The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรระดับชั้นเรียน
และการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ส 31161 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyaboot253, 2020-05-09 15:36:14

หลักสูตรประวัติศาสตร์ม.4

หลักสูตรระดับชั้นเรียน
และการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ส 31161 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลักสตู รระดบั ชั้นเรยี น
และการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้
ส 31161 รายวชิ าประวัตศิ าสตรไ์ ทย

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4

กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

นายปิยะบตุ ร จติ รช่วย
ตาแหน่ง ครชู านาญการ

โรงเรียนมกุ ดาหาร อาเภอเมืองมุกดาหาร จงั หวัดมุกดาหาร
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 22

สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บนั ทึกข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรียนมกุ ดาหาร อาเภอเมืองมุกดาหาร จังหวดั มกุ ดาหาร
ที่ วันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2562
เรอื่ ง ส่งหลกั สูตรระดบั ช้ันเรียน ส31161 รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

เรยี น ผอู้ านวยการโรงเรยี นมุกดาหาร

ตามคาสัง่ โรงเรยี นมุกดาหารท่ี /2561 ไดม้ อบหมายใหค้ รปู ฏบิ ัติหนา้ ทีส่ อนแต่ละ
รายวิชาประจาภาคเรยี นท่ี 1/2561 นัน้ ในการนขี้ า้ พเจ้า นายปิยะบตุ ร จิตรชว่ ย ตาแหน่ง ครูชานาญการ
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ไดด้ าเนินการจดั ทาหลกั สตู รระดบั ชั้นมธั ยมศึกษา
ปีท่ี 4 เพ่ือแนวทางในการจดั การเรียนการสอนวิชาดังกล่าวเรยี บรอ้ ยแลว้ และขอดาเนนิ การ ส่งหลักสูตร
ระดับชัน้ เรียนรายวชิ าดงั กล่าว

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

(ลงชอ่ื )
(นายปยิ ะบุตร จิตรชว่ ย)
ตาแหน่ง ครชู านาญการ

คานา

กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพ่ือใหก้ ารจดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานสอดคล้องกับสภาพความ
เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจสงั คมและความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิทยาการ เป็นการสร้างกลยทุ ธใ์ หม่ในการ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ใหส้ ามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สงั คมไทย ผูเ้ รียนมีศกั ยภาพใน
การแขง่ ขนั และร่วมมอื อยา่ งสร้างสรรคใ์ นสงั คมโลก ปลกู ฝังใหผ้ ู้เรียนมีจติ สานกึ ในความเป็นไทย มรี ะเบยี บ
วินยั คานึงถึงประโยชนส์ ว่ นรวมและยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์
ทรงเป็นประมุข เปน็ ไปตามเจตนารมณ์มาตรา 80 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช
2550 และพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545

เอกสารหลักสูตรระดับชนั้ เรยี น ส 33161 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที 4
น้ี ผจู้ ัดทาไดจ้ ดั ทาโดยอ้างอิงจากหลักสตู รสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี น
มุกดาหาร พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) จดั ทาข้นึ เพอ่ื นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการ
จัดการเรียนการสอน เพอ่ื พัฒนาเดก็ และเยาวชนไทยทุกคน ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (มธั ยมศกึ ษาปีท่ี
4 ) ให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะทจี่ าเป็นสาหรบั การดารงชีวิตในสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลง และ
แสวงหาความรูเ้ พ่ือพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ โดยใช้หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 เป็นกรอบแนวทางในการจัดทา ทั้งมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรยี นรู้ทีก่ าหนดไว้ใน
เอกสารหลักสูตรนี้ จะช่วยทาให้ครูผูส้ อนและผทู้ ่เี ก่ยี วข้องในทกุ ระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการ
พฒั นาการเรียนรู้ ของผูเ้ รยี นที่ชัดเจนตลอดแนว ซึง่ จะสร้างความม่ันใจ และทาความเข้าใจหลกั สตู รใน
ระดบั สถานศึกษาอยา่ งมีคุณภาพและมคี วามเป็นเอกภาพยิ่งขึน้ อกี ท้ังยังชว่ ยใหเ้ กิดความชดั เจนเรอื่ งการวดั
และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ใน
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รวมทง้ั เปน็ กรอบทิศทาง ในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และ
ครอบคลุมผเู้ รียน ทุกกลุ่มเปา้ หมายในระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างแทจ้ ริง

นายปิยะบุตร จิตรชว่ ย

ความเปน็ มาหรือความสาคญั ของ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ทาไมต้องเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สังคมโลกมีการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ วา่ มนุษยด์ ารงชีวติ อย่างไร ทงั้ ในฐานะปจั เจกบุคคล และการ
อยรู่ ่วมกันในสงั คม การปรับตัวตามสภาพแวดลอ้ ม การจดั การทรัพยากรทม่ี ีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยัง
ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจถึงการพัฒนา เปลย่ี นแปลงตามยคุ สมัย กาลเวลา ตามเหตุปจั จัยตา่ งๆ ทาใหเ้ กดิ ความ
เข้าใจในตนเองและผูอ้ ่ืน มีความอดทน อดกลั้น ยอมรบั ในความแตกตา่ ง และมคี ุณธรรม สามารถนาความรู้
ไปปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก

เรยี นรอู้ ะไรในสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยรู่ ว่ มกันในสงั คม ที่มีความ
เช่ือมสมั พันธ์กนั และมีความแตกตา่ งกันอย่างหลากหลาย เพ่อื ช่วยใหส้ ามารถปรับตนเองกับบริบท
สภาพแวดลอ้ มเปน็ พลเมืองดี มีความรบั ผดิ ชอบ มีความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม โดยได้
กาหนดสาระตา่ งๆไว้ ดังนี้

● ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเกีย่ วกบั ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรม
ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏบิ ัตใิ นการพฒั นาตนเอง และการ
อยรู่ ว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ เป็นผู้กระทาความดี มคี า่ นิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาเพ็ญ
ประโยชน์ต่อสังคมและสว่ นรวม

● หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชวี ิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเปน็
พลเมอื งดี ความแตกตา่ งและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านยิ ม ความเช่อื ปลูกฝงั ค่านิยมดา้ น
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข สิทธิ หนา้ ท่ี เสรีภาพการดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งสนั ติสขุ ใน
สงั คมไทยและสังคมโลก

