The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การนําระบบตรวจการณ์เป้าทางทะเล และอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก มาเพิ่มประสิทธิภาพการสืบสวนสอบสวนของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

-

รายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ

การนาํ ระบบตรวจการณเ ปา ทางทะเล และอากาศยานไรค นขบั ขนาดเลก็
มาเพิ่มประสทิ ธภิ าพการสบื สวนสอบสวนของกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ
(Improving Effectiveness of Special Investigation
using VTMS and Mini UAV)

ผวู จิ ยั
นายไกรศรี สวางศรี
สว นแผนทแ่ี ละเทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ
กองเทคโนโลยแี ละศนู ยข อ มูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ

กนั ยายน 2561
สนับสนนุ โดยสาํ นกั งานกิจการยตุ ิธรรม กระทรวงยตุ ธิ รรม

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการวิจัยเรื่อง การนําระบบตรวจการณเปาทางทะเล และอากาศยานไรคนขับขนาดเล็กมาเพ่ิม
ประสิทธิภาพการสืบสวนสอบสวนของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ไดรับการสนับสนุนเงินทุนวิจัยจาก
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (ว.ช.) ผานสํานักกิจการยุติธรรม (สกธ.) กระทรวงยุติธรรม
พ.ศ.2560

(1)

ช่อื โครงการ บทคดั ยอ
การนาํ ระบบตรวจการณเ ปา ทางทะเล และอากาศยานไรขนขบั
ชือ่ นักวิจัย ขนาดเล็กมาเพิม่ ประสิทธิภาพการสบื สวนสอบสวนของ
E-mail กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
นายไกรศรี สวา งศรี
[email protected]

ระยะเวลาโครงการ 1 ตลุ าคม 2559 ถงึ 30 กนั ยายน 2561

โครงการวิจัยนนี้ ําเสนอการนําระบบตรวจการณเปาทางทะเล และอากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก
มาใชรวมกันเพ่ือจุดประสงคในการพัฒนาประสิทธิภาพการสืบสวนสอบสวนของกรมสอบสวนคดีพิเศษ
ในคดอี าชญากรรมที่เกดิ ข้นึ บรเิ วฯชายฝงทะเลไทย อาทิ การลกั ลอบขนนาํ้ มันเถื่อน ลกั ลอบขนสินคาหลบ
เล่ียงภาษี เปนตน เพ่ือใหเจาหนาที่สามารถเก็บขอมูลพฤติกรรมการกระทําความผิดและเขาถึงผูกระทํา
ความผิดไดอยางรวดเร็ว การวิจัยคร้ังนี้ไดนําเทคโนโลยีปองกันประเทศ เรดารตรวจการณเปาทางทะเล
VTMS (Vessel Traffic Monitoring System) ตรวจการณเรือท่ีไมไดจดทะเบียนขอมูลการเดินเรือ และ
อากาศยานไรข นขับขนาดเล็ก รุน Siam UAV โดย sever ของระบบเรดารต รวจการณเปาทางทะเลจะทํา
หนาที่ correlate เปาใหมีความนาเช่อื ถือท่ีสดุ ตลอดเวลารวมทั้งทําการบนั ทึก history ทุกๆ เปาหมายไว
รวมท้ังบันทึกกิจกรรมบนหนาจอไวตลอดเวลา และสามารถ replay เพื่อสรุปการทํางานภายหลัง
เมอื่ เรดารท ําการตรวจสอบเรื่อท่ีมี AIS ID กจ็ ะพบวา เรือบางลําไมมีระบบ AIS เมอ่ื พบเปาหมายก็สามารถ
ติดตามเฝาดูพฤติกรรมการเดินเรือ และเม่ือเรือตองสงสัยมีพฤติกรรมการเดินเรือท่ีผิดปกติจะทําการสง
UAV บินไปเปาหมายเพื่อเก็บภาพอัตลักษณของเรือและสํารวจเรือเปาหมาย เม่ือไดขอมูลอัตลักษณของ
เรอื แลวกจ็ ะนาํ มาวเิ คราะหกบั ฐานขอ มลู เรอื และผูครอบครองทมี่ ีอยู

ผลการวิจัยพบวา สัญญาณเรดารของอุปกรณในระบบสามารถรายงานตําแหนงและขอมูลเรือ
แบบอัตโนมัติ (Automatic Identification System) ของระบบตรวจการณเปาทางทะเล (Vessel
Traffic Management System หรือ VTMS) ท่ีสามารถบันทึกขอมูลตางๆ ของเรือที่ไมสามารถระบชุ นดิ
หรือประเภทได อีกท้ังเมื่อทํางานรวมกับอากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) ซึ่งเปนขนาดพกพา
มีนํ้าหนักเบา กะทัดรัด ตรวจจับไดยาก ปฏิบัติงานไดทั้งกลางวันและกลางคืนจากการติดต้ังกลองวิดีโอ
ในชวงคล่ืนอินฟราเรดเหมาะสําหรับภารกิจการเฝาตรวจเรือผิดกฎหมายและการกระทําการอันผิด
กฎหมายสามารถไปถงึ เปาหมายดวยเวลาอนั รวดเร็วและเกบ็ ภาพอตั ลักษณข องเรือไวได

(2)

Name Abstract

Researcher Improving effectiveness of special investigation using VTMS
E-mail and mini UAV
Mr.Kraisri Sawangsri
[email protected]

Duration 1 October 2559 - 30 September 2561

This research proposes present of a marine surveillance system and small
unmanned aerial vehicles are used together for the purpose of improving the efficiency
of the investigation of the Department of Special Investigation. In case of crime occurring
on the coast of Thailand such as illegal oil smuggling. In order to allow officials to collect
information on offending behavior and reach offenders quickly. This research has
introduced defense technology. VTMS Vessel Traffic Monitoring System (VTMS) The Siam
UAV, a radar-tracking radar system, is the most reliable correlation target. It records every
target and logs on-screen activity at all times.They can report of summarize later. When a
radar detector with AIS ID is found, some ships do not have AIS. When the target is
detected, it can monitor the navigational behavior. When the boat is suspected of having
abnormal navigational behavior, UAV will be sent to the target to capture the identity of
the ship and explore the target ship. Once the ship identity information has been obtained,
it will be analyzed with the existing ship and occupant database.

The research found that the radar system of the device can report the location
and automatic identification of the Vessel Traffic Management System (VTMS). Of a vessel
that can not identified type of ship.When they working with small, portable UAV,it's
lightweight, compact and easy to detect. Every time operation by installing infrared video
cameras for unmanned cruise missions and illegal actions can reach targets in a short time
and capture the identity of the ship.

(3)

สารบัญ หนา
กิตตกิ รรมประกาศ (1)
บทคัดยอ ภาษาไทย (2)
บทคดั ยอภาษาองั กฤษ (3)
สารบัญ (4)
สารบัญตาราง (6)
สารบัญรูป (7)
บทที่ 1 บทนํา 1
1
1.1 ความเปนมาและความสําคญั ของปญ หา 4
1.2 วตั ถปุ ระสงคของโครงการวิจัย 4
1.3 ขอบเขตงานวิจยั 4
1.4 ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั 5
1.5 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 6
1.6 นิยามศพั ทสาํ หรบั การวจิ ยั 8
1.7 ระยะเวลาดาํ เนินการวจิ ยั 9
1.8 งบประมาณของโครงการวิจยั 10
บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกยี่ วของ 10
2.1 แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กีย่ วขอ ง 10
10
2.1.1 แนวคิดการวจิ ัยเชงิ ทดลอง 12
2.1.2 อํานาจหนา ที่และภารกิจของกรมสอบสวนคดพี ิเศษ 12
2.1.3 การรวบรวมพยานหลกั ฐาน 17
2.1.4 อากาศยานไรคนขับ 18
2.1.5 ระบบเรดาร 23
2.1.6 ภาพถายทางอากาศ 29
2.1.7 ความมน่ั คงและความสงบเรียบรอยทางทะเล 41
2.1.8 กฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการกระทําความผิดทางทะเล 41
2.2 งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวของ 42
2.2.1 การประยกุ ตแ ละผลการใชระบบตรวจการณเปา ทางทะเล (VTMS) หรอื 43

ระบบที่คลายกันในการตรวจการณกจิ กรรมผิดกฎหมาย หรอื
การขนถายนํา้ มนั เถอื่ น
2.2.2 การประยกุ ตและผลการใชอากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) หรือ
ระบบทค่ี ลายกนั ในการเฝาตรวจกิจกรรมผิดกฎหมาย หรือ
การขนถา ยนาํ้ มันเถื่อน
2.2.3 การประยกุ ตและผลการใชร ะบบรายงานตําแหนง และขอมลู เรืออตั โนมตั ิ
(Automatic Identification System)

(4)

2.2.4 การประยกุ ตและผลการใชโ ปรแกรม Socet GXP หรอื โปรแกรมที่คลายกนั 43
ในการวเิ คราะหเพ่อื ระบุกิจกรรมผิดกฎหมาย หรือการขนถายน้าํ มนั เถ่อื น 44
44
2.2.5 การใชอากาศยานไรคนขบั ในการสบื สวนสอบสวนอาชญากรรม 44
2.2.6 The use of an unmanned aerial vehicle (UAV) to investigate 45
46
aspects of honey bee drone congregation areas (DCAs) 46
2.2.7 UAVs Bring New Dimension in Crime Scene Investigation 46
2.2.8 การทดสอบโครงการ 46
บทที่ 3 วธิ ีการดําเนนิ การวจิ ยั 49
3.1 การรวบรวมขอ มูล 50
3.1.1 พนื้ ทศี่ กึ ษา 50
3.1.2 เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการศกึ ษา 54
3.2 การวิเคราะหขอมูล 64
บทท่ี 4 ผลการวิจัย 64
4.1 ผลการประชุมเชิงวชิ าการ 66
4.2 ผลการทดสอบระบบตรวจเปาทางทะเลและอากาศยานไรค นขับในการเกบ็ รวบรวม 67
พยานหลกั ฐานบริเวณทีเ่ รอื แหลมฉบงั 69
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ยั
5.1 สรุปผลการวจิ ัย
5.2 ขอเสนอแนะ
เอกสารอา งอิง
ประวตั ิคณะวจิ ยั

((54))

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

ภาพที่ 1.1 รปู แสดงเหตุการณก ารจับกมุ เรือประมงลักลอบคาน้าํ มันเถอื่ น 1
ภาพท่ี 1.2 กรมสอบสวนคดพี เิ ศษและสถาบันเทคโนโลยปี อ งกันประเทศ (องคก ารมหาชน) 2
ภาพท่ี 1.3 ลงนามบนั ทึกความเขา ใจรว มกันดําเนนิ งานวจิ ยั และพัฒนาดา นการประยกุ ตใชเทคโนโลยี 3
ภาพที่ 1.4 การทดสอบใชร ะบบตรวจการณเ ปา ทางทะเล 5
ภาพที่ 2.1 (Vessel Traffic Management System หรือ VTMS) รวมกับอากาศยานไรคนขบั 19
ภาพที่ 2.2 แสดงรูปแบบการนาํ ผลสมั ฤทธจิ์ ากการวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีปองกนั ประเทศ 19
ภาพท่ี 2.3 พฒั นาเพ่ือใชง านในภารกจิ ดา นการสอบสวนคดพี ิเศษ 20
ภาพที่ 2.4 แสดงคาพารามิเตอรท ี่จําเปนสําหรับใชคํานวณคา พกิ ัดพืน้ ผิวดว ยสมาการสภาวะรว มเสน 20
ภาพท่ี 2.5 แสดงระบบพกิ ัดบนภาพถา ย 21
ภาพท่ี 2.6 ความสัมพันธระหวางตาํ แหนงจดุ รวมแสงของเซ็นเซอร, พกิ ดั บนภาพถา ยและ 22
ภาพท่ี 2.7 พิกดั พน้ื ผิวโลก 22
ภาพที่ 2.8 สมการคํานวณพิกัดบนภาพถายหาตาํ แหนงของวตั ถภุ ายในภาพ 23
ภาพท่ี 3.1 สมการคํานวณพิกัดบนภาพถายหาการหมุนรอบแกน x , y และ z 46
ตัวอยางภาพถา ยทใ่ี ชง านในโปรแกรม SocetGxp
ภาพท่ี 3.2 ตัวอยา งภาพถายท่ใี ชงานในโปรแกรม SocetGxp แบบแสดงพิกัดสามารถทําการวัดระยะ 49
ภาพที่ 3.3 ตวั อยา งภาพถายทีใ่ ชง านในโปรแกรม SocetGxp รวมกบั โปรแกรม Google 51
ภาพท่ี 4.1 พ้ืนที่ศกึ ษา ในการศกึ ษาโครงการวจิ ยั การนาํ ระบบตรวจการณเปา ทางทะเล 52
และอากาศยานไรคนขับขนาดเลก็ มาเพิม่ ประสิทธิภาพการสืบสวนสอบสวน
ภาพท่ี 4.2 ของกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ 53
ภาพท่ี 4.3 ระบบตรวจการณเปาทะเล VTMS (Vessel Traffic Monitoring system) 53
ภาพที่ 4.4 ระบบเรดารชายฝง ของกรมเจาทา ณ อาคารควบคุมสมทุ รเขต ทา เรือแหลมฉบงั 53
การอภิปรายในหวั ขอ “โครงการวจิ ัยการนําระบบตรวจการณเ ปาทางทะเล
และอากาศยานไรคนขับขนาดเล็กมาเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการสืบสวนสอบสวน
ของกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ” ณ โรงแรมแฟรเท็กซ สปอรตคลับ แอนด โฮเต็ล พัทยา
เขาศึกษาดงู านกรมเจาทา เร่อื งระบบควบคุมจราจรทางน้ํา ณ อาคารควบคุมสมุทรเขต
ทา เรือแหลมฉบงั
เขาศึกษาดงู านกรมเจาทา เร่ืองระบบควบคุมจราจรทางนํ้า ณ อาคารควบคมุ สมุทรเขต
ทาเรอื แหลมฉบงั
เขา ศกึ ษาดงู านกรมเจาทา เรื่องระบบควบคมุ จราจรทางนํ้า ณ อาคารควบคมุ สมทุ รเขต
ทา เรือแหลมฉบัง

(7)

สารบัญภาพ (ตอ )

หนา

ภาพท่ี 4.5 เจาหนา ทค่ี ดพี เิ ศษนาํ อากาศยานไรค นขับขนาดเลก็ ทดสอบบนิ บรเิ วณเหนือชายฝง 53
ทะเลตะวนั ออกเพอ่ื สาํ รวจเรอื ขนสงสินคาตามเรดาหของกรมเจา ทา ทตี่ รวจจบั ได 55
55
ภาพที่ 4.6 การอภิปรายโดย เจาหนาท่ขี องกรมสอบสวนคดพี ิเศษ และ 56
เจา หนา ทจี่ ากสถาบันเทคโนโลยีปองกนั ประเทศ 57
57
ภาพท่ี 4.7 สาํ รวจและทําความเขา ใจเกีย่ วกับอปุ กรณรถเรดารเบ้ืองตน
ภาพท่ี 4.8 คณะนักกวจิ ยั สาํ รวจและทาํ ความเขาใจเกย่ี วกบั อุปกรณรถเรดารเบ้อื งตน 58
ภาพท่ี 4.9 คณะนกั วิจยั ประกอบดว ย เจาหนาทีก่ รมสอบสวนคดพี เิ ศษ
58
เจา หนา ท่สี ถาบนั เทคโนโลยีปองกันประเทศวางแผนการทดลอง 59
ภาพท่ี 4.10 คณะนกั วจิ ัยประกอบดว ย เจาหนา ทก่ี รมสอบสวนคดีพเิ ศษ 60
60
เจา หนา ทีส่ ถาบนั เทคโนโลยีปองกนั ประเทศวางแผนการทดลอง 61
ใชอ ากาศยานไรค นขับรวมกับระบบตรวจการณ 61
ภาพที่ 4.11 คณะนกั วิจยั ประกอบดว ย เจา หนา ท่กี รมสอบสวนคดพี เิ ศษ 62
เจา หนา ที่สถาบนั เทคโนโลยปี อ งกันประเทศสรปุ ผลการทดลอง 62
ใชอากาศยานไรคนขับรว มกบั ระบบตรวจการณ
ภาพท่ี 4.12 แสดงระบบ VTMS จากภายนอก
ภาพท่ี 4.13 รูปแสดง Video Extractor Radar ภาพรวมในลกั ษณะของหนาจอ PPI
(Plan Position Indicator)
ภาพที่ 4.14 รูปแสดง Video Extractor Radar แสดงเปาหมายที่มี AIS และไมมี AIS
ภาพท่ี 4.15 แสดงแผนที่ระบบ AIS (สามเหลีย่ ม Target จากระบบ AIS, วงกลม Target
จากระบบเรดาร)
ภาพท่ี 4.16 แสดงแผนท่ีระบบ AIS เปาหมายเรือทม่ี ี AIS ID และเรือทไี่ มม ีระบบ AIS
ท่ถี ูกตรวจพบจากระบบ Radar
ภาพที่ 4.17 การอภิปรายสรปุ นําโดย พันตาํ รวจตรี ณฐพล ดิษยธรรม
ผเู ชีย่ วชาญเฉพาะดานคดคี มุ ครองผูบ รโิ ภคและสิง่ แวดลอม
ภาพท่ี 4.18 คณะนกั วจิ ยั ประกอบดว ย เจา หนา ทีก่ รมสอบสวนคดพี ิเศษ เจาหนา ทส่ี ถาบัน
เทคโนโลยปี องกันประเทศทดลองระบบเรดารร ถตรวจการณ
ภาพที่ 4.19 คณะนักวิจยั ประกอบดว ย เจา หนา ท่กี รมสอบสวนคดีพิเศษ เจา หนา ทส่ี ถาบัน
เทคโนโลยปี องกนั ประเทศทดลองใชอ ากาศยานไรค นขบั บินไปตามเปา ที่ปรากฏ
บนระบบเรดารรถตรวจการณ

