิ ยาศาสตรท์ ั่วไป

9. นางสาว สลิลทพิ ย์ แกว้ เพง็ สาขาสงั คมศึกษา

ประเดน็ ทแ่ี ลกเปลี่ยนเรียนรู้

การสังเกตการสอนหลงั จากท่ีได้ลงโรงเรียน

สรปุ ผลกำรแลกเปลยี่ นเรียนรู้

ลกั ษณะของห้องเรยี นเป็นอย่ำงไร

• หอ้ งเรยี นจะตอ้ งมีส่ิงอานวยความสะดวกให้กบั ครผู ้สู อนและนักเรียน จึงจะสามารถชว่ ยดงึ ความ
สนใจของนกั เรียนได้เป็นอย่างดี เช่น ทวี ี สื่อการสอน มมุ ตา่ งๆภายในหอ้ งเรยี น

๒๘

• สภาพแวดลอ้ มท่ีดีในห้องเรียน หอ้ งเรียนสะอาด ปลอดภัย การจดั ตกแต่งห้องมีสื่อการสอนที่
เพรียบพร้อมสาหรับการเรยี นรู้ สีสันนา่ สนใจเหมาะสาหรบั เด็กนกั เรยี น เพ่ือสรา้ งบรรยากาศของการ
เรียนรู้

ลกั ษณะของครผู สู้ อน

• ครูจะต้องเตรยี มแผนการสอนมาเป็นอยา่ งดี มีความพร้อมในการจดั การเรียนรู้ใหแ้ กน่ ักเรียนในคาบ
และเขียนแผนการจดั การเรยี นรูใ้ หเ้ หมาะสม

• ครูจะตอ้ งสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในห้องเพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มลู ของนักเรียน โดยการใช้
ประสาทสัมผัส การสังเกต การรับรู้ วา่ นักเรยี นแตล่ ะคนมีพฤตกิ รรมเปน็ อย่างไรบ้าง วิเคราะห์
นักเรียนตามลกั ษณะและพฤติกรรมของแต่ละบคุ คลตามสภาพจรงิ และนามาบันทกึ พฤติกรรมของ
นักเรียน

• ครูจะตอ้ งทาแบบประเมินก่อน - หลงั เพ่ือประเมินนักเรยี นและทาความเขา้ ใจกบั นักเรียน ในการใช้
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นแต่ละวิชาและสามารถดเู กณฑ์คะแนนทนี่ ักเรยี น
ทาแบบทดสอบได้ว่านักเรียนอย่ใู นระดบั ทต่ี ้องไดร้ ับการชว่ ยเหลอื หรือส่งเสริมต่อไปได้ เพอ่ื ไมใ่ ห้
บกพร่องและเกิดปัญหากบั นักเรยี น

ลกั ษณะเดน่ ของโรงเรยี น

• เปดิ สอนในหลายระดับช้ันต้ังแตป่ ระถม - มัธยมศึกษาตอนปลาย

• เน้นทผ่ี เู้ รียนเป็นหลกั ในการศกึ ษา วชิ าการ กจิ กรรม การมสี ว่ นร่วมและให้อิสระกับนักเรียน

• มสี ภาพแวดล้อมทด่ี ี ร่มรน่ื เปน็ สถานทเี่ หมาะกับการจัดการเรียนรใู้ หก้ ับนกั เรยี น

ปญั หำที่พบจำกกำรลงสังเกตกำรสอน

1. พบปญั หาเกี่ยวกบั เด็กสมาธสิ ้ัน

2. การไม่คุ้นชินกบั นักเรียน

3. นกั เรยี นทวี่ นุ่ วายเมอ่ื อยู่ในหอ้ งเรียน

4. นกั เรยี นทางานทม่ี อบหมายไมเ่ สร็จตามกาหนด

5. นักเรียนนาเสนองานยังได้ไม่คล่อง

6. สมดุ ของนักเรยี นหาย ไม่มี และรวมวชิ าในเล่มเดยี วกัน

๒๙

7. นักเรยี นชอบวงิ่ เลน่ กนั ในห้อง
8. นกั เรยี นอ่านหนงั สอื ไม่คล่อง
9. นักเรยี นพมิ พ์ดีดชา้
10. นักเรียนติดโทรศัพท์
11. ห้องเรยี นบางห้องยงั ขาดสิง่ อานวยความสะดวกในหอ้ งเรยี น
กำรแกไ้ ขปัญหำ
1. ใหเ้ พื่อนรว่ มช้ันของนกั เรยี นทีอ่ ยู่โตะ๊ ข้างๆของนักเรยี นช่วยดูและคณุ ครคู อยควบคุมให้
2. ให้นักเรียนเลน่ เกมจากสื่อการสอนเรื่องคาควบกลา้
3. การให้นักเรยี นนงั่ สมาธิ เพื่อใหส้ งบนิ่งไมว่ ุ่นวาย
4. ให้นกั เรยี นฝึกหดั พมิ พ์ดดี
5. ให้นกั เรยี นใช้เป็นกระดาษขึ้นมาจดในคาบ

