The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kusuma kreatsook, 2019-12-13 09:15:10

bookprop (e-book)

bookprop (e-book)

PROJECT NAME

INTRODUCE ABOUT THESIS
ประเภทงานศลิ ปนพิ นธ์ :
ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน
Interior design
ชอ่ื โครงการ :
โครงการออกแบบศนู ย์กลางชุมชนส�ำหรับ
ผ้สู ูงอายุ
Design a community center for
the elderly.

ผู้ดำ� เนนิ งานศิลปะนิพนธ์ :
นางสาวกุสมุ า เกิดสุข 5903607
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วทิ ยาลยั การออกแบบ
มหาวทิ ยาลัยรงั สติ
ท่ปี รึกษาโครงtการ :
อาจารยณ์ ฐั พงศ์ ศรปี งุ วิวัฒน์

Objective

วตั ถุประสงค์

- ต้องการปรับเปล่ียนพ้ืนที่ทำ� กิจกรรมสำ� หรับผู้สงู อายุ
ท่ีเขา้ ไปใช้งานพ้ืนที่

- ต้องการเพมิ่ พ้ืนท่สี �ำหรับให้ค�ำปรกึ ษาเก่ียวกบั ทางด้านรา่ งกาย
และจติ ใจเพ่ือเป็นการชว่ ยเหลือผสู้ ูงอายุในระยะเรม่ิ ต้น

- ตอ้ งการเพมิ่ พื้นทีท่ ่ีสามารถรองรับรถเขน็ วีลแชรท์ ่ผี ูส้ ูงอายุ
ใช้งาน

Expectation

ผลที่จะไดร้ บั

- ศึกษาเก่ยี วกบั จดุ เร่ิมต้นของการเสื่อมของสภาพร่างกายใน
ช่วงวยั ของผู้สงู อายุ

- ศกึ ษาเกีย่ วกบั ปจั จยั ผลกระทบของการเสอ่ื มของสภาพ
ร่างกายในชว่ งวยั ของผู้สงู อายุ

- ศึกษาเก่ียวกับแนวทางป้องกันและแกไ้ ขในระยะเร่มิ ตน้ ของการ
เสอื่ มของสภาพร่างกายในช่วงวยั ของผุส้ ูงอายุ

สถานการณข์ องผสู้ ูงอายุ ในปี 2562

ในขณะที่ประเทศไทยก�ำลังจะ
เข้าสู่ “สังคมสงู อายอุ ยา่ งสมบรู ณ”์ ในอกี ไมก่ ี่
ปีข้างหน้า การจัดสร้างระบบและนโยบาย
เพ่ือรองรับประชากรกลุ่มนี้จึงมีความส�ำคัญ
ยิ่ง เพราะต้องท�ำความเข้าใจสถิตโิ ครงสร้าง
ประชากรทเ่ี ปลย่ี นแปลงลกั ษณะ โดยรวมของ
กล่มุ ผู้สงู อายใุ ห้มากทสี่ ดุ เพื่อการออกแบบ
ระบบที่สามารถช่วยเหลือกลุ่มผู้สงูอายุได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกบั ผู้สงู อายุ
แตล่ ะกลมุ่ และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขนึ้ ได้
จรงิ

“ผู้สงู อาย”ุ หรือกลมุ่
ประชากรทมี่ ีอายุตัง้ แต่ 60 ปี
เป็นต้นไป ถือวา่ เปน็ ประชากรกลุม่
เฉพาะ ทม่ี ีทง้ั ความเปราะบาง และ
ความเส่ยี ง ต้องการกระบวนการ
พิเศษในการเข้าถึงการเสริมสร้าง
สขุ ภาพและสขุ ภาวะทด่ี ี

ในปี 2560 ประเทศไทยมีผสู้ ูงอายุ
จำ� นวน 11.3 ล้านคน

ชาย หญงิ
44.9% 55.1%

ท่มี า : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สงู อายไุ ทย (มส,ผส.)
และสถาบนั วิจัยสงั คมและประชากร มหาวิทยาลยั
มหดิ ล 2561

ในปี 2564 คาดว่าประเทศไทยจะกลาย
เป็นสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์
(Complete Aged Society)

มี ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี ดู แ ล มี ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ ต้ อ ง
ตัวเองได้ 96.9% พ่ึงพาผอู้ น่ื ในบาง