(87)

ตารางท่ี สารบัญตาราง หนา
1 ตารางแสดงระยะเวลาที่ทําการวจิ ัยตั้งแต 1 ตุลาคม 2559 ถึง 8
2 30 กันยายน 2561 ระยะเวลา 24 เดอื น (งบประมาณ 2560 - 2561) 9
ตารางแสดงงบประมาณการวิจยั การนาํ ระบบตรวจการณเ ปาทางทะเล
และอากาศยานไรคนขบั ขนาดเลก็ มาเพิ่มประสทิ ธิภาพการสบื สวนสอบสวน
ของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

(6)

บทท่ี 1
บทนาํ

1.1 ความเปน มาและความสาํ คญั ของปญ หา
กรมสอบสวนคดีพิเศษ มีอํานาจหนาท่ีในการปองกัน การปราบปราม การสืบสวนและ

สอบสวนคดีความผิดทางอาญาท่ีตองดําเนินการสืบสวนและสอบสวนโดยใชวิธีการพิเศษตาม
พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 ซ่ึงมีความผิดท่ีตองดําเนินการตามพระราชบัญญัติ
จํานวน 41 ฉบับ ในการศกึ ษาวจิ ัยครั้งนี้ตองการศึกษาถึงอาชญากรรมท่ีเกิดขึ้นในบริเวณชายฝงทะเล
ไทย โดยเฉพาะพื้นท่ีทางทะเลในอาวไทยซ่ึงเปนพ้ืนที่ท่ีมีสถิติการเกิดอาชญากรรมสงู อาทิเชน การใช
เรือประมงดัดแปลงลักลอบนํานํ้ามันเถื่อน การลักลอบคายาเสพติด การลักลอบคามนุษย และ
การลักลอบนําสินคาเถื่อนเขาประเทศ ซึ่งลุกลามมาจากประเทศเพื่อนบาน เปนตน ตัวอยางสถิติ
การลักลอบน้ําเขาน้ํามันเถ่ือนซึ่งสถิติในรอบปงบประมาณ 2559 กรมศุลกากรไดจับกุมเรือบรรทุก
นํ้ามันเถ่ือนไดเปนจํานวน 5 ลํา ปริมาณนํ้ามัน 268,000 ลิตร คิดเปนมูลคา 50,000,000 บาท และ
การลักลอบนําน้ํามันเถ่ือนเขามามีแนวโนมขยายตัวมากยง่ิ ขึ้น เนื่องจากราคานํ้ามันที่มีการขยับตัวขึ้น
อยางตอเนื่อง และมูลเหตุจูงใจสําคัญจากราคาท่ีแตกตางกัน โดยนํ้ามันเบนซินและดีเซลในประเทศ
มาเลเซียและในประเทศไทยมีความแตกตางกันคอนขางมาก และการลักลอบนําเขามาทางทะเลจะ
ทาํ ใหราคาถกู ลงมาก การลักลอบนําเขา น้ํามันเถื่อนทางทะเลมเี รอื บรรทุกนํา้ มันขนาดใหญลักลอบขน
น้ํามันเขามาจอดในนานน้ําสากล จากน้ันจะมีเรือประมงดัดแปลงใชเปนเรือขนถายน้ํามันเขามาสู
บรเิ วณชายฝงทะเลอา วไทยไปเพื่อนําไปขายตอใหกับลูกคา ทาํ ใหเกดิ ผลกระทบเสียหายโดยตรงตอทั้ง
ภาครัฐและเอกชน โดยรัฐสูญเสียรายไดจากการเก็บภาษีสรรพสามิตและเทศบาล อากรขาเขา และ
เงินเรียกเก็บเขากองทุน ซึ่งประมาณการสูญเสียภาครัฐปละ 6,000 ลานบาท อีกท้ังผูคานํ้ามันและ
ผูประกอบกิจการสถานีบริการที่สุจริต สูญเสียโอกาสทําการคาเน่ืองจากถูกแยงสวนแบงการตลาด
โดยไมเ ปนธรรม ประชาชนผูใชน ้าํ มันไดร บั ผลกระทบจากการใชน ํา้ มันที่ไมไดม าตรฐาน

ภาพท่ี 1.1 รปู แสดงเหตุการณการจบั กุมเรอื ประมงลกั ลอบคานาํ้ มนั เถ่อื น
1

การปฏิบัติภารกิจของเจาหนาที่ศูนยปฏิบัติการคดีพิเศษภาคของกรมสอบสวนคดีพิเศษที่มี
ความรับผิดชอบในพ้ืนท่ีจังหวัดบริเวณชายฝงทะเลอาวไทยไดแก สํานักงานปฏิบัติการพิเศษภาค 2
และภาค 8 ไดใชเจาหนาท่ีในการเฝาตรวจการขนถายน้ํามันเถ่ือนโดยใชขอมูลจากแหลงขาวกรองท่ี
ไวใจได อยางไรก็ตามเรือตองสงสัยในการทํากิจกรรมเถ่ือนนนั้ ๆ อาจปะปนอยกู ับเรอื ปะมง ซึ่งหากไม
มีแหลงขาวที่ถูกตองและทันทวงทีแลวจะเปนเรื่องยากในการเลือกเรือในการเฝาสังเกตกิจกรรมเถ่ือน
ท่ีอาจนําไปสูการจับกุมได ทั้งน้ีตองทําการฝงตัวในพ้ืนที่ที่มีการขนถาย ซึ่งบางคร้ังไมสามารถเขาไป
ใกลกับสถานท่ีขนถายได กอปรกับในบางคร้ังการทํากิจกรรมดังกลาวอยูในชวงกลางคืนซึ่งยากตอ
การบันทึกภาพไวเปนหลักฐานในการดําเนินคดี แหลงขอมูลและขาวกรองท่ีมีอาจยากท่ีจะทราบไดวา
เรือลําน้ันจดทะเบียนถูกตองหรือไม และกิจกรรมท่ีกระทําอยูบนเรือถูกกฎหมายกระทําการอยางอื่น
ท่ีไมไดขออนุญาตไวอยางถูกตองตามกฎหมายหากเจาหนาท่ีมีอุปกรณท่ีสามารถบันทึกภาพสิ่งของ
ท่ีขนถายไดไมคมชัดเนื่องจากปญหาระยะทางท่ีอยูไกลเกินหรือมีแสงสวางอยางเพียงพอ อาจไม
สามารถระบุไดวาส่ิงของเหลาน้ันเปนสิ่งผิดกฎหมายหรือไม หรือการกระทําดังกลาวเปนสิ่งผิด
กฎหมายและใครกําลังกระทํากิจกรรมนั้นๆ ตรงตามขาวกรองท่ีรับรายงานมาจากแหลงขาวกรอง
หรือไมนั่นคือการใชคนในการตรวจการณเพื่อรวบรวมหลักฐานแลวนําไปสูการจับกุมถึงแมจะทําได
อยางรัดกุมตามขีดความสามารถและทักษะการฝกฝน แตก็จะกระทําไดอยางจํากัดในการเฝาตรวจ
เนื่องจากขอจํากัดในทางกายภาพ เชน กลางวัน/กลางคืน การมองเห็น การระบุวัตถุการขาดวัตถุ
พยานขณะทีผ่ กู ระทาํ ความผดิ กําลังดาํ เนินการอยูเ ปนตน

ภาพท่ี 1.2 กรมสอบสวนคดีพเิ ศษและสถาบันเทคโนโลยปี องกันประเทศ (องคการมหาชน) ไดล งนาม
บนั ทึกความเขา ใจรว มกันดาํ เนินงานวจิ ัยและพัฒนาดานการประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยี

กรมสอบสวนคดีพิเศษและสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) ไดลงนาม
บันทึกความเขาใจกันเม่ือวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2558 ใหทั้งสองฝายรวมกันดําเนินงานวิจัยและ
พฒั นาดานการประยุกตใ ชเ ทคโนโลยปี องกันประเทศ รวมกนั จัดหาและสนบั สนุนทรพั ยากรสําหรบั ใช
ในการดําเนินงานวิจัยและพัฒนาดา นการประยุกตใ ชเทคโนโลยีปองกันประเทศ เพื่อสนบั สนุนภารกิจ
ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ท้ังน้ีสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) เปนหนวย
งานวิจัยและพฒั นาระบบอาวุธเพอื่ ภารกิจการปอ งกนั ประเทศ ในกระบวนการวจิ ัยและพัฒนาไดมกี าร
จั ด ห า ค รุ ภั ณ ฑ ง า น วิ จั ย ที่ ส า ม า ร ถ นํ า ม า ป ร ะ ยุ ก ต ใช ใน ภ า ร กิ จ ข อ ง ก ร ม ส อ บ ส ว น ค ดี พิ เศ ษ ไ ด

2

หลากหลายชนิด ซ่ึงเปนไปตามกรอบการทํางานรวมระหวางสองสถาบันที่กอใหเกิดการ
บูรณาการงบประมาณ บุคลากร และวัสดุอุปกรณ อยางไรก็ตามแนวทางการบูรณาการจะไมเปน
การจํากดั การปฏิบัติภารกิจของหนวยงาน เปนเพียงการบูรณาการทรัพยากรตา งๆ ดังกลาวเพือ่ พิสจู น
แนวคิดการประยุกตใชเทคโนโลยีปองกันประเทศกับภารกิจของกรมสอบสวนคดพี ิเศษได หลงั จากน้ัน
เปนการนําผลนวัตกรรมการประยุกตใชเทคโนโลยีและแนวทางปฏิบัติท่ีไดไปปรับใชกับการปฏิบัติ
ภารกิจทางดานการสอบสวนคดีพิเศษ ท้ังน้ีสอดคลองกับยุทธศาสตรการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวน
การยุติธรรม พ.ศ.2558-2561 ขอท่ี 1 ของกระทรวงยุติธรรมที่มุงเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวน
การยุติธรรม น่ันคือการทดสอบและประเมินผลเทคโนโลยีปองกันประเทศตามหลักการและความ
ถูกตองทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและเม่ือนําไปประยุกตใชกับการสอบสวนคดีพิเศษแลวจะทํา
ใหก ระบวนการเปน ไปอยางยตุ ธิ รรมสอดคลองกบั ยุทธศาสตรด งั กลา ว

ภาพที่ 1.3 การทดสอบใชร ะบบตรวจการณเ ปา ทางทะเล (Vessel Traffic Management System
หรือ VTMS) รว มกบั อากาศยานไรค นขบั

ในการรวบรวมพยานหลักฐานของกรมสอบสวนคดีพิเศษ สามารถนําครุภัณฑและวัสดุ
อุปกรณทางดานเทคโนโลยีปองกันประเทศมาประยุกตใชในการรวบรวมหลักฐานดานการระบุรับสง
และแสดงตําแหนงรวมถึงขอมูลตางๆ ของเรือที่เดินเรือเขาออกยังพ้ืนในแนวชายฝงทะเล ซ่ึงตองให
เจาหนาที่ของกรมสอบสวนคดีพิเศษเฝาสังเกตการณและนําขาวกรองเขามาชวยในการรวบรวม
หลักฐานน้ัน สามารถศึกษาหาแนวทางการแกปญหาไดจากสัญญาณเรดารของอุปกรณในระบบ
รายงานตําแหนงและขอมูลเรืออัตโนมัติ (Automatic Identification System) ของระบบตรวจ
การณเปาทางทะเล (Vessel Traffic Management System หรือ VTMS)ที่สามารถบันทึกขอมูล
ตางๆ ของเรือที่ไมสามารถระบุชนิดหรือประเภทได เน่ืองจากไมมีขอมูล AIS หรือแผนการเดินเรือ
สามารถนํามาใชเปนอางอิงหรือนํามาวิเคราะหยอนหลังเปนหลักฐานในการดําเนินคดีได อีกท้ังเม่ือ
ทํางานรวมกับอากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) ซึ่งเปนขนาดพกพามีน้ําหนักเบา กะทัดรัด
ตรวจจับไดยาก สามารถถอดชิ้นสวนเก็บในกระเปาสัมภาระสะพายหลัง และว่ิงขึ้นลงโดยการปลอย
ดว ยมอื ไมตองใชสนามบิน ปฏบิ ัติงานไดท ้ังกลางวันและกลางคืนเน่ืองจากตดิ ตัง้ กลองวิดโี อในชวงคลื่น
อินฟราเรดเหมาะสําหรับภารกิจการเฝาตรวจเรือผิดกฎหมายและการกระทําการอันผิดกฎหมาย
เนื่องจากการวางแผนและกําหนดการบินสามารถใหกลองบันทึกภาพเคลื่อนไหวจากตําแหนงท่ีไดรับ
จาก VTMS และขอมูลภาพวิดีโอแบบเคล่ือนไหวท่ีไดสามารถนําไปวิเคราะหไดในโปรแกรม SOCET
GXP ซึ่งเปนโปรแกรมลขิ สิทธ์ิของสถาบนั เทคโนโลยปี องกันประเทศ (องคก ารมหาชน)

3

1.2 วตั ถุประสงคข องโครงการวจิ ยั
1.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยีเรดารตรวจการณเปาทะเล เทคโนโลยี

ยานไรคนขบั ขนาดเล็ก และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ในการสบื สวนสอบสวนคดีพิเศษ
1.2.2 เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของแนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยีเรดารตรวจการณ

เปาทะเล เทคโนโลยียานไรคนขับขนาดเล็กและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ท่ีพัฒนาขึ้น
ในการสืบสวนสอบสวนคดีพเิ ศษ
1.3 ขอบเขตงานวิจัย

1.3.1 พ้ืนที่ศึกษาเพ่ือการวิจัยนํารองน้ีเปนไปตามกําหนดของศูนยปฏิบัติการคดีพิเศษภาค 2
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ เทา นนั้

1.3.2 เรือเขาออกชายฝงจะจํากัดเฉพาะพื้นท่ีศึกษาและหวงเวลาในการศึกษาท่ีจะกําหนด
รวมกันระหวางนักวิจัยรว มของกรมสอบสวนคดีพิเศษและสถาบนั เทคโนโลยีปองกนั ประเทศ (องคก าร
มหาชน) เทา นั้น

1.3.3 ระบบตรวจการณเปาทางทะเลเปนระบบที่มีคุณลักษณะเฉพาะและขีดความสามารถ
ของระบบทมี่ ใี ชง านในสถาบันเทคโนโลยปี องกนั ประเทศ (องคการมหาชน) เทา นนั้

1.3.4 อากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) เปนระบบท่ีมีคุณลักษณะเฉพาะและขีด
ความสามารถ ทมี่ ใี ชง านในสถาบันเทคโนโลยปี อ งกันประเทศ (องคก ารมหาชน) เทาน้นั

1.3.5 สัมภาระบรรทุกบนอากาศยานไรคนขับขนาดเล็กเปนอุปกรณท่ีมุงเนนเฉพาะการ
ตรวจจบั สญั ญาณ/ภาพถาย/วิดโี อเพ่อื ภารกจิ การลกั ลอบขนถายนาํ้ มนั เถอื่ นเทานัน้
1.4 ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดรบั

1.4.1 องคความรูและความชํานาญ ในการนําเทคโนโลยีเรดารตรวจการณเปาทางทะเลหรือ
ระบบ VTMS ซึ่งเปนเทคโนโลยีการสื่อสารทางดานการปองกันประเทศ มาประยุกตสําหรับตรวจการณ
เรือไมสามารถระบุชนิดหรือประเภทเนื่องจากไมมีขอมูล AIS หรือแผนการเดินเรืออันจะนําไปสู
การเฝาตรวจและตรวจจับเพื่อรวบรวมหลักฐานในการดําเนินคดีพิเศษเปนประโยชนโดยตรงตอ
การเพมิ่ ประสิทธิภาพของกระบวนการยตุ ิธรรม