● เศรษฐศาสตร์ การผลติ การแจกจา่ ย และการบริโภคสนิ คา้ และบริการ การบริหารจดั การ
ทรพั ยากรที่มีอยอู่ ยา่ งจากัดอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การดารงชีวิตอยา่ งมดี ลุ ยภาพ และการนาหลกั เศรษฐกิจ
พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน

● ประวตั ศิ าสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ พฒั นาการของ
มนษุ ยชาตจิ ากอดีตถงึ ปัจจุบัน ความสัมพนั ธแ์ ละเปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ ่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก
เหตุการณส์ าคัญในอดตี บคุ คลสาคญั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อการเปล่ียนแปลงตา่ งๆในอดตี ความเปน็ มาของชาติไทย
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมท่ีสาคัญของโลก

● ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร และภูมอิ ากาศ
ของประเทศไทย และภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่ีและเครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพนั ธก์ นั ของ
สง่ิ ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพนั ธ์ของมนุษย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และส่ิงที่มนษุ ยส์ รา้ ง
ข้ึน การนาเสนอข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาที่ย่ังยืน

คุณภาพผู้เรียน

จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

● มคี วามร้เู ก่ียวกบั ความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทยี บกบั ประเทศใน
ภมู ภิ าคต่างๆในโลก เพือ่ พัฒนาแนวคดิ เรอ่ื งการอยูร่ ว่ มกันอย่างสันตสิ ขุ

● มที ักษะท่จี าเปน็ ต่อการเป็นนักคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ได้รบั การพัฒนาแนวคดิ และขยาย
ประสบการณ์ เปรยี บเทียบระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศในภูมิภาคตา่ งๆ ในโลก ไดแ้ ก่ เอเชีย โอเชีย
เนยี แอฟริกา ยโุ รป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในดา้ นศาสนา คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ความเชื่อ
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง ประวตั ิศาสตร์และภูมิศาสตร์ ดว้ ยวธิ กี ารทาง
ประวัตศิ าสตร์ และสังคมศาสตร์

● ร้แู ละเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใชเ้ ป็นประโยชนใ์ นการ
ดาเนนิ ชีวติ และวางแผนการดาเนนิ งานได้อย่างเหมาะสม

จบชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

● มคี วามรู้เก่ยี วกับความเปน็ ไปของโลกอย่างกวา้ งขวางและลกึ ซึง้ ย่งิ ข้นึ

● เปน็ พลเมืองที่ดี มคี ุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัตติ ามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถือ รวมท้งั มี
คา่ นิยมอนั พงึ ประสงค์ สามารถอย่รู ่วมกับผู้อืน่ และอยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสุข รวมท้งั มศี กั ยภาพเพ่ือ
การศึกษาต่อในชนั้ สูงตามความประสงค์ได้

● มคี วามรเู้ ร่ืองภมู ิปญั ญาไทย ความภูมใิ จในความเป็นไทย ประวัติศาสตรข์ องชาติไทยยึด มน่ั ใน
วถิ ชี วี ิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข

● มีนสิ ยั ท่ีดใี นการบรโิ ภค เลอื กและตัดสนิ ใจบรโิ ภคได้อย่างเหมาะสมมีจติ สานึก และมีสว่ นร่วม
ในการอนรุ ักษ์ ประเพณวี ัฒนธรรมไทย และสงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามรักท้องถ่นิ และประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์
และสร้างสงิ่ ที่ดงี ามให้กับสงั คม

● มีความร้คู วามสามารถในการจดั การเรียนรู้ของตนเอง ชน้ี าตนเองได้ และสามารถแสวงหา
ความร้จู ากแหล่งการเรยี นรูต้ ่างๆในสงั คมได้ตลอดชวี ติ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื
ศาสนาทตี่ นนบั ถือและศาสนาอน่ื มศี รทั ธาที่ถกู ต้อง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ติ าม
หลักธรรมเพ่ืออยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสขุ
มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเป็นศาสนิกชนทด่ี ี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
หรือศาสนาท่ีตนนับถือ

สาระท่ี 2 หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าทขี่ องการเป็นพลเมืองดี มีคา่ นิยมทดี่ ีงาม และ
ธารงรกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ิตอยู่ร่วมกันในสงั คมไทยและ
สงั คมโลกอย่างสนั ตสิ ุข
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยึดมั่น ศรทั ธา และธารง
รักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็น
ประมขุ

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรทีม่ ีอยจู่ ากัดได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทงั้ เข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ การดารงชีวิตอย่างมีดลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจและ
ความจาเป็นของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก

สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถ
ใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ ่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จบุ ัน ในดา้ นความสัมพนั ธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญและ
สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน

มาตรฐาน ส 4.3 เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มีความรักความภมู ใิ จ
และธารงความเปน็ ไทย

สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพส่งิ ซ่งึ มผี ลตอ่ กนั
และกันในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนทแี่ ละเครื่องมือทางภูมิศาสตรใ์ นการ
คน้ หาวเิ คราะห์ สรปุ และใช้ข้อมลู ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทกี่ ่อให้เกดิ การ
สร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มจี ติ สานึก และมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรและ
สง่ิ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาท่ยี ั่งยนื

รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ไทย คาอธบิ ายรายวิชา
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4
เวลา 40 ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
รหสั วชิ า ส 33161
จานวน 1 หน่วยกติ

ศกึ ษา วิเคราะห์ ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรท์ ่ีแสดงถงึ การเปลยี่ นแปลงของ
มนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ท่ีมีต่อ
การศึกษาทางประวัติศาสตร์ ประเด็นสาคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ความเป็นมาของชาติไทยสมัยก่อน
อาณาจักรสุโขทัยจนถึงการเปล่ียนแปลงการปกครอง ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยซ่ึงมีผลต่อสังคมไทยในยุคปัจจุบัน บทบาท
ของสถาบันพระมหากษัตริย์ในการพัฒนาชาติไทยในด้านต่างๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกและ
ตะวันออกทีม่ ตี ่อสงั คมไทย ผลงานของบุคคลสาคัญทัง้ ชาวไทยและต่างประเทศทมี่ สี ่วนสร้างสรรค์วัฒนธรรม
ไทยและประวตั ศิ าสตร์ไทย ปจั จยั และบคุ คลที่สง่ เสรมิ สรา้ งสรรคภ์ ูมิปัญญาไทย และวฒั นธรรมไทยทม่ี ผี ลต่อ
สังคมไทยในปัจจุบัน สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย การกาหนด
แนวทางและการมสี ว่ นรว่ มอนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย

โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจตระหนักในความสาคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ชาติไทย เกิด
ความรักความภาคภูมิใจและธารงความเป็นไทย มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ซ่อื สตั ย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ รักความเป็นไทย ม่งุ มั่นในการทางาน

ตัวช้วี ดั

ส 4.1 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2

ส. 4.3 ม. 4-6/1 ม. 4-6/2 ม. 4-6/3 ม. 4-6/4 ม. 4-6/5

รวม 7 ตัวช้วี ดั

โครงสร้างรายวิชา ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4

ลาดับท่ี ชอื่ หน่วยการเรยี น มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก
การเรียนรู้ / (ชั่วโมง) คะแนน
1 เวลา และยคุ สมยั ทาง การกาหนดเวลา ยุคสมัย การนบั และเทยี บ
ประวัตศิ าสตร์ไทย ตวั ช้วี ดั ศกั ราชในประวัตศิ าสตรไ์ ทย ทาใหส้ ามารถ 6 15
ศกึ ษาและเรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ต่างๆ ใน
2 การสร้างองค์ความรูใ้ หม่ทาง ส 4.1 ม. 4- ประวตั ิศาสตร์ได้ รวมทงั้ มคี วามสมั พนั ธ์ 6 15
ประวัติศาสตรไ์ ทย 6/1 เช่อื มโยงจากอดตี สปู่ ัจจบุ นั และคาดการณ์ใน 12 30
อนาคตเขา้ ดว้ ยกนั ได้
3 วิเคราะหป์ ระเดน็ สาคัญทาง ส 4.1 ม. 4- การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวตั ิศาสตร์ 8 25
ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 6/2 ไทย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตรอ์ ยา่ ง
เป็นระบบ ยอ่ มทาใหผ้ ลการศึกษานัน้ มคี ุณค่า
4 ผลงานของบุคคลสาคญั ในการ ส 4.3 ม. 4- และเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ
สรา้ งสรรค์ 6/1 การศกึ ษาประเด็นทางประวัติศาสตรไ์ ทย
ชาติไทย ม. 4-6/2 นอกจากฝึกกระบวนการวิเคราะหแ์ ลว้ ยงั ทา
ให้เกดิ องค์ความรู้ใหม่ทางประวัตศิ าสตร์ และ
5 การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมและ ส 4.3 ม. 4-6 ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของสถาบนั
ภมู ิปัญญาไทย /4 พระมหากษตั รยิ ต์ ่อชาติไทย
บคุ คลสาคัญทีม่ สี ่วนสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมไทย
และประวตั ิศาสตรไ์ ทย มที ้งั ชาวไทยและชาว
ต่างประเทศ ชาวไทยทกุ คนควรศกึ ษาผลงาน
และยกยอ่ งท่าน และนาไปเป็นแบบอยา่ งใน
การปฏิบัตติ น

ส 4.3 ม. 4-6 วิถกี ารดารงชวี ติ และภมู ิปัญญาของคนไทยใน 8 15
/3 แตล่ ะยคุ สมัย มกี ารปรับปรงุ เปลยี่ นแปลงให้
ม. 4-6 /5 เข้ากับสภาพแวดลอ้ ม ซ่งึ มผี ลต่อการ
สรา้ งสรรคภ์ ูมิปญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย
จึงมคี วามจาเปน็ ท่ีชาวไทย จะตอ้ งร่วมมอื กนั
อนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทย

ตารางโครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้
รายวชิ า ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เวลา 40 ช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั วธิ ีสอน / กระบวนการจัด ทกั ษะการคิด เวลา
การเรียนรู้ การเรยี นรู้ (ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 1. เวลาและศักราช 1. ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์
เวลา และยุคสมยั ทาง วธิ ีสอนโดยใชก้ ระบวนการทาง 2. ทกั ษะการคดิ 3
ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ประวตั ศิ าสตร์ 3
วิเคราะห์
2. ประวัติศาสตร์ วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : 1. ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ 3
ใกลต้ วั กระบวนการสืบค้น 2. ทักษะการคดิ
3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 1. วธิ ีการทาง วิธีสอนโดยใชก้ ระบวนการทาง วิเคราะห์
ประวัตศิ าสตร์ 3. ทักษะการคิดอย่างมี
การสร้างองค์ความรใู้ หมท่ าง ประวตั ศิ าสตร์
วิจารณญาณ
ประวตั ศิ าสตร์ไทย 1. ทักษะการคดิ

2. การสร้างองค์ วธิ ีสอนโดยใช้กระบวนการทาง วิเคราะห์
ความรูใ้ หมท่ าง ประวัติศาสตร์ 2. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี
ประวัติศาสตร์ไทย
วิจารณญาณ
1. ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์
2. ทกั ษะการคดิ

วเิ คราะห์

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 1. ประวัตศิ าสตรไ์ ทย วธิ ีสอนโดยใช้กระบวนการทาง 1. ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ 3
วิเคราะหป์ ระเดน็ สาคัญทาง สมยั ยคุ กอ่ น ประวตั ิศาสตร์ 2. ทักษะการคิด 3
ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 3
ประวตั ิศาสตร์ กาเนดิ วเิ คราะห์
ชนชาติไทย
1. ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์
2. ประวตั ิศาสตรไ์ ทย วธิ สี อนโดยใชก้ ระบวนการทาง 2. ทักษะการคิด
ยคุ อาณาจกั รกรงุ ประวัตศิ าสตร์
สโุ ขทยั กรงุ ศรีอยุธยา วิเคราะห์
และ กรงุ ธนบุรี วิธสี อนโดยใชก้ ระบวนการทาง
3. ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ประวตั ศิ าสตร์ 1. ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์
สมยั รัตนโกสนิ ทร์ 2. ทกั ษะการคิด
จนถงึ ยคุ เปลีย่ นแปลง
การปกครอง วิเคราะห์
3. ทักษะการคิดอยา่ ง