กิจกรรม 2%

มี ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี ดู แ ล
ตัวเองได้ 96.9%

มี ผู้ สู ง อ า ยุ ที่่ ดู แ ล
ตวั เองได้ 96.9%

ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี อ า ศั ย ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี อ า ศั ย
อ ยู่ ค น เ ดี ย ว ต า ม อยู่กับคู่สมรสตาม

ล�ำพัง 10.8% ลำ� พัง 23.3%

ท่มี า : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สงู อายไุ ทย (มส,ผส.)
และสถาบนั วิจัยสงั คมและประชากร มหาวิทยาลยั
มหดิ ล 2561

THEORY
OF AGING

เมื่อคนเราอายมุ ากข้นึ สังขาร

ของเรากย็ ่อมมกี ารเปลย่ี นแปลง ตาม

วัฏสงสาร คอื เกิด แก่ เจบ็ และตาย

การเปลย่ี นแปลงทางสรีระวิทยา เช่น

การเปลี่ยนแปลงด้านผิวพรรณ รปู

ลกั ษณ์ภายนอก อวัยวะต่างๆ ก็ย่อม

เดนิ ทางไปสู่ทางเส่ือมลงๆ ดังเชน่

รถยนต์ ยงิ่ นานวนั อายุการใช้งานท่ี

มากขนึ้ ก็ย่อมท�ำให้ประสทิ ธิภาพและ

ศักยภาพต่างๆลดลง ได้มีนัก

วทิ ยาศาสตร์หลายกลมุ่ หลายคน ท่ี

พ ย า ย า ม จ ะ อ ธิ บ า ย ท ฤ ษ ฎื ค ว า ม แ ก ่

(Theory of Aging) ว่าเกดิ ขึ้นได้

อย่างไร ทำ� ไมเม่อื อายมุ ากข้นึ จึงต้อง

แก่ จงึ ต้องมโี รคภัยหรือมีการเจบ็ ป่วย

ที่ท�ำให้เราต้องสูญเสียการท�ำงานบาง

อยา่ ง หรือเกดิ การตายในทีส่ ุด

1.เส่่ือมตามโปรแกรมท่ตี ง้ั ไวแ้ ลว้
(Biological Clock)


ในวงจรชวี ิตของคน หรือสตั ว์ทง้ั
หลาย ได้มกี ารต้ังเวลาไว้กอ่ นแล้วว่า
อายุขยั ของส่ิงมีชวี ติ แต่ละประเภทน้นั
ควรจะประมาณก่ปี ี เชน่ สุนขั ก็จะ
ประมาณ 10-15 ปี คนเราก็ประมาณ
70-80 ปี

2.เสื่อมจากอุบตั เิ หตหุ รอื
ปัจจยั ภายนอก

(Accidental or environment
aging) 

เป็นการเส่อื มหรอื การสิน้ อายุขยั
ทเี่ ราท�ำข้ึนมาเอง เช่น จากอบุ ตั ิเหตุ
สิง่ แวดล้อม การไมด่ แู ลใส่ใจในสุขภาพ
ตนเอง เป็นต้น

ทม่ี า : เอกสารอ้างองิ Theories on Aging,Board
Examination and Fellowship Review and Study
guide by Dr.Ronald Klatz and Dr.Robert Gold-
man,2007-2008 Edition
แปล เรียบเรยี งและค้นคว้าโดย นพ.จรสั พล รินทระ

BIOLOGICAL
CLOCK

นาฬิ กาชวี ติ คืออะไร?

นาฬิกาชีวิตคือการท�ำงานของรา่ งกาย
คนเราทถ่ี ูกควบคมุ เป็นวงจร ซ่งึ ให้มกี ารกระ
ทำ� ตามเวลา 24 ช่วั โมง เปน็ กิจวัตรประจ�ำวนั
ซ้�ำๆ วนไป เช่น เวลาของการนอนหลบั การ
งว่ งนอน และการหลัง่ ฮอร์โมน นาฬิกาชีวิตน้ี
จะขน้ึ อยู่กบั แสงสว่างและอุณหภูมภิ ายใน
ร่างกาย โดยสมองจะมีหน้าท่ีควบคุมการ
ท�ำงานระบบตา่ งๆ ด้วยการส่งสัญญาณ
เตอื นใหเ้ กดิ อาการดงั กลา่ วเมอ่ื ถงึ เวลาทเี่ คยทำ�

นาฬิ กาชวี ติ ทำ� งานยงั ไง?