1.4.2 องคความรูและความชํานาญ จากการประยุกตใชเทคโนโลยียานไรคนขับขนาดเล็กใน
การเฝาตรวจและเฝาสังเกตพฤติกรรมหรือกิจกรรมท่ีผิดกฎหมาย โดยอาศัยขีดความสามารถใน
การเฝาตรวจไดท้ังกลางวันและกลางคืนซึ่งเปนเพ่ือการสอบสวนคดีพิเศษและใชเปนหลักฐาน
ดําเนินการตามกฎหมายไดจริง สอดคลองกับยุทธศาสตรขับเคล่ือนงานวิจัยเพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ
ท้ังนี้มีการกําหนดความสําคัญของปญหาที่จะทําการวิจัยใหสอดคลองกับความตองการของศูนย
ปฏบิ ัติการคดพี ิเศษภาคตะวันออกต้งั แตตน

1.4.3 การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในกระบวนการยุติธรรมของ
กรมสอบสวนคดีพิเศษท่ีเกิดจากการเช่ือมโยงระบบเรดารตรวจการณเปาทางทะเลและระบบอากาศ
ยานไรคนขับขนาดเล็ก ซ่ึงจะไดขอมูลและขาวกรองจากการกระทําการผิดกฎหมายขณะเวลาจริงไป
ทําการวิเคราะหดวยอุปกรณการวิเคราะหภาพวิดีโอที่ทันสมัย ทําใหขอตกลงใจและพยานหลักฐาน
ทีไ่ ดมคี วามนา เชื่อถือ เปน การพฒั นากระบวนการสืบสวนสอบสวนตามคณุ ภาพงานวจิ ัยมกี ารพัฒนา

1.4.4 กรมสอบสวนคดีพิเศษ สามารถจัดหาวัสดุและอปุ กรณในลักษณะเดยี วกับที่นํามาสาธิต
ในการวิจัยเพ่ือนําไปขยายผลในการปฏิบัติภารกิจการสืบสวนสอบสวนได ท้ังน้ีเพื่อใหการรวบรวม

4

หลักฐานสามารถนําไปสูการจับกุมโดยข้ันตอนและกระบวนการที่ผานระเบียบวิธีวิจัยมาอยางถูกตอง
แลว ซ่งึ สอดคลองกบั แนวทางการวิจัยของกระทรวงยุติธรรมในการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยแี ละ
ระบบสารสนเทศในกระบวนการยตุ ธิ รรมและขับเคลื่อนงานวิจัยไปสภู าคปฏบิ ัติ

1.4.5 เปนการสง เสริมใหนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ประกอบดวยระบบ VTMS
อากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก และการวิเคราะหภาพถาย/วิดีโอ ไปพัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติภารกิจ
ตรวจการณและเฝาตรวจ เพ่ือรวบรวมพยานหลักฐานสําหรับการเขาจับกุมของศูนยปฏิบัติการ
ค ดี พิ เศ ษ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก ซึ่ ง จ ะ ช ว ย ล ด ค ว า ม เส่ี ย งข อ ง เจ า ห น า ท่ี ใน ข ณ ะ ท่ี เพ่ิ ม ค ว า ม แ ม น ยํ า
ในการรวบรวมพยานหลักฐาน เนื่องระเบียบวิธีวิจัยกําหนดวิเคราะหผลการวิจัยอยางถูกตองและ
เปนไปตามหลักการ เปนเหตุใหเช่ือไดว าพยานหลักฐานท่รี วบรวมไดจากเทคโนโลยีสามารถนําไปเปน
พยานในช้ันศาลได

1.4.6 แนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยเี รดารตรวจการณเปาทะเล เทคโนโลยียานไรคนขับ
ขนาดเล็ก และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ จะสามารถ
นําไปประยุกตใชในพ้ืนท่ีอื่นที่อยูในความรับผิดชอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ เชน อาวไทย และ
ชายฝง แมนา้ํ โขง เปนตนได ทงั้ น้ีเม่ือไดข อ มูลเชงิ ปริมาณจากประสทิ ธิภาพของแนวทางการประยุกตใช
เทคโนโลยีเรดารตรวจการณเปาทะเล เทคโนโลยียานไรคนขับขนาดเล็ก และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ท่ีเพ่ิมข้ึนแลว จะสามารถนําไปพัฒนาในการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษในพ้ืนที่
ดังกลา วไดต อ ไป
1.5 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

1.5.1 การประยุกตใชเทคโนโลยีปองกันประเทศประกอบดวย เรดารตรวจการณเปาทาง
ทะเลเพื่อการตรวจการณเรือที่ไมมีทะเบียนขอมูลการเดินเรอื และเขาขายการทํากิจกรรมผดิ กฎหมาย
อากาศยานไรคนขับขนาดเลก็ และสัมภาระบรรทุกอปุ กรณเพื่อการเฝาตรวจกิจกรรมผิดกฎหมาย และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการวเิ คราะหและประมวลผลขอ มลู หาหลักฐานในกระบวนการยุตธิ รรม

1.5.2 การฝกอบรมเทคโนโลยีปองกันประเทศเพื่อปรับกระบวนทศั นขององคความรูทางดาน
การปอ งกนั ประเทศเปนกระบวนทศั นทางดานความมนั่ คงภายในประเทศ

1.5.3 การนําองคความรูไปปฏิบัติในศูนยปฏิบัติการคดีพิเศษภาค ๒ ทั้งน้ีอยูในกรอบภารกิจ
การปฏิบัติของเจาหนาที่ทั้งน้ีเพื่อพิสูจนใหเห็นถึงความเหมาะสมในการนําองคความรูมาปรับใชใน
ภารกจิ จรงิ

ภาพที่ 1.4 แสดงรูปแบบการนําผลสัมฤทธจิ์ ากการวจิ5ยั ของสถาบนั เทคโนโลยีปองกันประเทศพฒั นาเพื่อใชง าน
ในภารกิจดานการสอบสวนคดพี ิเศษ 5

1.6 นยิ ามศพั ทส าํ หรบั การวจิ ยั
1.6.1 ระบบตรวจการณเปาทางทะเล (Vessels Traffic Monitoring System หรือ VTMS)

เปนระบบที่ใชในการเฝาดูและควบคุมการจราจรทางน้ําภายในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ เชน ชายฝง เกาะ
เปนตน ท้ังเปนระบบเพื่อการเตือนภัยและรักษาความปลอดภัยใหแกการเดินเรือประเภทตางๆ
โดยระบบสามารถรับสงและแสดงตําแหนงรวมถึงขอมูลตางๆ ของเรือท่ีเดินเรือเขามายังพ้ืนท่ี
รับผิดชอบในแนวชายฝงทะเล จากสัญญาณจากเรดารและ/หรืออุปกรณในระบบรายงานตําแหนง
และขอมูลเรืออัตโนมัติ (AIS) ระบบ VTMS ยังสามารถบันทึกขอมูลตางๆ เพ่ือเปนขอมูลอางอิง หรือ
นาํ กลับมาวิเคราะหย อนกลบั ได

1.6.2 อากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) เปนอากาศยานขนาดพกพาที่ตรวจจับได
ยาก สามารถถอดช้ินสวนเก็บในกระเปาสัมภาระสะพายหลัง สามารถว่ิงขึ้นลงโดยไมตองใชสนามบิน
ปฏิบัติการไดท้ังกลางวันและกลางคืน สรางจากวสั ดุผสม Carbon Fiber มีความแข็งแรงและน้ําหนัก
เบา ระยะกางปกระหวาง 1.5 และ 2.3 เมตร ความยาวตลอดลําตัว 1.5 เมตร ความกวางของ
โครงสรางสวนลําตัว 0.25 เมตร น้ําหนัก 3 กิโลกรัม โครงสรางของอุปกรณการภาพสรางจากวัสดุ
ผสม Carbon Fiber สามารถบินขนึ้ ดว ยการพงุ ดว ยมือ มชี น้ิ สวนรองรับการกระแทก

1.6.3 ระบบรายงานตําแหนง และขอมูลเรอื อัตโนมัติ (Automatic Identification System)
เปนระบบท่ีใชเฝาตรวจและสังเกตการณเปาหมายที่ไดมีการติดต้ังอุปกรณรายงานขอมูลเรืออัตโนมัติ
AIS Transponder (Automatic Ship Identification System) ห รือ อุป กรณ รายงาน ส ถาน ะ
เคร่อื งหมายทางเรือ AtoN Transponder (Aids-To-Navigation Transponder)

1.6.4 โปรแกรม SOCET GXP เปนโปรแกรมวิเคราะหขอมูลสัญญาณ ภาพถาย และวิดีโอ
จากอุปกรณตรวจจับท่ีติดต้ังบนอากาศยานไรคนขับ โดยสามารถนําเขาขอมูลแบบ Streaming หรือ
Snapped เพ่อื วิเคราะหใ ชงานในรปู แบบภาพนิง่ (Still Frame Exploitation) เพอื่ วเิ คราะหกจิ กรรม
หรือเปาหมาย สามารถจัดเก็บ Metadata เพ่ือการอางอิงในกระบวนการลงทะเบียนขอมูลวิดีโอ
(Video Registration)

1.6.5 การตรวจการณ (Surveillance) เปนการสังเกตพฤติกรรม กิจกรรม หรือ
การเปลี่ยนแปลงของขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะอยางย่ิงคน เพ่ือวัตถุประสงคของการเขาไปมีอิทธิพล
การติดตาม การจัดการ การควบคุม โดยใชเจาหนาท่ีหรือเทคโนโลยีเขาชวย เพื่อสืบหาหลักฐาน
สาํ หรบั การสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ

1.6.6 การเฝาตรวจ (Monitoring)เปนการเฝาสงั เกตเหตกุ ารณเพอ่ื ติดตามการเปล่ียนแปลง
ซ่ึงอาจเกิดขน้ึ ในหว งเวลาหนงึ่ ๆ โดยใชอ ปุ กรณใ นการเฝา ตรวจหรอื การวัดคา

1.6.7 แผนการเดินเรือเปนการกําหนดเสนทางเดินเรือลงในแผนที่ โดยนํารายละเอียดมา
จากการประชุมหรือกําหนัดดวยหลักการเดียวกันทั้งการเดินเรือในและนอกประเทศ เน่ืองจาก
การเดินเรือทั่วโลกมี “กฎการเดินเรือสากล (Rules of the Road)” กํากับอยู เพ่ือความปลอดภัยใน
การเดินทางและมีมาตรฐานเดยี วกัน

1.6.8 บันทึกความเขาใจกัน (Memorandum of Understanding) เปนเอกสารท่ีบันทึก
ขอตกลง ความรวมมือ หรือ ความเขาใจระหวาง องคกร หนวยงาน รัฐ เม่ือท้ังสองฝายรับทราบและ
เขาใจรายละเอียดในบันทึกความเขาใจน้ันแลว ตัวแทนผูมีอํานาจของท้ังสองฝายก็จึงจะลงนามใน
บันทกึ ความเขาใจ

6

1.6.9 การประมวลผลสัญญาณ (Signal Processing)เปนการศึกษาเพ่ือประมวลผลสัญญาณ
โดยแบงการประมวลผลสัญญาณไดตามรูปแบบของตัวแทนสัญญาณ เชน การประมวลผลสัญญาณ
ดิจิตอล (digital signal processing) และการประมวลผลสัญญาณอนาล็อก (analog signal
processing) ศึกษาคุณสมบัติของสัญญาณในรูปแบบการประมวลผลสัญญาณไมสุม (deterministic
signal processing) และ การประมวลผลสัญญาณสุม (stochastic/statistical signal processing)
ศึกษาลักษณะการประมวลผลสัญญาณแบบเชิงเสน (linear signal processing) และไมเปนเชิงเสน
(nonlinear signal processing) และ อื่นๆ ที่แบง ตามคุณลกั ษณะเฉพาะของสญั ญาณ

1.6.10 การประมวลผลวิดีโอ (Video Processing)เปนอีกกรณีหนึ่งในการประมวลผล
สัญญาณ ซ่ึงมักจะใชฟลเตอรวิดีโอ และสัญญาณนําเขาและสงออกสวนใหญเปนไฟลวิดีโอหรือวิดีโอ
สตรีม เทคนคิ การประมวลผลวดิ โี อจะใชเ พอื่ ตรวจหากิจกรรมหรือกลมุ การทาํ งานท่ีผดิ กฎหมาย

1.6.11 การประมวลผลภาพ (Image Processing)เปนกระบวนการจัดการและวิเคราะห
สารสนเทศของภาพถาย โดยใชคอมพิวเตอรในการประมวลผล ซ่ึงกระบวนการตาง ๆ มีอยูดวยกัน
หลายอยาง ยกตัวอยางเชนการแปลงขอมูลรูปภาพ (Image Transformation) การนิยามภาพ
(Image Description) ก าร ก ร อ งภ า พ (Image Filters) ก า รคื น ภ า พ (Image Restoration)
การปรับปรุงคุณภาพของภาพ (Image Enhancement) การแบงภาพและการหาขอบภาพในวัตถุ
(Image Segmentation and Edge Detection) การบีบอัดขอมูลภาพ (Image Compression)
เปนตน

1.6.12 แมขายแผนท่ี (Map Server)เปนสภาพของการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปดเพื่อสราง
โปรแกรมประยุกตบนอินเตอรเน็ตทม่ี ีขีดความสามารถในการจัดการขอ มลู เชงิ พ้ืนท่ี

1.6.13 โปรแกรมประยุกตแผนท่ี (Map Application)หมายถึงโปรแกรมแผนท่ีใชงานบน
เครือขายอินเตอรเน็ตท่ีสามารถทําการวิเคราะหขอมูลในเชิงพื้นที่ไดตามความความตองการที่ตรงกัน
ระหวา งผูใชและผูออกแบบทง้ั นีเ้ ปนการทํางานในรปู แบบ Client-Server

1.6.14 อุปกรณเคลื่อนท่ี (Mobile Device)เปนอุปกรณในการประมวลผลขนาดเล็ก
ซึ่งโดยท่วั ๆ ไปสามารถถือหรือพกติดตัวได ดังนน้ั สว นใหญจะหมายถึงคอมพิวเตอรมอื ถอื หรอื พกพาที่
มีจอแสดงผลสําหรับการปอนขอมูลผานการสัมผัส และ/หรือคียบอรดยอสวน และมนี ้ําหนักนอยกวา
1 กโิ ลกรมั

1.6.15 ความมั่นคง (Security) หมายถึงการมีเสรีจากความเสี่ยง อันตรายตางๆ และการมี
ความปลอดภัยโดยปราศจากกังวล ความสงสัย ความเกรงกลัวและความตื่นตระหนก สงผลใหการ
ดําเนินงานของอาํ นาจหนาท่อี ื่นๆ สมบรู ณไมขาดตกบกพรอง

1.6.16 สถานีควบคุมภาคพ้ืน (Ground Control Station) เปนระบบคอมพวิ เตอรท่ีสามารถ
วางแผนการบนิ ถายภาพและทาํ งานเชื่อมตอเขากบั ชุดควบคุมการบินอัตโนมัติภาคอากาศ มีโปรแกรม
แสดงผลภาพและบันทึกสัญญาณภาพวิดีโอ ที่ทํางานรวมกับอุปกรณการภาพที่ทําการบันทึกภาพได
ท้ังนี้สถานีควบคุมภาคพื้นเปนองคประกอบสําคัญในการติดตาม และส่ือสารกับอากาศยานไรคนขับ
หากวางแผนการบินใหออกนอกแนวสายตาสถานีควบคุมภาคพ้ืนมีความจําเปนในการติดตอกัน
ระหวา งอากาศยานกบั นักบนิ ทีท่ ําการควบคุม

1.6.17 สวนแผนภาพติดตอผูใช (Graphic User Interface) เปนชนิดของการ/อุปกรณ
เชื่อมตอเปดโอกาสใหผูใชมีปฏิสัมพันธกับอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสผานไอคอนกราฟฟกสและ
สญั ลกั ษณบ ง ชี้ทใ่ี ชแทนสว นเช่อื มตอทเ่ี ปนตวั อักษร

7

1.7 ระยะเวลาดาํ เนนิ การวจิ ยั

ระยะเวลาที่ทําการวิจยั ตงั้ แต 1 ตลุ าคม 2559 - 30 กันยายน 2561 ระยะเวลา 24 เด

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส
59 59 59 60 60 60 60 60 60 60 6
ศึกษาและวเิ คราะห
แนวทางการ
ประยกุ ตใชเ ทคโนโลยี
ทดสอบ/ประเมิน
มาตรฐานและ
ประสิทธภิ าพของแนว
ทางการประยุกตใ ช
เทคโนโลยี
การประยกุ ตใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
การทํารายงานสรปุ
ผลการวจิ ัย

ตาราง 1.1 แสดงระยะเวลาท่ที าํ การวจิ ัยตั้งแต 1 ตุลาคม 2559 - 30

8

ดอื น (งบประมาณ 2560 - 2561)

ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
60 60 60 60 60 61 61 61 61 61 61 61 61 61