ส่งิ ทป่ี ระทับใจ
1. นกั เรียนสามารถช่วยเหลอื ตนเองได้ ยกถังนมด้วยตนเอง ยกอาหารกลางวนั ข้นึ มาด้วยตนเอง ตกั
อาหารได้ดว้ ยตนเอง
2. นกั เรยี นรบั ผดิ ชอบ ในการดแู ลความสะอาดในห้องเรียน ชว่ ยกนั ทาเวรประจาวนั ของตนเอง ลงมา
เกบ็ ขยะตอนเชา้
3. การใหน้ ักเรียนทากิจกรรมฝกึ หดั เขยี น
4. ครูเรม่ิ สอนใหต้ ้งั แต่พืน้ ฐานใหก้ ับนกั เรียน
5. นักเรยี นชอบการวาดภาพขีดเขียนลงบนกระดาษ ระบายสี
6. ครทู กุ ๆทา่ นในโรงเรยี นใหก้ ารตอ้ นรบั เปน็ อยา่ งดี
7. นกั เรียนต้งั ใจเรียน น่ารัก
8. คณุ ครูคอยใหค้ าแนะนา แนวทางการสอน

๓๐

ระดับชั้นท่ีได้สังเกตกำรสอน
O ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ห้องคุณครู พรพิมล พูลศริ ิ (ครูจ๋า) ป.๑/๑
O ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ หอ้ งคุณครู ศริ ริ ัตน์ ชรู าช (ครูนา้ ) ป.๒/๑
O ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ห้องคณุ ครู พัชรวรรณ หวงั ดี (ครแู นน) ป.๓/๑
O ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ห้องคณุ ครู พชั รนิ ทร์ จีนแบ่ง (ครดู าว) ป.๓/๒
O ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ หอ้ งคณุ ครู จฑุ ามาศ จติ รหลงั (ครูหนนู า) ป.๔/๓
O ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ห้องคณุ ครู นิธิ อินทสาร (ครแู ทน) ป.๖/๑
O ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ห้องคณุ ครู (ครูอนั๋ ) ป.๖/๒
O ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ หอ้ งคณุ ครู สธุ าสนิ ี ศรีแก้ว (ครูกงุ้ ) ม.๓/๑
O ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หอ้ งคุณครู นรารักษ์ สมาแอ (ครพู )ี ม.๓/๑

ภาพท่ี ๔ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้(PLC : Professional learning Community)

๓๑

ภำคผนวก

ภาพที่ ๑ ป้ายหนา้ โรงเรียน ภาพที่ ๒ จดุ คัดกรองและทางเขา้

ภาพท่ี ๓ ลานเขา้ แถวหน้าเสาธง ภาพท่ี ๔ ลานเขา้ แถวหน้าเสาธง

ภาพที่ ๕ ภายในหอ้ งสหกรณ์ ภาพที่ ๖ ภายในหอ้ งสหกรณ์

๓๒

ภาพท่ี ๗ สนามเดก็ เล่น ภาพท่ี ๘ ภายในสนามเด็กเล่น

ภาพท่ี ๙ อาคาร ๑ มะฮอกกานี
ภาพที่ ๑๐ อาคาร ๑ มะฮอกกานี

ภาพท่ี ๙ อาคาร ๑ มะฮอกกานี ภาพท่ี ๑๐ อาคาร ๑ มะฮอกกานี

ภาพที่ ๑๑ อาคาร ๒ เฟื่องฟา้ ภาพท่ี ๑๒ ใต้อาคารเฟื่องฟ้า

๓๓

ภาพที่ ๑๓ อาคาร ๔ อินทนลิ ภาพที่ ๑๔ ใตอ้ าคารอินทนลิ

ภาพที่ ๑๕ อาคาร ๕ พดุ พชิ ญา ภาพท่ี ๑๖ ห้องสมุด

ภาพที่ ๑๗ หอ้ งเกยี รติยศ ภาพท่ี ๑๘ สนามกีฬาเปตอง

๓๔

ภาพท่ี ๑๙ แปลงผกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพท่ี ๒๐ แปลงผักเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ภาพท่ี ๒๑ โรงอาหาร ภาพที่ ๒๒ โรงอาหาร

ภาพที่ ๒๓ สนามกฬี า ภาพที่ ๒๔ สนามกีฬา

๓๕

ภาพท่ี ๒๕ รถโรงเรยี น ภาพท่ี ๒๖ ภายในห้องเรียน

ภาพที่ ๒๗ การเขา้ แถว ภาพที่ ๒๘ ปา้ ยบอกทาง


Click to View FlipBook Version