ในสมองของคนเราจะมกี ล่มุ เซลลท์ ช่ี ื่อ
ว่า “นิวเคลยี สซูพราไคแอสมาตกิ ” ท�ำหน้าทีส่ ง่
สญั ญาณมายังสมองสว่ นท่ีท�ำงานควบคมุ
การทำ� งานของระบบตา่ งๆ เมอ่ื มีแสง
อุณหภูมิ และความมดื มากระตุ้นอย่างเชน่
ระบบฮอรโ์ มนหรือระบบควบคุมอุณหภูมิ หาก
เปน็ ตอนเช้าก็จะกระตุ้นให้มกี ารชะลอการหลง่ั
สารเมลาโทนินเพื่อไมใ่ ห้เกดิ การงว่ งนอน แต่
ถ้าเป็นเวลากลางคนื ก็จะส่งสัญญาณไป
กระตุ้นให้เกิดการหลงั่ ฮอร์โมนเมลาโทนนิ มาก
ขึน้ เพ่อื ให้เรารู้สกึ ง่วงนอนและอยากนอนหลบั
นนั่ เอง

นาฬิ กาชวี ติ มีผลกระทบอะไรกับการ
ด�ำเนนิ ชีวิตบา้ ง?

นาฬกิ าชวี ิตมีผลท�ำให้ระบบการทำ� งาน
ของรา่ งกายแปรปรวน ส่งผลให้ร่างกายหลัง่
สารเมลาโทนนิ ได้น้อยลง เม่อื เกดิ ขน้ึ เช่นน้ี
บอ่ ยๆ กจ็ ะทำ� ให้เสีย่ งต่อภาวะแทรกซ้อนจน
เกิดเป็นโรคต่างๆ ดังน้ี
เกิดการอ่อนเพลยี  เชน่ การเดนิ ทางไกล ท�ำให้
ร่างกายไมส่ ามารถท�ำงานได้ตามปกติ
ปรบั ตวั ไมไ่ ด้ เน่ืองจากนอนไม่หลบั เพราะต้อง
ทำ� งานเวลากลางคืน
ร่างกายทำ� งานไมไ่ ด้ตามปกติ เช่น เกิด
อบุ ตั เิ หตบุ าดเจบ็ ร้ายแรงหรือเป็นโรคซมึ เศร้า
รุนแรงจนท�ำให้ร่างกายไมส่ ามารถหลับได้
เจ็บปว่ ยงา่ ย เพราะไมส่ ามารถควบคุมเวลา
นอนหลับได้ ท�ำให้นอนหลบั ไมเ่ ป็นเวลาหรือ
หลบั ได้ทกุ ท่ี

ทีม่ า : www.honestdocs.co/what-is-life-clock-
what-is-the-impact-on-the-lifestyle

จะเกดิ อะไรขึน้ กบั Biological clock
เมื่อคนเราอายมุ ากขน้ึ  ?

อายทุ ีม่ ากข้ึน ดวงตาท่ีเสื่อมสภาพลง
ทำ� ให้รับแสงสวา่ งได้น้อยลง อุณหภมู ริ ่างกาย
เมตาบอรซิ ึม การหลงั่ ฮอร์โมนส์ ทลี่ ดลง สง่
ผ ล ก ร ะ ท บ ต ่ อ ก า ร ป รั บ เ ว ล า ต า ม จั ง ห ว ะ
Biological clock สง่ ผลให้เกดิ ปญั หาการนอน
ได้ นอกจากนั้นการท�ำกจิ กรรมลดน้อยลง การ
อยแู่ ตใ่ นบ้าน กท็ �ำให้เสียโอกาสท่ีจะได้รบั แสง
สวา่ งเชน่ กัน