0 กันยายน 2561 ระยะเวลา 24 เดือน (งบประมาณ 2560 - 2561)
8

1.8 งบประมาณของโครงการวจิ ยั

ประเภทงบประมาณ รายละเอยี ด งบประมาณ

งบบุคลากร -คาตอบแทนนักวิจยั 120,000
งบดําเนนิ งาน-คา ใชสอย -คาใชจ า ยในการปฏิบัตงิ านนอสถานที่ 200,000
งบดาํ เนินงาน-คา ใชสอย -คาธรรมเนียมในการใชง าน (ระบบตรวจการณเ ปา ทะเล,อากาศ 717,000
งบดําเนินงาน-คาใชสอย ยานไรค นขับขนาดเลก็ ,โปรแกรม SOCET GXP) 133,000
งบดําเนินงาน-คา ใชส อย -คา บรหิ ารโครงการ 240,000
-คา ตอบแทนผชู วยนกั วจิ ยั 1,410,000

รวม (บาท)

ตาราง 1.2 แสดงงบประมาณการวจิ ัยการนาํ ระบบตรวจการณเปาทางทะเล และอากาศยานไรค นขับ
ขนาดเล็กมาเพ่ิมประสทิ ธิภาพการสบื สวนสอบสวนของกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ

9

บทท่ี 2
การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ ง

2.1 แนวคดิ และทฤษฏที เ่ี ก่ยี วของ
2.1.1 แนวคิดการวจิ ยั เชิงทดลอง
Best and Kahn (1993 : 125) กลาววาการวิจัยเชิงทดลองเปนการวิจัยท่ีมุงบรรยายและ

วิเคราะห ส่ิงท่ีควรเกิดข้ึนภายใตสภาพการณควบคุมอยางระมัดระวัง (พวงรัตน ทวีรัตน, 2543 : 31)
กลาววา การวิจัยเชิงทดลองเปนการวิจัยท่ีศึกษาถึงความสัมพันธเชิงเหตุและผลของตัวแปรของ
ปรากฏการณตางๆ โดยมีการจัดกระทํากับตัวแปรท่ีเปนเหตุ แลวสังเกตดูวาจะเกิดผลเชนไร นอกจากนี้
ยงั มีการควบคมุ สภาพการณบางอยางทีไ่ มเก่ียวขอ งใหห มดไปตามวิธกี ารทางวิทยาศาสตร สวน (บญุ ธรรม
กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2551 : 131) กลาววาการวิจัยเชิงทดลองเปนการคนหาขอเท็จจริงซ่ึงเปนความสัมพันธ
ระหวางเหตแุ ละผล (cause and effect relationship) ท่ีเกิดขนึ้ ภายใตภาวการณค วบคมุ สามารถสรุปไดวา
ก าร วิ จั ย เชิ งท ด ล อ ง ห ม า ย ถึ ง ก าร วิ จั ย ที่ ศึ ก ษ าห า ค ว า ม สั ม พั น ธ เชิ งเห ตุ แ ล ะ ผ ล ข อ ง
ตัวแปรภายใต การควบคุมสถานการณตามวิธีการทางวิทยาศาสตร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา
ความสัมพันธเชิงเหตุและผลระหวางตัวแปรและมุงตรวจสอบทฤษฎี ประเภทของการวิจัยเชิงทดลองถา
แบงตามสภาพแวดลอม ที่ศึกษาจําแนกออกเปน 2 ประเภท ไดแก การวิจัยการทดลองในหองปฏิบัติการ
และการวิจัยการทดลอง ภาคสนาม การวิจัยเชิงทดลองมีลักษณะที่สําคัญประกอบดวยการสุม การจัด
กระทําตัวแปร การควบคุมการสังเกต การออกแบบการทดลอง และกลุมเปรียบเทียบ (ผศ.ดร.วาโร เพ็ง
สวสั ดิ,์ 2557) ประเภทการวิจัยดว ยการทดลองในสนาม (Field experiment) เปนการวจิ ัยท่ีมีระเบยี บวิธี
วิจัยคลาย กับวิธีการทดลองในหองปฏิบัติการมาก เพราะมีการกําหนดตัวแปรอิสระเพื่อศึกษาผล
ที่เกดิ ขึ้น แตว ิธีนตี้ า งกับการทดลองในหอ งปฏบิ ัติการตรงทเ่ี ปนการศึกษาวิจยั ในสภาพการณท่เี ปน จรงิ ตาม
ธรรมชาติ โดย ผูวิจัยพยายามควบคุม ตัวแปรท่ีไมตองการศึกษาหรือตัวแปรแทรกซอนอื่น ๆ อยาง
ระมดั ระวังภายใต สภาพการณเ ทา ที่จะอํานวยใหการวจิ ยั (พวงรัตน ทวรี ัตน, 2543: 33)

ดงั นน้ั “โครงการวิจัยการนําระบบตรวจการณเปาทางทะเลและอากาศยานไรค นขับขนาด
เล็กมาเพิ่มประสิทธิภาพการสบื สวนสอบสวน ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ” จึงเปนวิจัยประเภทเชิงทดลอง
ท่ีมีการนําตัวแปรมากําหนดสมสุติฐาน ไดแก อากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก ระบบเรดาร และเรือที่เปน
เปา หมายในการวิจยั มาใชในการทดลอง ซึ่งการวจิ ัยยนเ้ี ปน การทดลองนอกหองปฏิบัติการ จะเห็นไดจาก
การวิจัยที่มีการใชอุปกรณในพ้ืนท่ีวิจัย คือบริเวณอาวทางดานทิศตะวันออกของประเทศไทย มีการ
ควบคุมตัวแปรและการกําหนดระยะภายใตส ถานการณจ รงิ

2.1.2 อํานาจหนาท่ีและภารกิจของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (Department of special investigation)
กรมสอบสวนคดีพิเศษมีภารกิจเก่ียวกับการปองกัน การปราบปราม การสืบสวนและการ

สอบสวนคดีความผิดทางอาญาท่ีตองดําเนินการสืบสวนและสอบสวนโดยใชวิธีการพิเศษตามกฎหมายวา
ดวยการสอบสวนคดพี เิ ศษ โดยมอี าํ นาจหนาท่ี ดงั นี้

10

(1) รับผิดชอบงานเลขานุการของคณะกรรมการตามกฎหมายวาดวยการสอบสวนคดีพิเศษ และ
กฎหมายท่ีเกีย่ วของ

(2) ปองกัน ปราบปราม สืบสวน และสอบสวนคดีพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสอบสวน
คดีพิเศษ และตามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการคดีพิเศษประกาศกําหนดหรือตามมติของคณะกรรมการคดีพิเศษ
ตลอดจนปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอ่ืนอนั เกย่ี วกับความผิดทางอาญา
ที่เปน คดีพเิ ศษ

(3) ศึกษา รวบรวม จัดระบบ และวิเคราะหขอมูลเพื่อประโยชนแกการปฏิบัติหนาท่ีของ
คณะกรรมการตามกฎหมายวาดวยการสอบสวนคดีพิเศษ และเพ่ือปองกัน ปราบปราม สืบสวนและสอบสวน
คดพี ิเศษ

(4) จัดใหมีการศึกษา อบรม และพัฒนาระบบงานการสืบสวนและสอบสวนคดีพิเศษการพัฒนา
ความรูและการประเมินสมรรถภาพการปฏิบัติหนาท่ีของขาราชการ พนักงานราชการและลูกจางของกรม และ
บุคลากรท่เี ก่ียวของ ไมวาจะมฐี านะเปน พนกั งานสอบสวนคดพี ิเศษหรอื เจาหนาทีค่ ดพี ิเศษหรือไม

(5) ดําเนินการเก่ียวกับงานกฎหมายและระเบียบท่ีอยูในอํานาจหนาที่ของกรมและงานอื่นท่ี
เกย่ี วของ

(6) ปฏบิ ัติการอื่นใดตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหเปนอํานาจหนา ทขี่ องกรม หรอื ตามทรี่ ฐั มนตรี หรือ
คณะรฐั มนตรมี อบหมาย

คดีพิเศษ หรือคดีอาชญากรรมพิเศษในความรับผิดชอบของกรมสอบสวนคดีพิเศษ หมายถึง
คดีอาญาตามกฎหมายกําหนดไวในบัญชีทาย พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 (แกไขเพิ่มเติม
พ.ศ. 2551) หรือคดอี าญาทไี่ ดก ําหนดเปนกฎกระทรวงโดยการเสนอแนะของคณะกรรมการคดพี ิเศษ (กคพ.) ซง่ึ คดี
ดังกลา วตอ งมีลักษณะอยางใดอยา งหน่งึ ดังตอไปน้ี

1) คดคี วามผดิ ทางอาญาทม่ี ีความซบั ซอ น จําเปนตองใชว ิธีการสืบสวนสอบสวนและรวบรวม
พยานหลักฐานเปน พเิ ศษ

2) คดีความผิดทางอาญาที่มหี รืออาจมผี ลกระทบอยางรุนแรงตอความสงบเรยี บรอยและ
ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนความม่ังคงของประเทศความสมั พันธระหวา งประเทศ หรอื ระบบเศรษฐกิจหรอื การ
คลังของประเทศ

3) คดีความผิดทางอาญาทีมลี กั ษณะเปนคดีความผิดขา มชาติท่ีสําคญั หรือเปนการกระทําของ
องคกรอาชญากรรม

4) คดีความผิดทางอาญาทมี่ ีผทู รงอิทธพิ ลทสี่ าํ คญั เปน ตัวการผูใชห รอื ผสู นับสนนุ
5) คดีความผิดทางอาญาที่มีพนักงานฝายปกครองช้ันผูใหญหรือตํารวจช้ันผูใหญซ่ึงมิใช
พนักงานสอบสวนคดีพิเศษหรือเจาหนาท่ีคดีพิเศษเปนผูตองสงสัยเมื่อมีหลักฐานตามสมควรวานาจะไดกระทํา
ความผิดอาญา หรือเปนผูถกู กลาวหาหรือผูต องหา
ทั้งน้ีการกระทําความผิด ตามบัญชีทายพระราชบัญญัติฯ หรือคดีพิเศษเพิ่มเติมตาม
กฎกระทรวงฯ จะเปนคดีพิเศษจะตองเขาลักษณะตาม (1) – (19) และเพื่อใหเกิดความชัดเจนยิ่งข้ึนไดมีการ
กําหนดลักษณะของการกระทําความผิด อาทิ มูลคาความเสียหาย จํานวนผูกระทําความผิดไวในประกาศ กคพ.

11

เรื่องการกําหนดรายละเอียดของลักษณะของการกระทําความผิดตามมาตรา 21 วรรคหน่ึง (1) แหง
พระราชบญั ญัตกิ ารสอบสวนคดพี ิเศษ พ.ศ. 2547 (แกไ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2551)

2.1.3 การรวบรวมพยานหลกั ฐาน
การสอบสวนเปนกระบวนการรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อการคนหาความจริงในคดีอาญาชั้น

เจาพนักงานซึ่งการคนหาความจริงจะตองเปนไปตามหลักการรับฟงความทุกฝาย ดังนั้น การดําเนินคดีอาญาใน
ชั้นกอนฟองพนักงานสอบสวนจึงตองรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิดเพื่อใหไดขอเท็จจริงเกี่ยวกับความผิดที่ถูก
กลาวหามากที่สุดทั้งพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนความผิดและเพ่ือพิสูจนความบริสุทธ์ิของผูตองหา ไมใชรวบรวม
พยานหลักฐานเพื่อพิสูจนใหเห็นความผิดของผูตองหาเพียงอยางเดียว ท้ังน้ี เน่ืองจากในช้ันสอบสวนยอมถือวา
ผตู อ งหายังเปน ผูบริสทุ ธิ์อยูจนกวาจะมคี าํ พิพากษาถึงท่ีสดุ

การไดมาซึ่งพยานหลักฐานในคดีพิเศษอาชญากรรมพิเศษตามท่ีกําหนดไวในพระราชบัญญัติ
การสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 เปนอาชญากรรมที่สงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความ
ปลอดภัยของประเทศ การรวบรวมหลักฐานเปนขั้นตอนท่ีสําคัญอยางย่ิงและเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวน
คดีพิเศษตองรวบรวมและแสวงหาพยานหลกั ฐานโดยอาศัยเคร่ืองมอื ตางๆ เพอื่ ใหไดมาซึ่งพยานหลักฐานทม่ี ีความ
ถกู ตองสามารถพิสูจนเปนความผดิ และนําผูกระทําความผิดมาลงโทษได โดยอาจอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญา พ.ศ.๒๔๗๗ ซึ่งการดําเนินคดีตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญาอยางเดียวน้ันคง
ไมสามารถพิสูจนและหาพยานหลกัฐานเพ่ือเอาตัวผูกระทําความผิดท่ีมีความเชี่ยวชาญในการกระทําความผิดใน
คดีพิเศษไดเชน อาชญากรรมทางเศรษฐกิจท่ีกระทบตอระบบการการเงิน การธนาคาร การคาพาณิชย
การหลกี เล่ียง ภาษกี ารละเมิดทรัพยสินทางปญญา การทาํ ลายสง่ิ แวดลอมและธรรมชาติอาชญากรรมคอมพิวเตอร
หรืออาชญากรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่กระทําการลักลอบแกไขเปล่ียนแปลงหรือทําลายขอมูลหรือ
ระบบปฏิบิตการของหนวยงานตางๆ อาชญากรรมที่มีผูมีอิทธิพลเขามา เกี่ยวขององคกรอาชญากรรมและ
อาชญากรรมขามชาติ ตามกฏหมายการสอบสวนคดีพเิ ศษจึงไดกาํ หนดมาตราการเสริมท่ีมีความสําคัญในการไดม า
ซ่ึงพยานหลักฐานโดยเปนมาตรการทางกฎหมายที่ เอื้อประโยชนใหเจาพนักงานสามารถใชวิธีการไดมาซึ่ง
พยานหลักฐานโดยใชเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการสืบหาขอมูลการกระทําความผิด เชน การใชเครื่องมือ
อเิ ล็กทรอนกิ สและเทคนคิ การสืบสวนสอบสวนคดพี ิเศษ เปนตน

2.1.4 อากาศยานไรค นขบั (Unmanned Aerial Vehicle - UAV)
ความหมายตาม พจนานุกรม ฉบับ16ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 คือ16 น. เคร่ืองนําไปทาง

อากาศ, ยานที่แลนไปในอากาศ เชน เคร่ืองบิน เฮลิคอปเตอร. ดังนั้น อากาศยานไรค นขับ จึงหมายความ
วา ยานทีส่ ามารถเลน ไปในอากาศโดยไมม คี นขบั บนยานน้นั (16ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2544, 2561)

อากาศยานไรคนขับในยุคแรกไดเกิดขึ้น จากวิศวกรและ นักวิทยาศาสตร ไดมีการสราง
อากาศยานไรคนขับรุนแรก ซง่ึ เปนเปาฝกทางอากาศ (aerial target) ในชวงปพ.ศ. 2458-2459 หลังจาก
นั้นอากาศยานไรคนขับก็มีการ คิดคนพัฒนากันอยา งแพรหลายมากข้ึน โดยสรา งเคร่ืองบินอัตโนมัติในป
พ.ศ. 2478 หลังสงครามโลกคร้ังที่ 1 โดยการพัฒนาระบบควบคุมใหเปนอากาศยานไรคนขับที่ควบคุมได
จากระยะไกล (Remote Piloted Vehicle: RPV) ตอจากนั้นไดม ีความพยายามคิดคนและ พัฒนาการสร

12

างอากาศยานไรค นขับอยางตอเนื่องดวยเหตุผลท่ีตองการใชเทคโนโลยีเพี่อการรักษาผลประโยชนของ
ประเทศชาติ จนทําใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว เชน ในชวงสงสรามโลกคร้ังท่ี 2 มีการใช
อากาศยานไรคนขับท่ีถูกสรางข้ึนเพ่ือใชเปนเปาฝกใหกับพลปนตอตานอากาศยานแลพารกิจโจมตี (ธรา
วุฒิ บุญเหลือ, 2555)

ขอมูลท่ัวไปเก่ียวกับระบบ UAV ระบบ UAV ประกอบดวยสวนประกอบยอยตางๆ
กลาวไดคอื (Suraj G. Gupta, Mangesh M. Ghonge, Dr. P. M. Jawandhiya, 2013: 1-2)

1) สวนอากาศยานแยกยอยลงไปประกอบ ไปดวยสวนสาํ คัญ สวนโครงสรางอากาศยาน
สวนขับเคล่ือน อาจจะเปนแบบใชมอเตอรไฟฟา หรือเคร่ืองยนตตอเขากับใบพัดสวนอิเล็กทรอนิกส
ควบคมุ การบิน สว นสมั ภาระบรรทุกเพ่ือภารกิจ (Payload) เชน ชุดการภาพ สวนอิเล็กทรอนิกส ควบคุม
การทํางานสัมภาระบรรทุกพรอมกลไก (Gimbal System) สวนพ้ืนบังคับ (Control Surface) พรอม
กลไกขับ เคล่ือน (Servo System) ทําหนาท่ีปรับตําแหนงพื้นบังคับให ผลทาทางการบินของ UAV
เปล่ียนแปลงตามวัตถุประสงคของนักบินและภารกิจและสวนอิเล็กทรอนิกสสื่อสารกับสวน ควบคุมการ
บนิ ภาคพื้น