มีวจิ ารณญาณ

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัด วธิ สี อน / กระบวนการจัด ทกั ษะการคดิ เวลา
การเรียนรู้ การเรียนรู้ 1. ทักษะการคดิ สร้างสรรค์ (ช่วั โมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 2. ทกั ษะการคิด
ผลงานของบคุ คลสาคญั 4. สังคมไทยหลังการ วิธสี อนโดยใชก้ ระบวนการทาง 3
ในการสรา้ งสรรค์ เปล่ียนแปลงการ ประวตั ิศาสตร์ วเิ คราะห์
ชาติไทย ปกครอง 3
พ.ศ. 2475 วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 1. ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 กระบวนการกลุ่ม 2. ทักษะการคิด 5
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม 1. ผลงานของบุคคล
และ สาคัญในการ วิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : วเิ คราะห์ 4
ภมู ิปญั ญาไทย สรา้ งสรรค์ กระบวนการกลุม่ , กระบวนการ
ชาตไิ ทย (1) คิดวิเคราะห์ 1. ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ 4
2. ทกั ษะการคดิ
2. ผลงานของบคุ คล วธิ สี อนโดยการจดั การเรียนรู้
สาคญั ในการ แบบรว่ มมือ : เทคนิคร่วมกันคิด วิเคราะห์
สร้างสรรค์
ชาติไทย (2) วธิ กี ารสอนโดยเน้นกระบวนการ: 1. ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์
กระบวนการสรา้ งความตระหนัก , 2. ทักษะการคดิ
1. การสรา้ งสรรค์ กระบวนการกล่มุ
วฒั นธรรมและ วเิ คราะห์
ภมู ิปัญญาไทย (1)
1. ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์
2. การสร้างสรรค์ 2. ทกั ษะการคดิ
วัฒนธรรมและ
ภูมปิ ญั ญาไทย (2) วเิ คราะห์

57

การจดั หนว่ ยการเรียนรู้

รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ไทย รหสั วชิ า ส31161 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง ( 1 หนว่ ยกติ )

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1

1) หน่วยการเรียนรู้เรอ่ื ง เวลา และยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 6 คาบ

2) มาตรฐาน / ตวั ชี้วดั

ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสาคัญของเวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถงึ

การเปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ

3) ความคิดรวบยอด

การกาหนดเวลา ยคุ สมัย การนบั และเทยี บศักราชในประวัติศาสตรไ์ ทย ทาให้สามารถศึกษา

และเรยี งลาดับเหตุการณต์ ่างๆ ในประวตั ศิ าสตร์ได้ รวมทั้งมคี วามสัมพันธ์เชือ่ มโยงจากอดีตสูป่ ัจจุบนั

และคาดการณ์ในอนาคตเข้าด้วยกันได้

4) สาระการเรยี นรู้

1. เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรท์ ป่ี รากฏในหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย

2. ตัวอย่างเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตรข์ องสังคมมนุษยท์ ม่ี ีปรากฏในหลักฐาน

ทางประวัติศาสตร์

3. ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์

5) สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น

ด้าน 4.1 ความสามารถในการคดิ

-ทักษะการคดิ สรา้ งสรรค์

-ทักษะการคดิ วิเคราะห์

-ทักษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ

ด้าน 4.2 ความสามารถในการแก้ปญั หา

-กระบวนการสบื ค้นข้อมลู

ด้าน 4.3 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

-กระบวนการทางานกลุม่

-กระบวนการปฏบิ ัติ

6) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุง่ ม่ันในการทางาน 4. รักความเปน็ ไทย

7) ชิ้นงาน / ภาระงาน

แบบฝึกหดั /ใบงาน

8) การวัดผลและประเมินผล

8.1) การประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- ตรวจแบบฝกึ หัด/ใบงาน

- ทดสอบย่อย (อตั นยั )

8.2) การประเมนิ เมื่อสนิ้ สุดกิจกรรมการเรยี นรู้

- ช้ินงาน/ภาระงาน

9) กจิ กรรมการเรียนรู้

9.1 ศกึ ษาองค์ความรู้ และฝกึ ประสบการณ์ความรู้ ไดแ้ ก่

- ศกึ ษาความรู้เบอ้ื งต้นเก่ียวกับเวลา และยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์

- การคานวณ เทียบเวลา

- การเรยี งลาดับเหตุการณ์ตามชว่ งเวลาทางประวตั ศิ าสตร์

- การสร้าง Timeline เพื่อศกึ ษาเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์

9.2 ตรวจชน้ิ งาน/ภาระงาน (แบบฝึกหัด/ใบงาน)

- ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง เวลาในชวี ติ ประจาวนั

- ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง การเทียบศักราชในประวัตศิ าสตรไ์ ทย

- ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง บนั ทึกประวัติศาสตร์

- ใบงานที่ 2.2 เร่อื ง ผังมโนทัศน์เวลาและยคุ สมัยของประวัตศิ าสตร์ไทย

9.3 ทดสอบย่อย

10) เวลาเรียน จานวน 6 คาบ

11) เกณฑ์การประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบย่อย (อตั นัย)

ระดับคะแนน พฤติกรรมบ่งช้ี

3 การอธิบายคาตอบ ชดั เจน สมบรู ณ์ คาตอบถูกตอ้ ง ครบถว้ น

2 การอธบิ ายคาตอบ ชดั เจน สมบูรณ์ แต่คาตอบไม่ถูกต้อง หรือ ไม่ครบถว้ น

1 การอธบิ ายคาตอบ ยงั ไมช่ ดั เจนแต่อยูใ่ นแนวทางที่ถูกต้อง คาตอบถกู ต้อง

แตไ่ ม่ครบถ้วน

0 การอธิบายคาตอบ ไม่อย่ใู นแนวทางทถี่ ูกตอ้ ง คาตอบไม่ถูกตอ้ ง

หรอื ไม่แสดงคาตอบ

เกณฑ์การตัดสิน / ระดบั คณุ ภาพ

คะแนน 80% ขน้ึ ไป คุณภาพ ดมี าก

70 - 79% คุณภาพ ดี

50 - 69% คณุ ภาพ พอใช้

0 - 49% คุณภาพ ปรบั ปรงุ

เกณฑ์การผ่าน

ได้คะแนนต้ังแต่ 50 % ขึ้นไป หรอื ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ขึ้นไป

************************************************************************************************
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2

1) หน่วยการเรียนรู้เรื่อง การสร้างองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4

เวลา 6 คาบ

2) มาตรฐาน / ตวั ช้ีวัด

มาตรฐานส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ทางประวัตศิ าสตรโ์ ดยใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์