ก า ร น อ น มี ค ว า ม ส� ำ คั ญแ ล ะ จ� ำ เป ็ น ต ่อก า ร

ประมวลผลความทรงจ�ำ ปญั หาการนอนสง่ ผล

เสยี ตอ่ รา่ งกาย สญั ญาณนาฬิกาภายใน

รา่ งกายช่วยปรับกระบวนการทางประสาท รวม

ถงึ กระบวนการซ่อมแซม DNA กระบวนการขจดั

ของเสียออกจากเซลล์ร่างกาย หากจงั หวะ

สัญญาณนาฬิกาเกิดความคลาดเคล่ือน ก็จะสง่

ผลเสยี ต่อระบบประสาท ท�ำให้เกิดวงจรทำ� ลาย

การปอ้ งกันไมใ่ ห้เกดิ ปัญหาเรอ่ื งการนอน ไมใ่ ห้
ได้รบั ผลกระทบจากการนอนไมเ่ พยี งพอ จึงมี
ความส�ำคญั มากสำ� หรับคนทตี่ ้องเข้าสวู่ ัยชรา

เป็นธรรมดาท่วี ่า เมื่อปรมิ านแสงสว่างทีไ่ ด้
รับในแต่ละวนั เปลยี่ นแปลงไป วงจรการนอนหลับ
ก็ยอ่ มเปลีย่ นตาม ผู้สงู อายุกลุม่ ดังกล่าวจะเริ่มมี
อาการตน่ื นอนกลางดึกบ่อยครั้งขึน้ นอนหลับใน
ตอนกลางวนั บอ่ ยขน้ึ นอกจากนส้ี ่งิ ทีเ่ ราพบได้
บอ่ ยเก่ยี วกับการนอนหลับในผู้สูงอายุ กค็ อื ในผู้
สูงอายุน้นั มกั จะเกิดภาวะทเ่ี รียกว่า  “การนอน
ผดิ เวลา” อยบู่ ่อยๆ หลายคนมาพบแพทยแ์ ล้วมัก
เลา่ ให้ฟงั ว่ามักจะ “เข้านอนเรว็ และต่ืนเช้า”
เร่ืองการนอนผิดเวลา หรอื นอนกอ่ นเวลา
อนั ควร น้นั พอจะมคี ำ� อธบิ ายอยู่ คือ เม่ือคนเรา
อายุมากขึ้นวงจรการนอนหลับจะเริ่มขยับเข้ามา
เรว็ กวา่ ปกติ รวมถึงการเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิ
ของร่างกายที่เวลาที่อุณหภูมิร่างกายเร่ิมต�่ำนั้น
ขยับเข้ามาเร็วกว่าปกติเม่ือเทียบกับตอนหนุ่มสาว
ท�ำให้งว่ งเร็วขน้ึ ส่วนใหญ่อณุ หภูมิรา่ งกายของผู้
สูงอายจุ ะเร่ิมตำ�่ ตอนประมาน 1-2 ทุม่ แล้วเร่มิ สูง
ขึน้ เร่อื ยๆหลังจากเข้านอนไปประมาน 8 ชวั่ โมง
และจะสงู ที่สุดเมอื่ เวลาประมาน ตี 3 ถงึ ตี 4 ดงั
น้ันผู้สูงอายุจึงมักเข้านอนแต่หัวค�่ำแล้วต่ืนนอนมา
เช้ากวา่ ปกติ ภาวะดังกล่าว เรยี กว่า Advanced
sleep phase syndrome (ASPS)

ทีม่ า : www.bangkokhospital.com/th/dis-
ease-treatment/diseases-of-sleep-misuse

การรักษาจะเป็นไปเพื่อปรับเปล่ียนและ

เสริมความแขง็ แรงของวงจรการนอนหลับ ได้แก่

 “Bright-light therapy” แต่ในบางคน หากมี

การขาดเมลาโทนินร่วมด้วยอาจให้ยาเพ่ือเพิ่ม

ระดับฮอรโ์ มนเมลาโทนินในร่างกายได้ Bright-

light therapy นับเป็นการรกั ษาที่ดีท่สี ุดและได้

ผลมากที่สดุ ในปัจจบุ นั หลกั การของมนั ก็คือ จะ

มีการเพ่ิมแสงสว่างในช่วงเวลาหน่ึงของวันให้กับ

ผู้ป่วย เพอ่ื เลื่อนเวลาการนอนหลับให้ยดื ออกไป

ไกลข้ึน ผู้ป่วยจะถกู นำ� มารับแสงสวา่ งในชว่ ง

บา่ ยแกๆ่ หรือ ช่วงเย็นๆอยา่ งน้อย 2 ชวั่ โมงต่อ

วนั เพ่ือเลอื่ นวงจรการนอนออกไป ซึง่ แท้จรงิ

แล้วนอกจากจะเลื่อนวงจรการนอนออกไปได้

ยังสามารถปรับเปลี่ยนระดับอุณหภมู ิ และ

ฮอร์โมนเมลาโทนินในรา่ งกายได้อกี ด้วย

“Bright-light therapy”
จะเอาสิ่งนี้มาจากไหน ?