2) สวนควบคุมการบินภาคพ้ืน ประกอบดวย สวนสําคัญสวนควบคุมแบบนักบิน
ภายนอก (External Pilot; EP) สวนควบคุมแบบนักบินภายใน (Internal Pilot; IP) สวนควบคุมการ
ทํางานของชุดการภาพและสวนอิเลก็ ทรอนิกส ส่ือสารกับ UAV

3) สวนอุปกรณสนับสนุน ไดแก ชุดอะไหลชุดเก็บหลังเสร็จภารกิจและเครื่องมือซอม
ภาคสนาม ณ บริเวณ พื้นท่ีใชงาน ระบบ UAV ที่ผูผลิตแตละรายสรางข้ึนมาอาจเพ่ิมเติมนอกเหนือจากนี้
เพ่ือใหส ามารถตอบสนองกับภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ ปจจบุ ันยังไมมกี ารจําแนกประเภท UAV ดวย
กฎเกณฑท่ียึดถือโดยท่ัวกันท้ังวงการเปนแบบอยางอันหน่ึงอันเดียว วงการทหารและพลเรือนตางมี
กฎเกณฑการจําแนกเปนของตนเอง โดยมากการจําแนก UAV เปนกลุมตาง ๆ พิจารณาตามขนาดพิสัย
การบนิ ไดไกลและขีดความสามารถปฏบิ ตั ิการในอากาศ (Pennstate, 2014: 1)

ประเภทของอากาศยานไรคนขบั
การแบงประเภทระบบอากาศยานไรคนขับสามารถกําหนดรูปแบบการจัดไดหลาย
ลักษณะ ท้ังน้ีขึ้นอยูกับความมุงหมายในการนําไปใช ภารกิจ คุณลักษณะเฉพาะของอากาศยานไรคนขับ
เองท่ีถูกพัฒนาข้ึนสําหรับการใชงาน สําหรับภารกิจใดภารกิจหน่ึง และ/หรือ สําหรับสภาวะของภูมิ
ประเทศในการนําไปใช นอกจากน้นั ในขอพิจารณาดังกลา ว จะตองคาํ นึงถึงวาอากาศยานไรคนขบั ดังกลา ว
ผูนําไปใชเปนองคกรใด มีการใชเพ่ือความมุงหมายและ/หรือเหตุผลใด โดยเราสามารถท่ีจะกําหนดแนว
ทางการแบง ประเภทของอากาศยานไรค นขบั ไดดงั นี้
การแบงประเภทอากาศยานไรคนขับตามลักษณะการใชงาน
1. เปา หมายและเปา ลอ เปนเปา ฝกใหก ับพลปน ตอ ตานอากาศยานหรือขปี นาวุธ
2. ขา วกรอง เปนหนว ยขา วกรองในสมรภูมิ
3. โจมตี ทําภารกจิ โจมตี
4. ลาํ เลยี ง เปนยูเอวีที่ออกแบบมาเปน พเิ ศษเพอ่ื การขนสง

13

5. วจิ ยั และพฒั นา ใชเ พ่ือการพฒั นาเทคโนโลยีของยเู อวีเพ่ือนําไปใชก ับยูเอวจี ริง
6. พลเรือนและการตลาด เปนอากาศยานไรค นขับหรือยเู อวที ี่ถูกออกแบบมา เพ่อื ใชโ ดยพลเรือน
การแบงประเภทตามพสิ ยั และความสงู ในการปฏบิ ัตกิ าร
1. แบบขนาดเล็ก บนิ ได 2,000 ฟุต (600 เมตร) พิสยั 2 กิโลเมตร
2. แบบสําหรับระยะใกล บนิ ได 5,000 ฟุต (1,500 เมตร) พิสยั 10 กิโลเมตร
3. แบบนาโต บินได 10,000 ฟตุ (3,000 เมตร) พสิ ยั 50 กิโลเมตร
4. แบบยุทธวิธี บินได 18,000 ฟตุ (5,500 เมตร) พิสยั 160 กโิ ลเมตร
5. แบบระดับความสูงปานกลาง บินได 30,000 ฟุต (9,000 เมตร) พสิ ัยกวา 200 กโิ ลเมตร
6. แบบระดับความสงู สงู บนิ ได กวา 30,000 ฟุต (9,100 เมตร) พสิ ัยไมแนน อน
7. แบบความเรว็ สูงเหนือเสียง บินได 50,000 ฟตุ (15,200 เมตร) พิสยั กวา 200
กโิ ลเมตร
การแบงประเภทตามการทํางาน
1) Multirotor UAVs เปนประเภทที่พบเห็นบอยมากที่สุด เคลื่อนตัวไดรวดเร็วและ
คลองแคลวเน่ืองจากมีท้ังแบบ 4, 6 และ 8 ใบพัด ไมตองใชรันเวยในการบิน แตมีขอเสียคือ ขีดความเร็ว
ของการบินนอยกวา โดรนประเภทอ่ืนๆ จึงทําใหบินไดช ากวา ในปท ี่ผานมา โดรนประเภทนี้ครองสวนแบง
การตลาดมากถงึ 77%
2) Fixed-wing drones มีลักษณะการทํางานคลายคลึงกับเคร่ืองบิน จึงตองมีรันเวย
ซึ่งโดรนประเภทนี้สามารถบินไดนานกวาและเร็วกวา เหมาะกับการใชงานเพื่อสํารวจในพื้นท่ีกวางใหญ
แถมยังบรรทกุ ของหนักไดใ นระยะไกล และใชพลงั งานนอย
3) Hybrid model (tilt-wing) สามารถบินไดเร็วกวา ไกลกวา และมีประสิทธิภาพ
มากกวา แบบทสี่ อง แถมไมตอ งใชร ันเวย แตโดรนประเภทนมี้ ีอยนู อ ยในตลาดโลก
อากาศยานไรคนขับหรือเรียกอีกอยางหน่ึงวาโดรน (Drone) เปนสิ่งที่สําคัญและขาด
ไมไดในการปฏิบัติการ Drone ที่มีขนาดเล็กจะคลองตัวกวา แตจะไมสามารถบรรทุก payload ไดมาก
และมีระยะบินไมไกล นอกจากนี้ นักบินมักจะเลือกใช UAV ขนาดใหญขึ้น หรือเคร่ืองบินปกสามเหลี่ยม
หรือปก ใหญ ซึ่งจะมีการตา นทานลมทะเลไดดี แตอยางไรก็ตาม หลกั ปฏิบตั ิคือ หากเกิดพายุฝน เจา หนา ที่
มักจะยกเลิกภารกิจ เนื่องจากนอกจากจะเปนอันตรายตอการบังคับเครื่องบินแลว ภาพท่ีไดมาจากกลอง
สวนมากมักจะมองไมเห็นอะไรมากหรือไดไมไกล เมือ่ มพี ายุฝน เนื่องจาในหลายๆครั้ง จําเปนตอ งนําปจจัย
เหลานี้มา trade-off กัน และไมสามารถจัดหา UAV ขนาดใหญไดเจาหนาที่ จะตองเลือกหา Runway
ที่อยูไมไกลจากรถ VTMS หรือศูนยบัญชาการ ทั้งนี้เพ่ือใหสามารถประหยัดนํ้ามันเคร่ืองบินใหมากที่สุด
ระบบสาํ คญั บน uav (ทีไ่ มน บั รวม mechanical platform) ไดแก
1) ระบบpayloadบน drone หรือ uav มีความสําคัญมากตอการตรวจจับภาพที่มี
คุณภาพสูง ตามปกติแลวบน UAV จะมี payload กลองตางๆ ท่ีควรติดต้ังอยูบนระบบ mechanical
stabilized platform หรือ gimbal และควรจะมีระบบ gyro-stabilization เพ่ือชดเชยการส่ันตางๆของ
กลอง กลองควรจะเปนชนิด High Definition และ ปรับซูมอัตโนมัติ หรือควบคุมผานทาง Ground
Station ได และหากเปนไปได ควรมีกลองหลากหลายแบบ ทั้งน้ีหากใชกลองทางยุทธการ จะไดภาพ

14

day/night จากกลองธรรมดา ภาพความรอน จากกลอง Thermal Camera และระยะทางไปยัง
เปาหมาย จาก Laser Rangefinder พรอมๆกนั นอกจากนี้ ในระบบคุณภาพสงู จะพบวามีความสามารถ
สงสัญญาณ VDO ไดมากกวา 1 ชองสัญญาณ สงแบบ multiplex หรือแมกระท้ังมีระบบ Synthetic
Aperture Radar ขนาดเล็กติดตั้งอยู การประมวลผลกลองและระบบเหลาน้ี มักจะถูกประมวลผลท่ี
พื้นดินในลักษณะ post-processing หรือ near real-time เน่ืองจากภาระกรรมบนเคร่ืองบินตองถูก
จาํ กดั ไมใ หส ูงจนเกินไป ซง่ึ จะสง ผลตอ reliability ของระบบ

2) ระบบสื่อสารจากเครื่องบินมายัง Ground Station สวนมากจะแบงเปน ระบบ
Telemetry ซึ่งจะสงขอมูล flight parameter ลงมายังพ้ืนดิน, ระบบควบคุม หรือ flight control ซ่ึง
จะตองเปนระบบที่มี reliability สูงสุด และระบบสัญญาณภาพ และ/หรือ VDO จากกลองตางๆ
(สวนมากแลว ระบบ flight control จะใชความถี่ 900 MHz, ระบบ telemetry อาจจะใช 2.4 GHz
หรือ 5.8 GHz, สวนระบบภาพ ซ่ึงมีขนาดคอนขางใหญ มักจะเลือกใชความถี่สูงๆ หรือมิฉะน้ัน อาจเปน
1.2-1.3 GHz analogue L-band ในกรณขี อง uav ราคาต่ํา

การนําอากาศยานไรคนขับมาใชใ นประเทศไทย
ประเทศไทยไดมีการนําอากาศยานไรคนขับมาใชต้ังแตสมัยสงครามรมเกลา ซึ่งเปน
สงครามระหวางประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีการจัดหาอากาศ
ยานไรคนขับจากประเทศอังกฤษเขาประจําการในกองทัพอากาศไทยตั้งแตป พ.ศ. 2531 คือรุน R4D
SkyEye จํานวน 7 ลําของบริษทั BAe โดยประจาํ การอยทู ่ีฝงู บิน 402 กองบิน 4 ตาคลี ซึง่ เปนอากาศยาน
ไรคนขับประเภท RPV (Remotely Pilot Vehicle) มีภาระกิจตรวจการณและถายภาพ โดยรวม
ปฏิบัติการอยูกับเครื่องบินลาดตระเวนแบบ Arava แตดวยขอจํากัดทางเทคโนโลยีในขณะน้ันทําใหยาน
RPV ไมสามารถตอบสนองตอความตองการของกองทัพไดเทาท่ีควร เน่ืองจากยาน RPV เหมาะกับการใช
งานในพ้ืนท่ีเปนพ้ืนท่ีโลงแจง แตไมเหมาะกับการใชงานในภูมิประเทศที่เปนปาเขาอยางประเทศไทย
หลังจากน้ันอากาศยานไรคนขับหรือยเู อวีก็ไมไดรับความสนใจจากกองทัพไทยอีกจนกระท่ังป พ.ศ. 2538
ในสมัยสงครามอาวเปอรเซีย ผลงานของอากาศยานไรคนขับทําใหนักวิชาการ และกองทัพไทยหันไปให
ความสนใจอากาศยานประเภทนีอ้ กี คร้งั หน่ึง แตกไ็ มเปน ท่แี พรหลายและใหความสําคัญมากนัก
ในป พ.ศ. 2546 สมัยสงครามอาวเปอรเ ซียคร้ังท่ีสอง อากาศยานไรคนขับหรอื ยูเอวีไดมี
บทบาทสาํ คญั ตอ ความสําเร็จในการปฏิบตั ิภารกจิ ของประเทศสหรัฐอเมริการในการบกุ จับซัดดัม และไดมี
การพัฒนาอากาศยานไรคนขับหรือยูเอวีอยางตอเน่ืองและรวดเร็ว จากอากาศยานที่ใชสําหรับการ
สงั เกตการณ จนกลายเปน อากาศยานใชส ําหรบั การรบและโจมดีท่นี าเกรงกลัว และอีกครงั้ ท่ีทําใหประเทศ
ไทยมีการตื่นตัวใหความสนใจและใหความสําคัญกับอากาศยานประเภทน้ีอยางชัดเจนมากขึ้น ดังเห็นได
จากการท่ีกองทัพบกมีการจัดหาอากาศยานไรคนขับรุน Searcher Mk.1 จากประเทศอิสราเอลเขามา
ประจําการที่กองพลทหารปนใหญที่ 1 รักษาพระองค ในภารกิจตรวจการณ ชี้เปา และเปนผูตรวจการณ
หนา ในการยิงปน ใหญ จนกอ ใหเกิดโครงการวิจยั ทางดานอากาศยานไรคนขบั หรือยเู อวีอยางจรงิ จงั
สําหรับประเทศไทยซ่ึงไมมีแนวคิดในการรุกรานประเทศใด เราอาจใชอากาศยานไร
คนขับหรือยูเอวีในลักษณะเปนการอํานวยการยุทธเฉพาะพ้ืนท่ีหรือใชประโยชนจากอากาศยานไรคนขับ
หรือยูเอวีในงานเฉพาะกิจสําหรับบินตรวจการณเฉพาะบริเวณเพ่ือรักษาทรัพยากรของประเทศ เชน

15

ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรทางทะเล การบินตรวจการณในพ้ืนที่หลอแหลม เปนตน ควรมีการคิดและ
พัฒนาอากาศยานไรคนขับโดยยึดหลักความตองการใชงานของแตละกองทัพ เชน กองทัพบกตองการ
อากาศยานไรคนขับหรือยูเอวีในระดับทางยุทธวิธี มีลักษณะเปนเอนกประสงค (Tactical UAV)
กองทัพเรือ ตองการอากาศยานไรคนขับหรือยูเอวีที่สามารถข้ึนลงทางด่ิง สามารถลงจอดบนเรือได ใชใน
การลาดตระเวนของกองเรือ (Vertical Takeoff and Landing Tactical UAV) และกองทัพอากาศ
ตองการอากาศยานไรค นขับหรือยูเอวีแบบติดอาวธุ เพ่ือใชในการโจมตี หรือช้ีเปาหมาย CUAV (Combat
UAV) ดังน้ันอากาศยานไรคนขับหรือยูเอวีถือไดวาเปนยุทโธปกรณที่มีความสําคัญตอกองทัพในสงคราม
อนาคต เพราะเปน เหมือนตาวิเศษ หูทิพย ที่สามารถสรา งความไดเ ปรยี บ ฉะนั้นการวจิ ัยและพัฒนาจึงเปน
ความจาํ เปนในลาํ ดบั แรก ๆ ของกองทพั ไทยสูก ารพ่งึ พาตนเอง

การนําอากาศยานไรค นขับมาใชใ นกองทัพไทย
1. กองทัพบก ชื่อโครงการวิจัยและพัฒนาอากศยานไรนักบิน (Unmanned Aerial
Vehicle: UAV) เร่ิมต้งั แต ป พ.ศ. 2547 ถึงป พ.ศ. 2550 โดยสํานักงานวจิ ัยและพัฒนาการทหารกลาโหม
(สวพ.กห.) รวมกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เปนผูสนับสนุนโครงการดวยงบประมาณ
กวา 90 ลานบาท ใชนักวิชาการจากสถาบันตาง ๆ จํานวน 50 คน ไดแก กองพลทหารปนใหญ โรงเรียน
นายรอยพระจุลจอมเกลา โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
เจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
มหานคร
2. กองทัพเรือ ซ่ึงเปนกองทัพลาสุดที่ทําการวิจัย ภายใตช่ือโครงการวิจัยอากาศยานไร
นักบิน ขึ้น - ลง ทางดิ่ง ซึ่งเปนโครงการวิจัยรวม 4 ฝาย ระหวาง กองทัพเรือ สถาบันเทคโนโลยีปองกัน
ประเทศ (องคการมหาชน) บริษัทเสรีสรรพกิจ จํากัด และ บริษัทกษมาเฮลิคอปเตอร จํากัด เพ่ือนําไปใช
กับเรอื รบ เพิม่ ขีดความสามารถในการตรวจการณทางทะเล หากประสบผลสาํ เร็จ ยงั สามารถนําไปปรับใช
ในภาคเกษตรกรรมไดอีกดวย
การใชอ ากาศยานไรค นขับในภาคเกษตรกรรม
จากผลงานการวจิ ยอากาศยานไรคนขับ (Drone) สาหรับเกษตรอินทรียร โดย กลุมวิจัย
วิศวกรรมผลิตพชื , สถาบันวิจยั เกษตรวศิ วกรรม, กรมวชิ าการเกษตร
ปญหาสารเคมีตกคางในผลผลิตเกษตรและส่ิงแวดลอม นอกจากจะทําใหผูบริโภคกังวล
ใจแลวยงั ทําใหเกษตรกรเสียเงินตราซอื้ จาก ตา งประเทศ และมปี ริมาณนําเขา เพ่ิมขึ้นอยางตอเนือ่ ง ปญหา
ดังกลาวสามารถลดไดโดยใชแนวทางเกษตรอินทรียหรือการใชสารชีวภัณฑรวมทั้งหาวิธีพนที่สะดวก
รวดเร็วลดความเหน่ือยยากของเกษตรกร การนําอากาศยานไรคนขับพนสารเกษตรเปนเทคโนโลยีใหม
เพ่ือรองรับยุทธศาสตร Thailand 4.0 สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรมจึงเรง ดําเนินการวิจัยและ
ไดเครื่องตนแบบในปลายป 2559 มีคุณลักษณะทางเทคนิค ดังนี้ (1) เปนโดรนแบบมัลติโรเตอร 4 ใบพัด
(2) ควบคุมการ ทํางานดวยรีโมท (3) ใชตนกําลังจากแบตเตอร่ี 16,000 mAh (4) มีระยะหางแกน
มอเตอรใบพัด 90 cm (5) บรรจุสารไดค รั้งละ 4 l (6) หนา กวา งการพน 1.5-3.0 m (7) ความสูงทเ่ี หมาะ
จากยอดพืชเปาหมาย 1.5-2.5 m (8) มิติโดยรวม (กxยxส) 100x160x50 cm (9) นํ้าหนัก 5.5 kg และ

