The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kraison Suriyo, 2021-09-13 03:50:14

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ

หน่วยที่ 3 เครื่องเจาะและงานเจาะ

วิชาผลิตชิ้นส่วนเครือ่ งมือกล1
รหสั วิชา 20102-2008

หน่วยท่ี 3
เครื่องเจาะและงานเจาะ

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ

เครื่องเจาะแบบต้ังโต๊ะ
เครื่องเจาะแบบต้ังโต๊ะเป็ นเคร่ืองเจาะ

ขนาดเล็กเจาะรูขนาดไม่เกิน 13มม. การส่ง
ก า ลัง โ ด ย ท่ัว ไ ป จ ะ ใ ช้ ส า ย พ า น แ ล ะ ป รั บ
ความเร็วรอบดว้ ยลอ้ สายพาน 2 – 3 ข้นั

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครือ่ งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

เครื่องเจาะแบบต้งั พนื้
เป็นเครื่องเจาะขนาดใหญ่ การส่งกาลงั ปกติ

จะใชช้ ุดเฟื องทด จึงสามารถปรับความเร็วรอบ
ไดห้ ลายระดบั และรับแรงบิดไดส้ ูง

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

เครื่องเจาะแบบรัศมี

เป็ นเครื่องเจาะขนาดใหญ่กว่าเครื่อง
เจาะแบบต้งั พ้ืน โดยที่หวั จบั ดอกสว่านจะ
เลื่อนไป – มาบนแขนเจาะ การส่งกาลงั
ปกติจะใชช้ ุดเฟื องทด

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่ืองมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ

ส่วนประกอบต่างๆ ของเคร่ืองเจาะต้งั โต๊ะ

ชุดหัวเครื่อง เสาเครื่องเจาะ
(Drilling Head) (Column)

โต๊ะงาน ฐานเครื่อง
(Table) (Base)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครอื่ งเจาะและงานเจาะ

ส่วนประกอบต่างๆ ของเคร่ืองเจาะต้งั พนื้

โต๊ะงาน ชุดหัวเคร่ือง
(Table) (Drilling Head)

ฐานเครื่อง เสาเคร่ืองเจาะ
(Base) (Column)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)

หน่วยการเรียนที่ 3 : เครอื่ งเจาะและงานเจาะ

ส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องเจาะแบบรัศมี

เสาเคร่ืองเจาะ ชุดหัวเคร่ือง
(Column) (Drilling Head)

ฐานเครื่อง แขนรัศมี
(Base) (Radial Arm)

แกนเพลา
(Spindle)

โต๊ะงาน
(Table)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอื่ งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

เครื่องมอื และและอปุ กรณ์ทใ่ี ช้กบั เครื่องเจาะ

ดอกสว่าน (Drill)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

ก้านจบั และร่องคายเศษโลหะ

สว่านก้านตรง สว่านก้านตรงแบบมกี น่ั สว่านก้านจบั เรียว สว่านก้านจบั สี่เหลย่ี ม

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

เส้ นแกนสว่าน

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ

มุมคมตดั ดอกสว่าน

1. มุมคมตดั
2. มุมหลบ
3. มุมคายเศษ
4. มุมจกิ

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

ดอกเจาะนาศูนย์ (Center Drill)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่ืองเจาะและงานเจาะ

เหลก็ ตอกนาศูนย์(Center Punch)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

อุปกรณ์จับยดึ

ปากกาจับงานเจาะ
(Vise)

ซี – แคล็มป์
(C-Clamp)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครือ่ งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครอื่ งเจาะและงานเจาะ

แท่งขนาน (Parallels) แคลม็ ป์ แบบคอห่าน (Gooseneck Clamp)

แคลม็ ป์ แบบแบน (Plain or Flat) ยู – แคลม็ ป์ (U-Clamp)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

เหลก็ ข้นั บนั ได (Step Block) ชุด วี-บลอ็ ก(V-Block)

แจค็ สกรู(Jack Screw) เหลก็ มุมฉาก (Angle Plate)
สกรูยดึ แบบตวั ที (T-Slot)

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่อื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

งานรีมเมอร์(Reamers)
รีมเมอร์มอื (Hand Reamers)
แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ

แบบขนาดตายตวั

แบบปรับขนาดได้

และแบบเรียว

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

รีมเมอร์เคร่ือง (Machine reamers)

แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ

แบบขนาดตายตวั

แบบปรับขนาดได้

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครือ่ งเจาะและงานเจาะ

ส่วนประกอบของรีมเมอร์

ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เคร่อื งเจาะและงานเจาะ

หลกั การทางานรีมเมอร์

1. เจาะรูดว้ ยดอกสวา่ นก่อนและใหไ้ ดข้ นาดรูเจาะเลก็ กวา่ ขนาดของรีมเมอร์
2. ควรมีการหล่อล่ืนและหล่อเยน็ เพอื่ ไม่ใหม้ ีเศษโลหะอุดตนั และลดแรง
เสียดทาน ทาใหผ้ วิ เรียบมากข้ึน

ขนาดรีมเมอร์ (d) ระยะเผอื่ (Z)
เลก็ กว่า 5 มม. 0.1 - 0.2
5 - 20 มม. 0.2 - 0.3
21 - 50 มม. 0.3 - 0.5
โตกว่า 50 มม. 0.5 - 1

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เคร่ืองเจาะและงานเจาะ

ข้นั ตอนการคว้านละเอยี ดด้วยมอื

1. เจาะรูใหเ้ ลก็ กวา่ ขนาดจริงดว้ ยเครื่องเจาะ
หรือเคร่ืองกลึง
2. จบั ยดึ ชิ้นงานดว้ ยปากกา
3. ทาการควา้ นละเอียดดว้ ยมือ
4. ตรวจสอบแนวฉากดว้ ยฉาก
5. หล่อล่ืนชิ้นงานดว้ ยน้ามนั

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเคร่ืองมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนท่ี 3 : เครื่องเจาะและงานเจาะ

การบารุงรักษาดอกรีมเมอร์

1. ตดั เฉื่อนผวิ งานออกบาง ๆ ประมาณ 0.05 มม.เพื่อรักษาคมตดั
2. ตอ้ งหมุนดอกรีมเมอร์ไปทางเดียวกบั คมตดั
3 .เลือกขนาดของรีมเมอร์ใหถ้ กู ตอ้ ง
4 .การถอดดอกรีมเมอร์ใหห้ มุนในทิศทางเดียวกนั กบั การป้ อนดอกรีมเมอร์
พร้อมกบั ยกดอกรีมเมอร์ข้ึน
5 .ถา้ หมุนดอกรีมเมอร์กลบั ทิศทางอาจทาใหด้ อกรีมเมอร์เสียหายได้
6. แยกดอกรีมเมอร์ออกจากเครื่องมืออื่น ชะโลมน้ามนั เกบ็ ใส่กล่องเฉพาะ

วิชา : ผลิตชิ้นส่วนเครอ่ื งมือกล1(20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ

ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองเจาะ

1. ก่อนใชเ้ คร่ืองทุกคร้ังจะตอ้ งตรวจดู ความพร้อมของเคร่ือง
ก่อนใชง้ านเสมอ
2. จบั ยดึ ชิ้นงานใหแ้ น่นและถกู วธิ ี
3. ศึกษาข้นั ตอนการใชเ้ คร่ืองเจาะและวิธีการทางานใหถ้ ูกตอ้ ง
4. จะตอ้ งแต่งกายใหร้ ัดกมุ ถูกตอ้ งตามกฎความปลอดภยั
5. จะตอ้ งสวมแวน่ ตานิรภยั ป้ องกนั เศษโลหะกระเดน็ เขา้ ตา

วิชา : งานเคร่ืองมอื กล1เบอื้ งต้น (20102-2008)
หน่วยการเรียนที่ 3 : เครอ่ื งเจาะและงานเจาะ

การบารุงรักษาเคร่ืองเจาะ

1. จะตอ้ งตรวจสอบระบบไฟฟ้ าใหอ้ ยใู่ นสภาพที่สมบูรณ์ตลอดเวลา
2. จะตอ้ งตรวจสอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองใหพ้ ร้อมใชง้ านตลอด
3. ก่อนใชง้ านจะตอ้ งหยอดน้ามนั หล่อลื่นในส่วนท่ีเคลื่อนท่ี
4. ควรมีแผนการบารุงรักษาเป็นระยะเวลาท่ีกาหนด
5. หลงั เลิกใชง้ านจะตอ้ งทาความสะอาดและชโลมดว้ ยน้ามนั


Click to View FlipBook Version