Bright-light therapy ทีด่ ีที่สดุ กค็ ือ 
 “แสงอาทติ ย”์  นั่นเอง
ผู้ป่วยควรออกมาท�ำกิจกรรมกลางแจ้งบ้างใน
ช่วงบ่ายแก่ หรอื ชว่ งเยน็ ๆ วันละ 2 ชั่วโมง เพ่อื
เลื่อนเวลาการนอนให้ไกลขึน้   ปกตแิ ล้วการรับ
แสงจุดแรกจะเรม่ิ ทตี่ ากอ่ น ดงั นน้ั ในชว่ งเวลานี้ก็
ไมค่ วรสวมแวน่ กันแดดตอนทำ� กจิ กรรม แตใ่ ห้
สวมในช่วงเช้าและตอนกลางวันแทนเพื่อไม่ให้
วงจรการนอนหลบั เล่ือนเข้ามาใกล้อกี
นอกจากน้ีในปัจจุบันยังมีการท�ำส่ิงที่เรียกว่า
“Light box” ซึ่งผลติ แสงสว่างได้มากถงึ 2500
lux   ซึ่งนบั ว่าช่วยได้มากหากไม่สามารถออกไป
ทำ� กจิ กรรมกลางแจ้งได้ โดยเฉพาะในผู้สงู อายทุ ่ี
ช่วยเหลอื ตัวเองไม่ได้ต้องนอนติดเตียงตลอด

ท่มี า : www.bangkokhospital.com/th/dis-
ease-treatment/diseases-of-sleep-misuse

TA R G E T
GROUP

กล่มุ ผสู้ งู อายุ

ก ลุ่ ม ผู้ สู ง อ า ยุ เ ป็ น ก
ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ท่ี เ ข้ า ไ ป ใ ช้
ง า น ใ น พ้ื น ที่ เ นื่ อ ง จ า ก มี ก า ร
จั ด กิ จ ก ร ร ม ที่ ทำ� ใ ห้ ก ลุ่ ม เ ป้ า
ห ม า ย ไ ด้ พ บ ป ะ เ จ อ เ พ่ื อ น แ ล ะ
ทำ� กิ จ ก ร ร ม ใ ห ม่ ๆ ที่ น่ า ส น ใ จ

กลุ่มบคุ คลทวั่ ไป

ก ลุ่ ม บุ ค ค ล ท่ั ว ไ ป

เป็นกลุ่มเป้าหมายรองท่ีเข้าไป

ใช้งานในพ้ืนท่ี เนอื่ งจากมี

พื้ น ห ล า ย ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ไ ป

ใ ช้ ง า น ไ ด้ แ ต่ เ ป็ น ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่

ร่ ว ม กั บ ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก



LOCATION

หอจดหมายเหตุ พทุ ธทาส อนิ ทปญั โญ

ทอ่ี ยู่
สวนวชริ เบญจทัศ(สวนรถไฟ) ถนน
นคิ มรถไฟสาย ๒
แขวงจตจุ กั ร เขตจตุจักร
กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐

การติดตอ่
02-936-2800
02-936-2900
086-300-0900

วันและเวลาทำ� การ
ทุกวนั เวลา 09.00 -18.00 น.

ค่าเข้าชม
ไม่เสยี ค่าเข้าชม

การเดินทาง

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพหลโยธิน ทางออกท่ี 3 หรือ สถานจี ตจุ กั ร
ทางออกท่ี 1 และ 2
รถไฟฟา้ BTS สถานีหมอชิตรถประจำ� ทาง สาย 3, 8, 26, 27, 28,
34, 38, 39, 44, 63, 90, 96, 104, 112, 134, 138, 52, 521, ปอ.พ
11, 550 โดยรถยนต์สว่ นตัว ใช้ถนนวิภาวดรี ังสติ

ทม่ี า : www.bia.or.th/html_th/index.php/contact



PLAN





FLOOR 1



FLOOR 2



FLOOR 3





ELEVATION


































Click to View FlipBook Version