16

(10) ราคาประมาณ 100,000 บาท ผลการทดสอบพนสาร ในแปลงผักคะนา หอมผักชีนาขาว และในไร
ออย มีความสามารถในการทํางาน 3-5 min rai-1 ซ่ึงเร็วกวา การใชแรงงานคนที่ใชเคร่ืองพนแบบ
สะพายหลัง 6-9 เทา รวมท้ังมีละอองสารติดท่ีใตใบมากกวา เนื่องจากมีแรงลมจากใบพัด โดรนชวยเปา
และทดสอบพนสารในสวนมะพราวน้ําหอมมคี วามสูงเฉล่ยี 11 m ใช เวลาประมาณ 15 min

2.1.5 ระบบเรดาร (Radar)
คําวา เรด าร (Radar) ยอมาจากคําใน ภ าษ าอังกฤษ วา Radio Detection and

Ranging หมายถึงการใชคลืน่ วทิ ยุในการคนหาตําแหนง (ทัง้ ทิศทางและระยะทาง) ของสิง่ ท่ีตอ งการคนหา
หรือท่ีเรียกวาเปา (target) ซ่ึงจะเปนอะไรก็ไดข้ึนอยูกับจุดประสงคในการใชเรดารเชน การใชในกิจการ
ทหาร การบิน การเดินเรือ การจราาจร การเกษตร การทําวิจัยและกจิ การอตุ ุนิยมวิทยาแตในทีน่ ้คี ําวาเปา
จะหมายถงึ เปาในทางอุตนุ ยิ มวิทยาเทาน้ัน

หลกั การทํางานของเรดาห
42 การทํางานก็คือการสงคลื่นวิทยุไปแลวเกิดการสะทอนกลับของคลื่นเมื่อไปเจอสิ่งกีดขวาง
42 สามารถบอกทิศทางและระยะของวัตถุนั้นได ใชความถ่ีสูงมากในชวงความยาว 3 – 10 เซนติเมตร ใช
กําลังสงถึง 60 – 300 กิโลวัตต เปนกําลังสงที่มากกวาคลื่นวิทยุท่ัวไป และสงไมไดเปนระยะการสงจะมี
การหนวงของคล่ืนโดยมีเสาอากาศเปนตัวสงสัญญาณ เสาจะเปนรูปคลายดาวเทียมบาง เปนเวาตรง
กลางหรือวาแบนมีหลายขนาด มักจะมีทองแดงเปนสวนประกอบ เมื่อสงสัญญาณไปจะพุงไปตาม
แนวทางท่ีสงเม่ือพบสิ่งกีดขวางก็จะสงคลื่นกลับมาที่เดิม อยางเชน เรือ เคร่ืองบิน แตสามารถทะลุผาน
หมอกเมฆ ไปไดจึงทําใหบอกความแตกตางระกวางวัตถุและอากาศได นอกจากน้ันยังมีหลอดคาโทดไว
สําหรับบอกระยะทาง เม่ือสะทอนกลับมาแลวจะสงไปยังหลอดคาโทดแลวจะทาํ หารสงไปยังหนาจอ เม่ือ
พบตําแหนงจะแสดงเปนจุดเขมๆที่หลอด อุปกรณทั้งหมดของเรดารจะตองทํางานประสาทเพื่อ
ประสทิ ธิภาพ

เรดารมีสวนประกอบอะไรบาง เคร่ืองเรดารตรวจอากาศโดยท่ัวไปจะมีสวนประกอบที่สําคัญคือ
1. เครอ่ื งสง (Transmitter) ทําหนาที่ผลิตและสงคลน่ื แมเหล็กไฟฟา(Electromagnetic

Waves) คน หาเปา ผานทางจานสายอากาศ
2. เคร่ืองรับ (Receiver) ทําหนาท่ีรับสัญญาณแมเหล็กไฟฟาที่สะทอนกลับมา
3. จานสายอากาศ (Antenna) ทําหนาท่ีควบคุมการสงและรับสัญ ญ าณ คล่ืน

แมเหลก็ ไฟฟาทัง้ ในแนวนอนและแนวตั้ง
4. หนวยประเมินผล (Processor) ทําหนาที่ประมวลผลขอมูลที่ไดรับจากคลื่นที่สะทอน

เปากลับมา ในปจจุบันจะใชคอมพิวเตอร ในการประมวลผลและควบคุมการทํางานท้ังหมดของเคร่ือง
เรดารร วมท้ังการจัดเก็บขอ มลู ดว ย

5. จอแสดงภาพ (Monitor) ทําหนาที่แสดงผลขอมูลท่ีประมวลแลวจากหนวย
ประมวลผล

17

2.1.6 ภาพถา ยทางอากาศ (Arial Photography)
คือการบันทึกภาพโดยมีการติดตั้งกลองถายภาพกับเคร่อื งบินเล็กบังคับวิทยุถา ยภาพพื้นท่ี

ที่ตองการ ตามเสนทางการบิน โดยจะไดภาพถายเปนชุดตอ เน่ืองจํานวนมาก ซ่ึงถูกถายใหมีการเหลื่อม
ของภาพ มีจุดอางอิงรวมกนั ในแตละภาพ การจัดการภาพถา ยใน สวนของการบันทึกภาพ จัดเปน ข้ันตอน
แรกท่ีสําคัญ เพราะหากบันทึกภาพมาไมสมบูรณมีความคลาดเคล่ือน ทางเรขาคณิตมาก การใชโ ปรแกรม
คอมพิวเตอรก็ไมส ามารถแกไขไดนอกจากตองเสียเวลาในการถา ยซอมใหม โดยเราพิจารณาปญหาที่จะ
เกิดข้ึนกับเคร่ืองบินเล็กก็คือกระแสลมทฤษฎีความแปรปรวน สง ผลใหเคร่ืองบินเล็ก เกิดการเอียงใน
ทิศทางตางๆ ไมไดระดับกับพื้นดินทําใหกลองถา ยภาพเอียงตาม จึงตอ งมีการติดต้ังอุปกรณชวยลดความ
สัน่ ไหว (Image stabilizer) หรืออปุ กรณชวยรกั ษาระดับ (Gyro mount) ทําใหก ลองอยใู นแนวระดบั มาก
ท่ีสุด เพื่อใหไดภ าพถา ยที่ต้ังฉากกับพ้ืนดิน (Ortho image) ซ่ึงถือวาเปนลักษณะภาพที่เหมาะสมในการ
นําไปใชงาน หากกลอ งเอียงทํามุมกับพ้ืนดิน จะเกิดภาพใน ลักษณะทัศนียภาพ (perspective) คือสวน
ที่อยูใกลจ ะมีขนาดใหญส วนท่ีไกลออกไปจะมีขนาดเล็กลงอุปกรณสําคัญในการบันทึกภาพคือ เลนสค วร
เลือกใช เลนสที่มมี ุมแคบในการบันทึกภาพ เชน เลนสขนาดทางยาวโฟกัส 35-50 มม. สวนทางยาวโฟกัส
ที่นอยกวา เชน 18 - 24 มม. จะมีมุมในการบันทึกภาพที่กวาง ทําใหบันทึกภาพไดค รอบคลุมพ้ืนที่กวา ง
แตจ ะเกิดการโคงนูนของภาพ ทําใหเ กิดความผิดพลาดในการตอ ภาพได ในการปรับตั้งกลองควรตั้งคา
ความเร็วชัตเตอรใหสูง เชน 1/2000 วินาทีเพื่อลดการเกิดภาพท่ีไมชัดจากการสั่น ไหวของเคร่ืองบินโดย
ปรับท่ีปุมควบคุมความเร็วชัตเตอร หรือการปรับคา ความไวแสง (ISO) ใหเพ่ิมสูงขึ้นจากคา ปกติที่ 100
ก็จะทําใหค วามเร็วชัตเตอรเ พ่ิมสูงตาม การปรับต้ังคา สมดุลแสงสีขาว (White balance) ซึ่งทําหนา ท่ี
ควบคุมโทนสขี องภาพใหสอดคลองกับสภาพอุณหภมู สิ ที ี่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมควรต้งั คาสมดลุ แสงสี
ขาวเปนคา อัตโนมัติเพราะจะทําใหภ าพถายท่ีได เปนชุดอาจมีสีของภาพในบางสีของภาพในบางสวนที่
แตกตางกัน ทําใหตองเสียเวลาในข้ันตอนปรับแกไขโทนสีภาพทีละรูป ความสูงของเครื่องบินก็สงผลต
อการครอบคลุมพ้ืนที่ในการถายภาพย่ิงบินสูงกย็ ิ่งสามารถถายไดครอบคลุมพ้ืนที่ กวา งมากกวา การบินต่ํา
แตส ่ิงที่ตอ งพิจารณาคือองศา การรับภาพของเลนสท ่ีใชซ่ึงจะมีความแตกตางกัน จึง ควรคาํ นวณองศาการ
รับภาพของเลนสก ับขอบเขตการ ครอบคลุมพ้ืนท่ี โดยใชห ลักการทางตรีโกณมิติเบื้องตน (Aber,
Marzolff, and Ries, 2๕๕๕. รวบรวมโดย ธราวุฒิ บุญเหลอื , 2555)

กระบวนการคาํ นวณคาพิกัดของวตั ถทุ ่ีไดจากภาพถาย
ในการคํานวณคาพิกัดจากภาพในภารกิจการใช UAV ตรวจการณชายฝงทะเล ใชวิธีการ
รังวัดภาพถายเด่ียวโดยใชสมการสภาวะรวมเสน หรือ Co – linearity equation ซ่ึงเปนสมการท่ีแสดง
ความสัมพันธระหวาง ตําแหนงจุดรวมแสงของเซ็นเซอร (Exposure station), พิกัดบนภาพถาย (image
coordinate) และ พิกัดพ้ืนผิวโลก (Ground coordinate) โดยสําหรับการรังวัดภาพถายเดี่ยวในภารกิจ
คร้ังนี้ จะทําการคํานวณหาตําแหนงทางภูมิศาสตรของวัตถุท่ีปรากฎบนภาพถาย หรือเปนการใช
คาพารามิเตอรจากเซ็นเซอร และพกิ ดั ภาพถา ย ในการคํานวณพิกดั ผวิ โลก โดยรายละเอยี ดมีดังน้ี
คา พารามเิ ตอรทไ่ี ดจากเซ็นเซอร
ในการคํานวณหาคาพิกัดทางภูมิศาสตรของวัตถุที่ปรากฏบนภาพถายดวยสมการสภาวะ
รว มเสนน้ัน คา พารามิเตอรท่ีไดรับจากเซ็นเซอร ประกอบไปดวย คาความยาวโฟกัสของเซ็นเซอร (Focal

18

length, f ), คาพิกัดของ sensor (ตําแหนงของจุดเปดถาย xo, yo, zo) และคาหมุนแกนของ sensor
(คา หมุนแกน x, y, z หรือ ω, φ, κ) รายละเอียดตามภาพที่ 1

ภาพท่ี 2.1 แสดงคา พารามเิ ตอรท ีจ่ ําเปน สาํ หรับใชคํานวณคา พิกดั พนื้ ผิวดวยสมาการสภาวะรว มเสน
(https://encyclopedia2.thefreedictionary.com/photogrammetry)
คา พารามิเตอรทไ่ี ดจากภาพถาย
สาํ หรับคา พารามเิ ตอรทไี่ ดจ ากภาพถา ยไดแก พกิ ดั ภาพถา ย (Image coordinate system) โดยเปน คา พกิ ัด

ภาพที่ 2.2 แสดงระบบพกิ ัดบนภาพถาย
(http://web.pdx.edu/~jduh/courses/geog493f09/Students/W3_ImageCoordinate
s.pdf)
19

คาพิกดั ทางภูมิศาสตร
สําหรับคาพิกัดทางภูมิศาสตร ในการศึกษากรณีดังกลาวใชเพียงคาความระดับความสูง
(elevation) ของวัตถุท่ีอยูในภาพเพื่อทําการคํานวณตําแหนงทางราบ (ละติจูด และลองจิจูด) โดยใน
ความเปนจรงิ แลวเราไมมีทางรไู ดวาตําแหนงคาระดับของวตั ถทุ ี่อยูในภาพจะมีคาเทาใด เพ่ือใหส ามารถนํา
คาระดับท่ีเราไมทราบมาคํานวน เราจึงตองสมมุติ โดยยึดวา คาระดับของวัตถุมีคาเปน 0 ซึ่งอยูต่ํากวา
ตําแหนงของ UAV เทากับคาความสูงของ UAV ที่ไดรับจาก GPS เมื่อเราไดคาระดับแลวจึงสามารถ
นํามาใชในการคํานวณพกิ ดั ทางราบของวัตถุที่อยูใ นภาพได โดยรายละเอียดความสมั พันธร ะหวา งตําแหนง
จุดรวมแสงของเซน็ เซอร, พกิ ดั บนภาพถา ยและ พกิ ัดพืน้ ผิวโลก แสดงไดตามภาพที่ 3

ภาพท่ี 2.3 ความสัมพันธระหวางตําแหนง จดุ รวมแสงของเซ็นเซอร, พิกัดบนภาพถายและ พิกัดพ้นื ผวิ โลก
(https://www.researchgate.net/figure/312596509_Figure-4-2-Collinearity-
condition-geometry)
การคํานวณตาํ แหนง ของวัตถุในภาพถาย
เมื่อไดคาพารามเิ ตอรต า งๆแลว จงึ ทําการคํานวณหาตําแหนงวัตถใุ นภาพดวยสมการดังน้ี

ภาพที่ 2.4 สมการคํานวณพิกดั บนภาพถายหาตําแหนงของวัตถภุ ายในภาพ
20

โดยท่ี X0, Y0, Z0 หมายถงึ ตาํ แหนงของจดุ เปดถา ย
X, Y, Z หมายถึง ตําแหนงของวตั ถุ โดย คา X และ Y เปน คาทเ่ี ราตองการหา

สวนคา Z เกิดจากการสมมุติขึ้นมาที่ความสงู ระดับนาํ้ ทะเลปานกลาง
x, y หมายถึง ตําแหนงพิกัดภาพของวตั ถทุ ีส่ งั เกตเหน็ ไดจากภาพถาย

ภาพที่ 2.5 สมการคํานวณพิกดั บนภาพถายหาการหมนุ รอบแกน x , y และ z

สําหรบั คา an หมายถึง เมทริกซการหมุนสําหรับแกนทั้ง 3 แกน (การหมุนรอบแกน

x , y และ z) โดยสามารถเขยี นไดดงั น้ี

โดย ω หมายถงึ คาหมุนแกน x

φ หมายถึงคาหมนุ แกน y

κ หมายถึงคาหมุนแกน z

จากสมการทีไ่ ดกลาวมาก็สามารถทาํ การคาํ นวณหาคาพิกัดทางราบของวตั ถุในภาพได

21

โปรแกรม Socet GXP
สําหรับการใชงานดวยโปรแกรม SocetGxp ภาพถายท่ีนํามาใชในการคํานวณจําเปนตอง
ทาํ การ encoding ตามมาตรฐานของ Predator UAV Basic Universal Metadata Set1 โดยมีตวั อยา ง
ของภาพถา ยทใ่ี ชง านในโปรแกรม SocetGxp ดงั นี้

ภาพที่ 2.6 ตวั อยา งภาพถา ยทใี่ ชงานในโปรแกรม SocetGxp
เมื่อภาพมพี ิกัดสามารถทําการวัดระยะและพืน้ ที่ของวตั ถทุ ่ีเราสนใจได เชน