อย่างเปน็ ระบบ

3) ความคิดรวบยอด

การสรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวตั ิศาสตรไ์ ทย โดยใชว้ ิธกี ารทางประวัติศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ

ยอ่ มทาให้ผลการศึกษานั้นมีคุณค่าและเปน็ ที่ยอมรบั ในความถกู ต้อง และมีประโยชนต์ ่อผู้ศกึ ษา

4) สาระการเรียนรู้

1. ขนั้ ตอนของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ โดยนาเสนอตัวอยา่ งทลี ะข้ันตอนอย่างชดั เจน

2. คุณค่าและประโยชน์ของวธิ ีการทางประวัติศาสตรท์ ่มี ตี ่อการศกึ ษาทางประวตั ศิ าสตร์

3. ผลการศกึ ษา หรือโครงงานทางประวตั ิศาสตร์ เนน้ การศกึ ษาประวตั ิศาสตรท์ ้องถน่ิ

5) สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น

ความสามารถในการคิด

ความสามารถในการแก้ปญั หา

6) คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รยี น รักความเป็นไทย

มจี ิตสาธารณะ
7) ชนิ้ งาน / ภาระงาน

 แบบฝกึ หดั /ใบงาน

 โครงงานการสืบค้นประวตั ิศาสตรท์ อ้ งถ่ิน โดยใช้วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์

8) การวัดผลและประเมินผล
8.1) การประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
- ตรวจแบบฝึกหัด/ใบงาน
- ทดสอบย่อย (อตั นยั )
8.2) การประเมินเม่ือส้ินสุดกิจกรรมการเรยี นรู้
- ชน้ิ งาน/ภาระงาน

9) กจิ กรรมการเรยี นรู้
9.1 ศกึ ษาองค์ความรู้ และฝึกประสบการณ์ความรู้ ไดแ้ ก่
- ศกึ ษาเกี่ยวกับวธิ ีการทางประวัติศาสตร์
- ศกึ ษาเก่ียวกบั การสรา้ งองค์ความร้เู กี่ยวกบั ประวัตศิ าสตร์
- การศึกษา การสืบค้นประวัตศิ าสตร์ท้องถิน่ โดยใช้วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ ในรูปแบบ
โครงงานประวัตศิ าสตร์
9.2 ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (แบบฝกึ หัด/ใบงาน)
1. ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง เจาะประวัตศิ าสตร์
2. ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์
3. ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง กรณีศกึ ษาประวัติศาสตร์ไทย
4. ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง การใช้ ICT เพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพการเรียนรปู้ ระวัติศาสตร์
5. ประเมินจากการนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน
6. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
9.3 ทดสอบยอ่ ย

10) เวลาเรยี น จานวน 6 คาบ
11) เกณฑ์การประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบยอ่ ย (อัตนัย)

ระดบั คะแนน พฤติกรรมบ่งช้ี
3 การอธิบายคาตอบ ชดั เจน สมบูรณ์ คาตอบถูกตอ้ ง ครบถ้วน
2 การอธิบายคาตอบ ชดั เจน สมบูรณ์ แต่คาตอบไม่ถกู ต้อง หรอื ไม่ครบถ้วน
1 การอธบิ ายคาตอบ ยังไม่ชดั เจนแตอ่ ยู่ในแนวทางท่ีถูกต้อง คาตอบถกู ต้อง
แตไ่ ม่ครบถ้วน
0 การอธบิ ายคาตอบ ไม่อยใู่ นแนวทางท่ถี ูกต้อง คาตอบไม่ถูกตอ้ ง
หรอื ไม่แสดงคาตอบ

เกณฑ์การตดั สนิ / ระดบั คุณภาพ

คะแนน 80% ขน้ึ ไป คณุ ภาพ ดมี าก

70 - 79% คณุ ภาพ ดี

50 - 69% คณุ ภาพ พอใช้

0 - 49% คุณภาพ ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารผ่าน ได้คะแนนต้งั แต่ 50 % ขนึ้ ไป หรือ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ข้ึนไป

การประเมนิ ชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินโครงงานการสืบคน้ ประวตั ศิ าสตร์ท้องถ่ินโดยใชว้ ิธีการทางประวตั ิศาสตร์

รายการประเมนิ คาอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดับคะแนน

1. การกาหนดประเด็น ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ปญั หาหรือขอ้
สมมุติฐาน เขยี นจดุ เริ่มต้นของการศึกษา เขียนจดุ เร่มิ ต้นของ เขยี นจดุ เรม่ิ ตน้ ของ เขยี นจดุ เร่มิ ตน้ ของ

2. การรวบรวม ขอ้ มูล พรอ้ มอธิบายเหตผุ ลได้ การศึกษาขอ้ มูล พรอ้ ม การศกึ ษาขอ้ มูล พรอ้ ม การศึกษาขอ้ มูล
หลกั ฐาน
ถกู ต้อง กาหนดสมมตุ ฐิ านได้ อธบิ ายเหตผุ ลตรงตาม อธบิ ายเหตผุ ลตรงตาม ไม่เป็นระบบ
3 การวิเคราะห์
และประเมินคา่ อย่างเหมาะสมหรือ ประเด็นเป็นสว่ นใหญ่ มี ประเด็นเปน็ บางส่วน มี ไมแ่ สดงเหตผุ ลประกอบ
ข้อมูล
เป็นเหตเุ ปน็ ผล การกาหนดสมมตุ ฐิ าน การกาหนดสมมตุ ิฐาน ไมม่ กี ารกาหนด
4. การตีความและ
สังเคราะห์ อย่างเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ชดั เจน สมมตุ ิฐาน

5. การนาเสนอข้อมลู แสดงหลักฐานขอ้ มูลทาง แสดงหลักฐานขอ้ มลู แสดงหลกั ฐานขอ้ มูลทาง แสดงหลกั ฐานข้อมลู ทาง

ประวตั ศิ าสตร์ในการสบื คน้ ทางประวตั ศิ าสตรใ์ น ประวัติศาสตร์ในการ ประวตั ศิ าสตรใ์ นการ

อย่างหลากหลาย ถูกต้อง การสบื ค้นอยา่ ง สบื คน้ อย่างหลากหลาย สืบค้นอยา่ งหลากหลาย

สมั พนั ธ์กับเรื่องทส่ี บื ค้น หลากหลาย ถกู ต้อง ถกู ตอ้ ง สมั พนั ธ์กบั เรอ่ื งท่ี ถกู ตอ้ ง ไมส่ ัมพันธ์กบั