ภาพท่ี 2.7 ตัวอยา งภาพถา ยทใ่ี ชงานในโปรแกร2ม222SocetGxp แบบแสดงพิกดั สามารถทําการวัดระยะ

และภาพสถานการณดังกลาวสามาถปรากฏใหเ หน็ ไดใ นภาพรวมบน google earth โดยมีภาพดังน้ี

ภาพที่ 2.8 ตวั อยา งภาพถายที่ใชง านในโปรแกรม SocetGxp รว มกบั โปรแกรม Google Earth
1http://www.gwg.nga.mil/misb/docs/eg/EG0104.1.pdf

2.1.7 ความม่นั คงและความสงบเรยี บรอยทางทะเล
ความม่ันคงแหงชาติทางทะเล หมายถึง การท่ีประเทศชาติมีสภาวะแวดลอมทางทะเล

ที่เอ้อื ตอการดาํ เนิน กิจกรรมตางๆ ทางทะเลไดอ ยา งเสรี ปลอดภัย และเหมาะสม จนนําไปสูการบรรลุผล
ประโยชนของชาติ แผนความม่ันคงแหง ชาติทางทะเลฉบับนี้จึงเปน เจตจํานงแหง รัฐ ในการใชและพัฒนา
พลังอํานาจแหงชาติท้ังมวล (National Power) และเปน กรอบแนวทางการดําเนินการของหนวยงานที่
เกี่ยวขอ ง เพ่ือปอ งกัน รักษา และเพิ่มพูน ผลประโยชนของชาติทางทะเล (สภาความม่ันคงแหงชาติ
พ.ศ.2557) ปญหาความม่ันคงทางทะเลที่เกีย่ วของกับประเทศไทยและอาเซียนซ่ึงจัดกลุมออกมาไดเ ปน 5
ประเด็น

1) ปญหาการอางสิทธิทับซอนในทะเล ซึ่งจัดเปนปญหาของอาเซียนท้ังภายในอาเซียนเอง
และสมาชิกบางประเทศในอาเซียนกับประเทศตาง ๆ ภายนอกโดยเฉพาะประเทศมหาอํานาจทาง ทะเล
ของโลก รวมทั้งประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน ตวั อยา งที่สําคัญไดแก ปญหาอางสทิ ธิทบั ซอ นในทะเล
จีนใตซ่ึงมีหลายประเทศในอาเซียนที่เก่ียวของและไปเกี่ยวของกับประเทศนอกอาเซียน โดยเฉพาะ
ประเทศมหาอาํ นาจอยา งจีนและสหรฐั อเมรกิ า

2) ปญหาความปลอดภัยของเสนทางการเดินเรือ เสนทางเดินเรือที่สําคัญของอาเซียน
อาทิ เชน ทะเลจีนใตชองแคบมะละกา ชองแคบสิงคโปรชองแคบซุนดา และชองแคบลอมบอก เปนตน
โดยมีปญหาตาง ๆ ไมวาจะเก่ียวกับอุบัติเหตุทาง เรือที่อาจขัดขวางเสนทางการเดินเรือดังกลาว หรือ

23

ผลกระทบตอคนและสิ่งแวดลอมทางทะเล การกอ การราย การกระทําอันเปนโจรสลัดและการปลนเรือ
โดยใชอาวุธซึ่งมีแนวโนมของการเกิดที่สูงเพิ่มมาก ข้ึนในระยะหลัง ประเทศไทยก็เปนหน่ึงในสี่ของรัฐ
เจาของชองแคบมะละกา รวมกับอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปรการรวมรับผิดชอบและดูแลใหเกิด
ความสงบเรยี บรอ ยใน บริเวณดงั กลาวจงึ เปนเรอื่ งทม่ี คี วามสําคัญ

3) ปญหาอาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมดังกลาวสามารถเกิดขึ้นไดและยากตอการ
ควบคุมหรือดําเนินการได โดยประเทศใดประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะทะเลอาเซียนก็มีโอกาสสูงของการที่จะ
เกิดเหตุการณใน ลักษณะดังกลาว การรวมมือในเชิงปองกันและแกไขจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองอาศัยความ
รวมมือจาก หลายภาคสว นอยางครอบคลมุ จริงจัง และมีประสทิ ธิภาพซึ่งก็จะตองมกี ารพฒั นาเพ่มิ ข้ึนจาก
ที่ เปน อยใู นปจ จุบนั

4) ปญหาทรัพยากรและส่ิงแวดลอมทางทะเล การเพิ่มขึ้นของอุปทานดานตาง ๆ เปนผล
ใหเกิดการเพิ่มข้ึนอยางรวดเรว็ และหลากหลายของกิจกรรมตาง ๆ ทางทะเล และเปนสาเหตหุ ลักท่ีทําให
เกิดการการลดลงท้ังในเชิง ปริมาณและคุณภาพของทรัพยากรทางทะเลทั้งที่มีชีวิต และไมมีชีวิต รวมท้ัง
สิ่งแวดลอมทางทะเลของ ทั้งโลกและก าลังเปนปญหาและภัยคุกคามรูปแบบใหมอยางหน่ึงในระดับโลก
ซึง่ ก็จะนําไปสปู ญหาการ แยงชงิ ทรพั ยากรทางทะเลและความเส่อื มโทรมของสิ่งแวดลอมทางทะเล

5) ปญหาภัยธรรมชาติทางทะเลมีสาเหตุเริ่มตนมาจากการกระทําของมนุษย การพัฒนา
ขีด ความสามารถในการรับมือกับสถานการณภัยธรรมชาติทางทะเลท่ีเกิดข้ึน เปนสิ่งท่ีตองมีการ
ดําเนินการควบคูกันและตองอาศัยความรวมมือในระดับตาง ๆ การเตรียมพรอมใน การรับมือทัง้ บุคลากร
และอปุ กรณเ ปน ส่งิ ทีม่ คี วามจําเปน และยงั จําเปนทีจ่ ะตอ งอาศัยความรว มมือใน ระดับตาง ๆ ท่เี หมาะสม

สถานการณค วามมนั่ คงในพน้ื ท่ที างทะเลของประเทศไทย
1) ปญหาการทําลายสิ่งแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลโดยมนุษยปญ หาการ
ทําลายส่ิงแวดลอ มและทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลโดยมนุษยค วามหลากหลาย ทางชีวภาพเปนองค
ประกอบท่ีสําคัญตอ ความเปน อยูของมนุษย แตการพัฒนาโดยไมค ํานึงถึงขีดจํากัดและศักยภาพ ในการ
ฟนตัวของทรัพยากร เปนเหตุใหมีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยา งตอเน่ืองซ่ึงเปน ปญหา
ระดับโลก ทะเลไทยนับไดวา เปน แหลง ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก เชน มีปลาน้ําเค็มกวา
2,100 ชนิด ซ่ึงคิดเปนรอยละ 10 ของชนดิ พันธุปลาของโลก แตใ นปจ จุบนั น้ีความหลากหลายทางชีวภาพ
เหลา น้ีกําลังประสบปญ หา มีการลดลงทั้งจํานวนชนิด คุณภาพ และปริมาณ โดยเปน ผลมาจากการใช
ประโยชนท รัพยากรเกินศักยภาพของระบบนิเวศ เพราะรัฐ สังคม เอกชน และประชาชนขาดความ
ตระหนักในเร่ืองคุณคา ความรับผิดชอบ และการอนุรักษ รวมทั้งขาดการประชาสัมพันธ การใหการ
สนับสนุนอยางตอเนื่องและเพียงพอจากภาครัฐ การกอ มลพิษทางทะเลและการทําลายสภาวะแวดลอม
ก็เปนปญหาท่ีหนักหนว งย่ิงเชน กัน โดยเฉพาะการปลอยน้ําเสียหรือการนําขยะไปทิ้งในทะเล การทําลาย
สภาวะแวดลอ มจากเรือและสิ่งปลูกสรา ง การลักลอบปลอยน้ํามันและของเสียลงทะเล ซ่ึงจะสงผล
กระทบตอ ส่ิงแวดลอ ม และระบบนิเวศในบริเวณนั้นเปน วงกวง โดยเฉพาะอยา งยิ่งปญหาการร่ัวไหลของ
น้ํามันในทะเล (Oil Spill) จากสถติ ิปญหาการเกดิ คราบนํ้ามนั รวั่ ไหล ในทะเลจากกรมเจาทา ระบุวา ตง้ั แต
ป 2547 - 2556 เกิดเหตุการณน ํ้ามันรั่วไหลจํานวนทั้งสิ้น 78 คร้ัง อีกท้ัง การทําลายทรพั ยากรธรรมชาติ
ทางทะเลจากการทําประมงและการทองเที่ยวทั้งท่ีต้ังใจและไมต ั้งใจ เชน เรืออวนลาก ในเขตอนุรักษ

24

ปะการัง การทําประมงโดยเคร่ืองมือผิดกฎหมาย เชน ระเบิด ไฟฟา แสงไฟลอ อวนตาถี่ อุตสาหกรรม
ดําน้ํา มีผลกระทบตอ วงจรชีวิตของสัตวน้ําและสภาพสิ่งแวดลอมอยา งมาก และเปนประเด็นที่ตอ งให
ความสาํ คญั อยา งเรง ดว นท่ีสุด

2) กฎหมายและการบังคับใชกฎหมายทางทะเลของไทย หลังจากท่ีไทยเขาเปนภาคี
อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 หนว ยราชการท่ีเกี่ยวของกําลังดําเนินการ
ปรับปรุงแกไ ข กฎหมายภายในใหส อดคลอ งกับอนุสัญญาฯ เพ่ือใหไทยสามารถใชส ิทธิตามที่อนุสัญญาฯ
ใหไ ว อีกทั้งเพ่ือใหอ ํานาจ แก เจาหนา ท่ีในการบังคับใชก ฎหมายท่ีเกี่ยวกับการควบคุมกิจกรรมทางทะเล
ไดอยา งสมบูรณซ ่ึงจากการตรวจสอบ กฎหมายภายใน พบวามีกฎหมายที่ตองแกไขอีกหลายฉบับ ดังน้ัน
ปจ จุบันไทยยังขาดกฎหมายท่ีใหอํานาจ ในการควบคุมกิจกรรมทางทะเลไดอ ยา งเต็มที่ตามที่อนุสัญญาฯ
ใหสิทธิ อีกทั้งยังขาดองคค วามรูค วามเชี่ยวชาญและ ขาดยุทธศาสตรเ ชิงรุกในการดําเนินกิจกรรมทาง
ทะเลในทะเลหลวง (High Sea) และบริเวณพื้นที่ (The Area) ซึ่งเปนบริเวณท่ีอยูน อกเขตอํานาจของรัฐ
(Area beyond national jurisdiction) นอกจากน้ียังขาดกฎเกณฑเกี่ยวกับ การใหอ ํานาจ การกําหนด
และการควบคุมกิจกรรมตา งๆ ซึ่งอนุสัญญาฯใหส ิทธิรัฐอื่นเขามากระทําไดใ นเขตทางทะเล ของไทย อาทิ
การวางทอและสายเคเบิลใตทะเล การทําวิจัยวิทยาศาสตรท างทะเล (Marine Scientific Research)
เหตุดังกลาว สง ผลใหประเทศไทยไมส ามารถรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลไดอยางเต็มที่ และ
การดําเนนิ กจิ กรรม ทางทะเลของประเทศไทยไมเกดิ ความย่งั ยืน

3) การบริหารจัดการผลประโยชนของชาติทางทะเลของหนวยงานรัฐ ยังคงขาด
ประสิทธิภาพ เน่ืองจากขาดการประสานงานและบูรณาการระหวา งหนวยงาน รวมท้ังไมมีหนว ยงาน
เจาภาพในการจัดการผลประโยชน ของชาติทางทะเลท่ีมีอํานาจในการส่ังการตามกฎหมาย การไมมีศูนย
กลางขอมูลเชิงวิชาการทางทะเล อีกท้ังแตล ะหนวยงานยังคงขาดงบประมาณ ทําใหเ กิดปญหาในการ
บังคับใชก ฎหมาย นอกจากน้ีกฎหมายหลายฉบับลา สมัย และมีความซํ้าซอน ในอํานาจหนาท่ีของเจา
หนาท่ีซง่ึ เปนอุปสรรคตอการดําเนินการ รวมทั้งบางคร้ังมีขอจํากัด เชิงพน้ื ท่ีในการปฏิบัตหิ นาที่ ตลอดจน
บทบัญญัติทางกฎหมายของประเทศไทยยังไมค รอบคลุมทุกกรณีในทุกเขตทางทะเล ไมวาจะเปนในเขต
เศรษฐกิจจําเพาะ เขตไหลทวีปหรือในทะเลหลวง ทําใหหนวยงานและเจา หนา ที่ไมม ีอํานาจ ในการ
บงั คับใชก ฎหมายในพืน้ ท่ีดงั กลา ว

4) ปญ หาอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับทะเล ดานทา เรือและส่ิงอํานวยความสะดวก
ไทยมีทาเรือชายฝงทะเลทงั้ ของรัฐและเอกชนหลายแหง แตเกอื บท้งั หมดอยูในอาวไทย ทา เรือสินคา สาํ คัญ
ของไทยทางฝง อา วไทยประกอบดว ย ทาเรือแหลมฉบัง ทาเรือคลองเตย และทาเรือสงขลา โดยปจจุบัน
ทา เรือแหลมฉบังเปน ทา เรือหลักของประเทศมีขีดความสามารถ รับตูสินคา 2.5 ลานตูค อนเทนเนอรตอ ป
และมีศักยภาพที่จะขยายใหรับตูส ินคา ไดสูงสุด 20 ลา นตูค อนเทนเนอรต อ ป ทาเรือคลองเตยมีขีด
ความสามารถรับตูสินคา สูงสุด 1.5 ลานตูคอนเทนเนอรตอ ปสวนทาเรือสงขลามีขอจํากัด ในดา นการ
พัฒนา สําหรับทา เรือฝง อันดามันเปนทา เรือที่มีขีดความสามารถรองรับเรือสินคาไดอยา งจํากัด ไดแ ก
ทา เรือระนอง ทาเรือภูเก็ต และทา เรือกันตัง การท่ีไทยขาดทาเรือสินคา ขนาดใหญทางฝงตะวันตก ทําให
การขนสงสินคา และพลังงานผา นมหาสมุทรอินเดียตองพ่ึงพาชอ งแคบมะละกาเปน หลัก ซึ่งมีความเส่ียง
ดา นความม่ันคงจากการที่ประเทศไทยไมสามารถเขาไปดูแลชองแคบไดอยางเต็มที่ ดา นอุตสาหกรรม

25

ตอเรือและซอ มเรือ อุตสาหกรรมตอเรือของไทยยังไมพัฒนาและไมไดรับ การสนับสนุนจากภาครัฐ
เทา ที่ควร สวนหน่ึงอาจเปนเพราะอุปสงคภ ายในประเทศมีจํากัด อยางไรก็ตาม ไทยมีศักยภาพ
ท่ีจะพัฒนาอูตอเรือในประเทศใหตอเรือขนาดใหญได ดา นผูประกอบการอุตสาหกรรมและการคา
ที่เกี่ยวเนื่องกับทะเลนับวา มีศักยภาพสูงในดา นการคา ระหวา งประเทศ ในการที่จะสรางความม่ังคั่งให
ประเทศ ซึ่งจะเปน ส่ิงชวยเสริมสรา งพลังอํานาจแหงชาติทางทะเล ดา นอุตสาหกรรมการทองเท่ียวทาง
ทะเล การพฒั นาการทองเท่ียวอยางรวดเร็วกําลังเปนปญ หา เน่ืองจากความเสื่อมโทรมของแหลงทอ งเทีย่ ว
ทางทะเล อันเนื่องมาจากประชาชนยังขาดความตระหนักในการอนุรักษ และการใชท รัพยากรธรรมชาติ
อยา งยั่งยืนประกอบกบั กฎระเบยี บที่เกย่ี วขอ งยงั ไมมปี ระสทิ ธิภาพเพียงพอ ตอการบรหิ ารจัดการพน้ื ท่ีทาง
ทะเลและชายฝง

5) ปญหาทรัพยากรและการทําการประมง ปญ หาการทําประมงเกินกําลังผลิตเปน ผล
ใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝง ทะเล ปญหาการแยงชิงพื้นท่ีทําการประมง การประมงท่ีผิด
กฎหมาย ขาดการรายงานและไรการควบคุม (Illegal Unreported and Unregulated Fishing- IUU)
และปญหาความขัดแยง ในการใชเคร่ืองมือประมงตา งชนิดกัน โดยมีความพยายามที่จะใชเ คร่ืองมือท่ีมี
ประสิทธิภาพสูงแตผ ิดกฎหมายมากข้ึน เพ่ือชว งชิงทรัพยากรที่ลดลงและมีอยูอ ยา งจํากัดจนกอ ใหเ กิด
ความรุนแรงระหวา งชาวประมงดว ยกัน และเปนปจจัยหน่ึงที่ผลักดันใหมีการกระทําผิดกฎหมายมากข้ึน
สําหรับปญหาการทําประมงตางประเทศ เรือประมงไทยบางสว นไดลักลอบ เขาไปทําประมงและถูกเรือ
ของทางการประเทศเพ่ือนบานจับกุมอยูบอยคร้ัง ในขณะท่ีสถานการณก ารทําประมง ในเขตเศรษฐกิจ
จาํ เพาะและประมงนอกนานน้ํายังมีความไมเ ปน เอกภาพของผูป ระกอบการประมงไทย รวมทั้งยังไมไดรับ
การสงเสริมอยา งเต็มทจ่ี ากภาครัฐ ตลอดจนยังประสบปญหาจากภัยคุกคามขามชาติ อยา งปญ หาโจรสลัด
อกี ดว ย