สมั พันธก์ ับเร่อื งที่สืบค้น สบื คน้ เปน็ บางส่วน เรื่อง

เป็นสว่ นใหญ่ ทีส่ ืบคน้

แสดงการวเิ คราะหห์ ลักฐานท่ี แสดงการวิเคราะห์ แสดงการวเิ คราะห์ แสดงการวิเคราะห์

ปรากฏว่าถูกต้องตามยคุ สมยั หลกั ฐานที่ปรากฏวา่ หลักฐานทปี่ รากฏว่า หลกั ฐานไมเ่ ป็นเหตุผล

อยา่ งมีเหตผุ ล ถกู ตอ้ งตามยคุ สมัย ถกู ต้องตามยุคสมยั ไม่นา่ เช่อื ถอื

อยา่ งมเี หตผุ ลเป็น อย่างมีเหตผุ ลเป็นบางส่วน

สว่ นใหญ่

เขยี นสรุปความสาคัญและความ เขยี นสรปุ ความสาคัญ เขยี นสรุปความสาคัญและ เขยี นสรุปความสาคญั

นา่ เชือ่ ถอื ของหลักฐานอย่างมี และความนา่ เช่ือถอื ของ ความน่าเชอ่ื ถอื ของ และความนา่ เชอ่ื ถือของ

เหตุผลเหมาะสม หลกั ฐานอยา่ งมีเหตุผล หลักฐานอยา่ งมีเหตผุ ล หลักฐาน แต่ไมม่ เี หตผุ ล

เหมาะสมเปน็ ส่วนใหญ่ เหมาะสมเป็นบางสว่ น

เรยี บเรียงข้อมลู จากการสบื คน้ เรยี บเรียงข้อมลู จากการ เรยี บเรยี งขอ้ มูลจากการ เรยี บเรียงข้อมลู จากการ

ได้ใจความถกู ต้อง สมบรู ณ์ สืบค้นได้ใจความถูกตอ้ ง สืบคน้ ได้ใจความถกู ตอ้ ง สืบค้นไมไ่ ดใ้ จความ และ

และตรงตามวตั ถุประสงคห์ รือ คอ่ นข้างสมบูรณ์ และ เปน็ บางสว่ นและตรงตาม ไมต่ รงตามวตั ถุประสงค์

สมมตุ ิฐานทีก่ าหนด ตรงตามวตั ถุประสงค์ วัตถปุ ระสงค์

****************************************************************

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3

1) หนว่ ยการเรียนรู้เรอ่ื ง วิเคราะห์ประเดน็ สาคัญทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4

เวลา 12 คาบ

2) มาตรฐาน / ตวั ชี้วดั

ส 4.3 ม.4-6/1 วิเคราะหป์ ระเด็นสาคญั ของประวตั ิศาสตรไ์ ทย

ม.4-6/2 วเิ คราะห์ความสาคัญของสถาบนั พระมหากษัตริยต์ ่อชาติไทย

3) ความคดิ รวบยอด

การศึกษาประเด็นทางประวตั ิศาสตร์ไทยนอกจากฝึกกระบวนการวเิ คราะห์แล้ว ยงั ทาให้เกิดองคค์ วามรู้

ใหมท่ างประวัตศิ าสตร์ และตระหนกั ถึงความสาคญั ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ต่อชาตไิ ทย

4) สาระการเรยี นรู้

ประเดน็ สาคญั ของประวัติศาสตร์ไทย เช่น

- แนวคิดเกี่ยวกบั ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย

- อาณาจักรโบราณในดนิ แดนไทยและอทิ ธิพลท่ีมตี อ่ สังคมไทย

- ปจั จยั ที่มผี ลต่อการสถาปนา

- อาณาจักรไทยในช่วงเวลาตา่ งๆ

- สาเหตุและผลของการปฏิรปู การปกครองบา้ นเมือง

- การเลิกทาส การเลิกไพร่

- การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองสมัยรัชกาลที่ 5

- การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

- บทบาทของสตรีไทย

5) สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์

ความสามารถในการแก้ปญั หา การใชท้ ักษะชวี ิต

6) คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักความเป็นไทย

มีจติ สาธารณะ

7) ช้นิ งาน / ภาระงาน
 แบบฝึกหดั /ใบงาน
 โครงงานการสบื ค้นประวตั ิศาสตรท์ ้องถนิ่ โดยใชว้ ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์

8) การวดั ผลและประเมนิ ผล
8.1) การประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
- ตรวจแบบฝึกหัด/ใบงาน
- ทดสอบย่อย (อัตนยั )
8.2) การประเมินเม่ือส้ินสดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
- ช้ินงาน/ภาระงาน

9) กจิ กรรมการเรยี นรู้
9.1 ศกึ ษาองค์ความรู้ และฝึกประสบการณ์ความรู้ ได้แก่
- ศกึ ษาเกยี่ วกบั ประวัติศาสตร์ไทย สมัยยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ กาเนดิ ชนชาตไิ ทย
- ศกึ ษาเก่ยี วกับประวัตศิ าสตร์ไทยยุคอาณาจกั รกรุงสุโขทัย กรงุ ศรีอยธุ ยา กรุงธนบุรี
- การศึกษาเกย่ี วกบั ประวัติศาสตรไ์ ทยสมัยรัตนโกสินทร์ จนถึงยคุ เปล่ียนแปลงการปกครอง
- การศกึ ษาเก่ยี วกบั ประวตั ิศาสตร์และสังคมไทยหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
9.2 ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน (แบบฝกึ หดั /ใบงาน)
1. นกั เรยี นรว่ มกันศึกษาและสบื ค้นขอ้ มลู
2. ใบงานที่ 1.1 เรอื่ ง ยอ้ นรอยอดีต
3. ใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง อทิ ธิพลของอาณาจักรโบราณที่มีต่อสงั คมไทย
4. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์พระราชกรณยี กิจของรัชกาลท่ี 5
5. ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง ตาราง KWL Plus Chart
6. ใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
7. ประเมนิ จากการนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น
8. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
9.3 ทดสอบย่อย

10) เวลาเรยี น จานวน 12 คาบ

11) เกณฑก์ ารประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมิน แบบฝกึ หัด ใบงาน แบบทดสอบยอ่ ย (อตั นัย)

ระดบั คะแนน พฤตกิ รรมบ่งช้ี
3 การอธิบายคาตอบ ชัดเจน สมบรู ณ์ คาตอบถูกตอ้ ง ครบถว้ น
2 การอธบิ ายคาตอบ ชัดเจน สมบรู ณ์ แตค่ าตอบไม่ถกู ต้อง หรอื ไม่ครบถว้ น
1 การอธบิ ายคาตอบ ยังไม่ชดั เจนแตอ่ ยู่ในแนวทางท่ีถกู ต้อง คาตอบถูกต้อง
แตไ่ ม่ครบถ้วน
0 การอธบิ ายคาตอบ ไม่อยู่ในแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง คาตอบไม่ถูกตอ้ ง
หรือไม่แสดงคาตอบ

เกณฑ์การตดั สนิ / ระดับคุณภาพ

คะแนน 80% ขึ้นไป คณุ ภาพ ดมี าก

70 - 79% คุณภาพ ดี

50 - 69% คณุ ภาพ พอใช้

0 - 49% คุณภาพ ปรบั ปรุง

เกณฑ์การผ่าน

ไดค้ ะแนนตั้งแต่ 50 % ขึน้ ไป หรือ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ขึ้นไป

********************************************************************************
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4

1) หน่วยการเรียนร้เู รอ่ื ง ผลงานของบุคคลสาคัญในการสร้างสรรค์ชาตไิ ทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 8 คาบ
2) มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

ส 4.3 ม.4-6/4 วเิ คราะห์ผลงานของบคุ คลสาคญั ทั้งชาวไทยและต่างประเทศทม่ี ีส่วนร่วม
สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมไทยและประวัตศิ าสตรไ์ ทย
3) ความคดิ รวบยอด

บุคคลสาคัญท่ีมีส่วนสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมไทยและประวตั ิศาสตรไ์ ทย มีทงั้ ชาวไทยและ
ชาวตา่ งประเทศ ชาวไทยทกุ คนควรศกึ ษาผลงานและยกย่องท่าน และนาไปเป็นแบบอย่างในการ
ปฏบิ ัตติ น
4) สาระการเรียนรู้
ผลงานของบุคคลสาคญั ทงั้ ชาวไทยและต่างประเทศที่มีสว่ นร่วมสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทย

และประวัติศาสตรไ์ ทย เชน่
- พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั
- พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจา้ อยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
- พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนทิ
- สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ์
- หม่อมราโชทัย หรือหม่อมราชวงศก์ ระต่าย อิศรางกรู
- สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ช่วง บนุ นาค)
- บาทหลวงปาเลอกวั ซ์
- หมอบรดั เลย์ ( ดร. แดน บชี บรัดเลย์)
- พระยารัษฎานปุ ระดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง)
- พระยากลั ยาณไมตรี (ดร. ฟรานซิส บี. แซร์)
- ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี5)

และผลงานของบุคคลสาคญั ในท้องถิ่นของนักเรยี น

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์

ความสามารถในการแก้ปญั หา การใชท้ กั ษะชีวิต

6) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น รกั ความเป็นไทย

มีจติ สาธารณะ มวี นิ ยั

7) ชิ้นงาน / ภาระงาน

 แบบฝกึ หดั /ใบงาน

8) การวดั ผลและประเมนิ ผล
8.1) การประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
- ตรวจแบบฝึกหดั /ใบงาน
- ทดสอบย่อย (อตั นยั )
8.2) การประเมินเม่ือส้นิ สุดกิจกรรมการเรยี นรู้
- ชิ้นงาน/ภาระงาน

9) กจิ กรรมการเรียนรู้
9.1 ศกึ ษาองค์ความรู้ และฝกึ ประสบการณ์ความรู้ ไดแ้ ก่
- ศึกษาเกีย่ วกับประวตั ิของบุคคลสาคญั ที่มีสว่ นสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทยและประวตั ิศาสตร์ไทย

มที ั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ชาวไทยทกุ คนควรศึกษาผลงานและยกย่องท่าน และนาไปเป็นแบบอย่าง
ในการปฏิบตั ิตน

- ศึกษาเก่ยี วกบั ประวัติของบุคคลสาคัญท่มี สี ว่ นสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม หรอื พัฒนาทอ้ งถนิ่ ของ
นักเรียน

9.2 ตรวจชน้ิ งาน/ภาระงาน (แบบฝึกหัด/ใบงาน)
1. นักเรยี นร่วมกนั ศึกษาและสบื คน้ ข้อมูล
2. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ประวตั ิและผลงาน (1)
3. ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง ประวัติและผลงาน (2)
4. ใบงานที่ 2.3 เรือ่ ง ประวตั แิ ละผลงาน (3)
5. ประเมนิ จากการนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น
6. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 9.3 ทดสอบยอ่ ย

10) เวลาเรียน จานวน 8 คาบ

11) เกณฑก์ ารประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมิน แบบฝกึ หัด ใบงาน แบบทดสอบยอ่ ย (อตั นัย)

ระดบั คะแนน พฤตกิ รรมบ่งช้ี
3 การอธิบายคาตอบ ชัดเจน สมบรู ณ์ คาตอบถูกตอ้ ง ครบถว้ น
2 การอธบิ ายคาตอบ ชัดเจน สมบรู ณ์ แตค่ าตอบไม่ถกู ต้อง หรอื ไม่ครบถว้ น
1 การอธบิ ายคาตอบ ยังไม่ชดั เจนแตอ่ ยู่ในแนวทางท่ีถกู ต้อง คาตอบถูกต้อง
แตไ่ ม่ครบถ้วน
0 การอธบิ ายคาตอบ ไม่อยู่ในแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง คาตอบไม่ถูกตอ้ ง
หรือไม่แสดงคาตอบ

เกณฑ์การตดั สนิ / ระดับคุณภาพ

คะแนน 80% ขึ้นไป คณุ ภาพ ดมี าก

70 - 79% คุณภาพ ดี

50 - 69% คณุ ภาพ พอใช้

0 - 49% คุณภาพ ปรบั ปรุง

เกณฑ์การผ่าน

ไดค้ ะแนนตั้งแต่ 50 % ขึน้ ไป หรือ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ขึ้นไป

********************************************************************************
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5

1) หนว่ ยการเรยี นรู้เรอ่ื ง การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
เวลา 8 คาบ
2) มาตรฐาน / ตวั ช้ีวัด

ส 4.3 ม.4-6/3 วิเคราะหป์ จั จัยทีส่ ่งเสริมการสร้างสรรค์ภมู ิปญั ญาไทย และวฒั นธรรมไทย
ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคปจั จบุ นั

ม.4-6/5 วางแผนกาหนดแนวทางและการมสี ว่ นรว่ มการอนรุ ักษภ์ มู ิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย
3) ความคิดรวบยอด

วิถกี ารดารงชวี ติ และภมู ปิ ัญญาของคนไทยในแต่ละยุคสมยั มีการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงให้เข้ากับ
สภาพแวดลอ้ ม ซึง่ มีผลตอ่ การสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาไทยและวัฒนธรรมไทย จึงมีความจาเปน็ ทชี่ าวไทย
จะตอ้ งร่วมมอื กนั อนุรักษ์ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย
4) สาระการเรยี นรู้
ปจั จยั สง่ เสริมการสรา้ งสรรค์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาซึ่งมีผลตอ่ สังคมไทยในยุคปัจจุบัน

1. สภาพแวดล้อมที่มผี ลตอ่ การสร้างสรรค์ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทย
2. วิถชี ีวติ ของคนไทยในสมยั ตา่ งๆ
3. การสืบทอดและเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรมไทย
4. แนวทางการอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยและการมีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์
5. วธิ ีการมสี ว่ นร่วมอนุรกั ษ์ภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย
6. บุคคลทส่ี ง่ เสรมิ การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย ซง่ึ มผี ลตอ่ สงั คมไทย

ในปจั จุบนั

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น

ความสามารถในการคิด วิเคราะห์

ความสามารถในการแกป้ ัญหา การใช้ทกั ษะชวี ติ

6) คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน รักความเป็นไทย

มีจติ สาธารณะ มีวนิ ัย

7) ช้ินงาน / ภาระงาน

 แบบฝึกหัด/ใบงาน

8) การวัดผลและประเมินผล
8.1) การประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
- ตรวจแบบฝกึ หัด/ใบงาน
- ทดสอบย่อย (อตั นยั )
8.2) การประเมนิ เม่ือส้นิ สุดกิจกรรมการเรียนรู้
- ชิน้ งาน/ภาระงาน

9) กิจกรรมการเรยี นรู้
9.1 ศึกษาองคค์ วามรู้ และฝึกประสบการณ์ความรู้ ไดแ้ ก่
- ศึกษาเกยี่ วกับ วิถกี ารดารงชวี ติ และภูมปิ ัญญาของคนไทยในแตล่ ะยุคสมยั มีการปรับปรงุ

เปล่ยี นแปลงใหเ้ ข้ากับสภาพแวดล้อม ซึ่งมีผลตอ่ การสรา้ งสรรค์ภมู ิปัญญาไทยและวฒั นธรรมไทย จงึ มีความ
จาเปน็ ท่ชี าวไทยจะต้องร่วมมือกนั อนุรกั ษ์ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทย

9.2 ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน (แบบฝึกหดั /ใบงาน)
1. งานที่ 1.1 เร่อื ง สภาพแวดลอ้ มท่มี ผี ลต่อการสร้างสรรค์
2. ใบงานที่ 1.2 เร่อื ง วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
3. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายในช้นั เรียน
4. นกั เรียนร่วมกนั คดิ วเิ คราะห์ในประเดน็ ที่กาหนด
5. ประเมนิ จากการนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน
6. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน

9.3 ทดสอบยอ่ ย

10) เวลาเรยี น จานวน 8 คาบ

11) เกณฑก์ ารประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมิน แบบฝกึ หัด ใบงาน แบบทดสอบยอ่ ย (อตั นัย)

ระดบั คะแนน พฤตกิ รรมบ่งช้ี
3 การอธบิ ายคาตอบ ชดั เจน สมบรู ณ์ คาตอบถูกตอ้ ง ครบถว้ น
2 การอธบิ ายคาตอบ ชดั เจน สมบรู ณ์ แตค่ าตอบไม่ถกู ต้อง หรอื ไม่ครบถว้ น
1 การอธบิ ายคาตอบ ยังไม่ชดั เจนแตอ่ ยู่ในแนวทางท่ีถกู ต้อง คาตอบถูกต้อง
แตไ่ ม่ครบถ้วน
0 การอธิบายคาตอบ ไม่อยู่ในแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง คาตอบไม่ถูกตอ้ ง
หรือไม่แสดงคาตอบ

เกณฑ์การตดั สนิ / ระดับคุณภาพ

คะแนน 80% ขึ้นไป คุณภาพ ดมี าก

70 - 79% คุณภาพ ดี

50 - 69% คณุ ภาพ พอใช้

0 - 49% คุณภาพ ปรบั ปรุง

เกณฑ์การผ่าน

ไดค้ ะแนนตั้งแต่ 50 % ขึน้ ไป หรือ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ขึ้นไป

การประเมินผลการเรียน

3 31161 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย

ภาคเรียนที่ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4

อัตราส่วนคะแนน ระหว่างภาค : คะแนนปลายภาคเรยี น

70 : 30

ท่ี

ตวั ชวี้ ัด น้าหนักคะแนน

ระหวา่ ง ปลาย รวม

ภาค ภาค

1 เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และมีความตระหนักถงึ ความสาคัญของ 15 - 15

เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรท์ ่แี สดงถงึ

การเปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ

2 สามารถสร้างองคค์ วามรใู้ หม่ทางประวตั ิศาสตรโ์ ดยใช้วิธกี าร 15 - 15

ทางประวัตศิ าสตร์อย่างเป็นระบบได้

3 สามารถวเิ คราะหป์ ระเดน็ สาคญั ของประวตั ิศาสตรไ์ ทย 25 5 30
และความสาคญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ่อชาตไิ ทย

4 สามารถวิเคราะห์ผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและ 10 15 25
ต่างประเทศที่มสี ่วนร่วม สรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมไทยและ
ประวตั ิศาสตรไ์ ทยได้

5 สามารถอธบิ าย วิเคราะห์ปจั จยั ท่ีสง่ เสรมิ การสร้างสรรคภ์ ูมิ 5 10 15
ปัญญาไทย และวัฒนธรรมไทยซง่ึ มีผลต่อสังคมไทยในยุค
ปัจจุบัน
รวม 70 30 100


Click to View FlipBook Version