6) การแยงชิงทรัพยากรในทะเลระหวา งกลุม ผลประโยชนภายในชาติความตองการใช
ทรัพยากร จากทะเลที่มีมากข้ึน ทั้งเพื่อการบริโภคในประเทศ และการผลิตเพื่อสง ออก สง ผลใหเ กิดการ
แยง ชิงทรัพยากร ในทะเลระหวา งคนในชาติ จนนําไปสูค วามขัดแยง ในสังคม ซ่ึงนับวันจะทวีความรนุ แรง
มากขึ้น อาทิความขัดแยง ระหวา งชาวประมงพื้นบา นกับผูป ระกอบการประมงพาณิชย ความขัดแยง
ระหวา งเรือประมงกับกิจการ เพาะเล้ียงสัตวนํ้าชายฝง ความขัดแยงระหวา งชาวประมงกับผูประกอบ
การทอ งเที่ยว ความขัดแยง ระหวา งชาวบาน ชาวประมง ผูป ระกอบการทองเที่ยวกับบริษัทขุดเจาะ
ปโ ตรเลยี มในทะเล เปนตน

7) ปญ หาการคาและขนสง ส่ิงผิดกฎหมายท่ีใชเสน ทางขนสง ทางทะเล มกี ารลักลอบคา และ
ขนสง สิ่งผิดกฎหมายที่ทําเปนเครือขายทั้งคนไทยและชาวตา งชาติโดยใชเ รือสินคา เรือทองเท่ียว และ
เรือประมง เปน พาหนะในการกระทําผิด โดยการลักลอบลําเลียงสินคาผิดกฎหมาย อาทิน้ํามันเถื่อน
ยาเสพติด อาวุธสงคราม ไม บุหรี่ สุรา เปน ตน โดยเฉพาะปญ หาการลักลอบคา น้ํามันเช้ือเพลิงท่ีมีการ
ประมาณการวา มีการลักลอบขนถายในทะเลเมื่อ พ.ศ. 2550 กวา 1,000 ลา นลิตร หรือเทียบเปน
มูลคา ท่ีรัฐสูญเสียประโยชนกวา 8,000 ลา นบาทตอ ป โดยเฉพาะในจังหวัดที่มีนานน้ําติดกับประเทศ
เพ่ือนบาน มีการลักลอบนําสินคา เขา และ ออกอยา งตอเนื่อง โดยเฉพาะการลักลอบสินคา อปุ โภค รวมท้ัง
การลักลอบนํานา้ํ มันเช้ือเพลิงเขาและออกไปจําหนาย โดยเล่ียงภาษีศลุ กากรในพ้นื ท่ีจงั หวัดชายฝงทะเลที่

26

มีเขตติดตอ กับประเทศเพื่อนบาน เชน เมียนมา และกัมพูชา เปนตน เนอ่ื งจากในประเทศไทยราคาน้ํามัน
ถูกกวา จึงมีกระบวนการลักลอบนํานํ้ามันเช้ือเพลิงเล่ียงภาษีศุลกากร จากประเทศมาเลเซียและสิงคโปร
เขามาจําหนายทางทะเลมากข้ึน ซึ่งปญหานี้เปนปญหาที่เร้ือรังมานาน จึงจําเปน ตอ งมีการบังคับใช
กฎหมายอยางจริงจงั

8) ปญหายาเสพติด กลุม ผูคา บางสว นใชการลักลอบขนสง ยาเสพติดโดยทางเรือทั้งภายใน
ภูมิภาค และนอกภูมิภาค เน่ืองจากสามารถหลีกเลี่ยงการตรวจจับไดงาย โดยซุกซอนปะปนไปในตูส ินคา
รวมทั้งขนสง ไดค ร้งั ละจํานวนมาก

9) การลักลอบคา อาวุธและอาวุธที่มีอํานาจทําลายลา งสูงทางทะเลยังมีการลักลอบนํา
อาวุธสงคราม เขาประเทศอยางตอ เนื่อง โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีฝง ทะเลอันดามัน รวมท้ังซุกซอนมากับ
เรือประมง อาวุธบางสวน อาจถูกนํามาใชในประเทศไทย โดยกลุมผูก อเหตุรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดน
ภาคใต กลุม ตอตา นรัฐบาลและ เครือขายอาชญากรรมในประเทศ สว นปญ หาเร่ืองการขนสงอาวุธท่ีมี
อานุภาพทําลายลางสูงและวัสดุอุปกรณ ท่ีใชส รางอาวุธดังกลา วผา นทางทะเลกําลังจะเปนปญ หาสําคัญ
ของไทยโดยเฉพาะอยา งย่ิงอาวุธทําลายลา งสูง หรือเทคโนโลยี/วัสดุ/อุปกรณใ นการผลิตอาวุธนิวเคลียร
ประเด็นน้ีนับวา ออ นไหวอยา งมากในเร่อื งความสัมพันธ ระหวา งประเทศ

10) ปญ หาการหลบหนีเขา เมืองโดยผิดกฎหมาย แรงงานตา งดาว และการคา มนุษย
เน่ืองจากภาคเอกชนของไทยมีความตอ งการใชแรงงานปริมาณมากและราคาถูก ประกอบกับปญหา
เศรษฐกิจภายใน ของประเทศเพื่อนบา น สงผลใหม ีการดําเนินการในรูปแบบของขบวนการลักลอบ
ขนคนขา มชาติและการคามนุษยขา มชาติ ท้ังไทยยังประสบปญหาการท่ีแรงงานจากประเทศอ่ืนใชเ ปน
เสนทางลักลอบผา นเพ่ือไปทํางานยังประเทศท่ีสาม ทําใหการหลบหนีเขา เมืองโดยผิดกฎหมายปรากฏอยู
ตลอดแนวทางทะเลอยา งตอ เน่ือง และมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยหลายกรณีเปน ประเด็นที่ละเอียดออ น
โดยเฉพาะเร่ืองสิทธิมนุษยชนที่สื่อมวลชน NGOs องคก ารระหวา งประเทศ และรัฐบาลตางประเทศให
ความสําคัญ ดังน้ันการแกไ ขปญ หาดังกลาวอยา งยั่งยืนจะตองอาศัยความรวมมือ จากประเทศตางๆ และ
องคก ารระหวางประเทศที่เกี่ยวขอ ง โดยดําเนินการท้ังในระดับทวิภาคีและพหุภาคี เนนการแกไ ขปญหา
ท่ีตนเหตุนอกจากนี้ผลจากกรณีท่ีประเทศสหรัฐอเมริกาไดแถลงรายงานสถานการณก ารคามนุษย หรือ
TIP Report ประจําป 2557 ตามกฎหมายวา ดว ยการปกปองเหยื่อการคามนุษย ค.ศ.2000 (Trafficking
Victims Protection Act of 2000) โดยประกาศลดอันดับการคา มนุษยของไทยมาอยูท่ีระดับ 3 (Tier 3
Watch List) ซึ่งถือวาเปนระดับต่ําสุด โดยรายงานดังกลาวระบุถึงปญหาการปราบปรามการคามนุษย
ในอุตสาหกรรมประมง การนําแรงงานตา งดาวมาบังคับใชแ รงงานและคาประเวณีของไทย ทําใหเ กิดภาพ
ลักษณ ในเชิงลบตอ สินคาประมงไทยในสายตาชาวตา งประเทศ และอาจนําไปสูความเสียหายตอ การสง
ออกสินคา ของไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมประมงซ่ึงมมี ูลคา สงออกถึง 270,000 ลานบาท และแรงงานที่
ทํางานในอุตสาหกรรมนี้มีจํานวนประมาณ 1 ลา นคน ตั้งแตภาคการทําประมง ฟารมเพาะเลี้ยงสัตวน ้ํา
สถานแปรรูปเบอื้ งตน อุตสาหกรรมประมงตอ เนอื่ ง และอตุ สาหกรรมสนับสนนุ อ่ืนๆ

11) ปญ หาภัยพิบัติและอุบัติภัยทางทะเล ภัยพิบัติทางทะเล สถานการณท ่ีมีความเสี่ยง
ตอประเทศไทย ไดแก พายุ สึนามิ (Tsunami) คล่ืนพายุซัดฝง (Strom Surge) อีกท้ังการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพภูมิประเทศตามแนวชายฝง เนื่องจากการกัดเซาะ และการเพ่ิมข้ึนของระดับนํ้าทะเลมี

27

แนวโนม เพ่ิมข้ึนและจะสง ผลกระทบอยางมากในระยะเวลาอันใกล รวมท้ังปญ หาการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพภูมิอากาศที่กําลังเปน ประเด็นปญ หาสําคัญทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองตลอดจนความ
เปน อยูข องประชาชนบรเิ วณชายฝง ทะเลและพ้ืนท่ีใกลเคียง อุบัติภัยทางทะเลสวนใหญม ีสาเหตุจากกรณี
เรือลม เรือจม และอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนภายในเรือ ทําใหเกิดคราบนามันรั่วไหล ซ่ึงจะสงผลกระทบ
ตอทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ มและระบบนิเวศในบริเวณน้ัน จึงจําเปนอยา งยิ่งท่ีตองสนับสนุนและ
ผลักดันใหเกิดการสรา งยุทธศาสตรและแผนรองรับในการเตรียมความพรอม และการเผชิญภาวะฉุกเฉิน
อยา งเปนระบบและทนั ทว งที

12) ปญ หาผูกอการรา ยในหวงป 2555 – 2557 ไทยไดร ับผลกระทบจากปญหาการ
กอการรา ยสากล โดยตรงจากการท่ีกลุม กอการรา ยเขามาโจมตีผลประโยชนข องอิสราเอลและของชาติ
ตะวันตกในไทย รวมทั้งพบกรณี ความเก่ียวขอ งของสมาชิกกลุม กอ การรายเขา มาจัดหาเอกสารเดินทาง
ปลอมและสารและชิ้นสวนประกอบระเบิด ในไทยเพื่อนําไปใชก อเหตุในประเทศที่สามดวย ขณะท่ีใน
ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตก ็มีความเปนไปได ท่ีเครือขายกอการรายอาจจะแสวงประโยชนใ ช
เสน ทางคมนาคมทางทะเลในลักษณะของการหลบหนีเขา เมือง โดยผิดกฎหมายและลักลอบขนอาวุธ
สําหรับการคุกคามทางทะเลจากกลุมกอ การรา ยน้ันเคยปรากฏขอมูลทางการขา ววา กลุมกอการรายมี
แผนการจะโจมตีเรือเดินสมุทรของชาติตะวันตกในบริเวณลอแหลม ที่งายตอการโจมตี เชน บริเวณชอ ง
แคบมะละกา หมูเกาะในอินโดนีเซีย ในขณะท่ีความหว งกังวล ที่เครือขายขบวนการกอ การรายสากลใน
อินโดนีเซียจะใชเสน ทางผา นทางชองแคบมะละกา ลักลอบเขามาเคล่ือนไหว สนับสนุนกลุมผูกอเหตุ
รุนแรงใน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใตของไทยนั้น แมที่ผานมายังไมปรากฏวาเปนความจริง แตเพือ่ ความไม
ประมาท หนวยงานทเ่ี กีย่ วขอ งก็ควรจะตดิ ตามสอดสอ งเรือ่ งน้ีไวดว ย

13) ปญหาการกระทําอันเปนโจรสลัดและการปลน เรือโดยใชอาวุธ (Piracy and Armed
Robbery at Sea) ปญ หาภัยคุกคามจากโจรสลัดที่สําคัญท่ีสง ผลกระทบตอไทย ไดแก พื้นท่ียานอันตราย
ในเขตนานนํ้าโซมาเลีย อา วกินีในเขตนา นน้ําแอฟริกาตะวันออก บริเวณชองแคบมะละกาและทะเลจีนใต
โดยปจ จุบันพบวา ปฏิบัติการของโจรสลัดในเขตนา นน้ําโซมาเลียมีอัตราลดลงเนื่องจากความรว มมือของ
นานาประเทศในการจัดการปญหา แตย ังเปนเพียงการแกไ ขปญหาเฉพาะหนาเทา นั้น สําหรับปฏิบัติการ
ของโจรสลัดไนจีเรียในนา นนํ้าแอฟริกาตะวันออก ที่มีอัตราสูงข้ึน สว นชองแคบมะละกาเปน เสน ทางขน
สง สินคาสําคัญท่ีไทยตองพ่ึงพา เน่ืองจากทาเรือขนถา ยสินคาหลักอยูท างดานอาวไทย การลําเลียงสินคา
สําคัญโดยเฉพาะการนําเขานํ้ามันของไทยลว นตองอาศัยชองแคบมะละกาทั้งส้ิน ดังนั้น การคุกคามของ
โจรสลัดในชอ งแคบมะละกาที่ยังคงมีอยูเปน ระยะจําเปน ตอ งไดรับความรว มมือการลาดตระเวนรว ม
ในชองแคบมะละกาและมาตรการของรัฐชายฝง ระหวางมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร และไทย รวมถึง
การใชกลไก ความตกลงวา ดว ยความรว มมือระดบั ภูมิภาคเพื่อการตอ ตา นโจรสลดั ในการแกไขปญ หาไดแ ก
ความตกลงวา ดว ยความรว มมือระดับภูมิภาคเพื่อการตอ ตานการกระทําอันเปน โจรสลัดและการปลนเรือ
โดยใชอ าวุธในเอเชีย (Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed
Robbery against Ships in Asia - ReCAAP) และมาตรการ ปอ งกันภัยจากโจรสลัดท่ีกาํ หนดโดยองคกร
ทางทะเลระหวางประเทศ (International Maritime Organization-IMO)

28

14) ปญหาการกระทําผิดกฎหมายการเดินเรือมีเรือประเภทตางๆ ที่ท้ังทําเปน เรือประมง
และ เรือทองเท่ียวจํานวนมากที่กระทําผิดกฎหมาย เชน การไมจ ดทะเบียนเรือ ผูปฏิบัติงานในเรือไมม ี
ใบอนุญาตที่ถกู ตอง ทั้งน้ีการควบคุมและตรวจสอบยังเปนไปอยา งจํากัด เนื่องจากยังขาดประสิทธิภาพใน
การดําเนนิ การบงั คับใชกฎหมาย

2.1.8 กฏหมายทีเ่ ก่ยี วของกบั การกระทาํ ความผิดทางทะเล
1) พระราชบัญญัติใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําความผิดบางอยางทางทะเล

พ.ศ. 2490
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติใหอํานาจทหารเรือปราบปราม

การกระทาํ ความผิดบางอยางทางทะเล พ.ศ. 2490”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจ

จานเุ บกษาเปนตน ไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติน้ี คําวา “เจาหนาที่ทหารเรือ” หมายความถึงนายทหาร

เรือประจําการช้ันสัญญาบัตรซึ่งดํารงตําแหนงผูบังคับการเรือ ผูบังคับหมูเรือ ผูบังคับหมวดเรือ ผูบังคับ
กองเรือ รวมท้ังตําแหนงอ่ืนท่ีผูบัญชาการทหารเรือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเทียบเทากับ
ตําแหนงท่ีกลาวแลวและนายทหารเรือประจําการชั้นสัญญาบัตรท่ีผูบัญชาการทหารเรือไดประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาแตงต้ังขน้ึ โดยเฉพาะ

มาตรา 4 เมื่อปรากฏวามีการกระทําหรือมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําเก่ียวกับ
การนําขาวหรือสินคาอื่นหรือยาเสพติดออกไปนอกหรือเขามาในราชอาณาจักร หรือการท่ีคนตางดาว
เขามาหรือนําคนตางดาวเขามาในราชอาณาจักร ทั้งนี้ โดยทางทะเล ทางลํานํ้าซึ่งติดตอกับตางประเทศ
หรือทางลําน้ําซึ่งออกไปสูทะเลได หรือทําการประมงทางทะเลอันเปนความผิดตอกฎหมายวาดวยการ
สํารวจและหามกักกันขาว กฎหมายวาดวยการควบคุมเคร่ืองอุปโภคบริโภคและของอื่นๆ ในภาวะคับขัน
กฎหมายวาดวยการสงออกไปนอกและการนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งสินคา กฎหมายวาดวยแร
กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง หรือกฎหมายเกี่ยวกับการประมง ใหเจาหนาที่
ทหารเรือมีอํานาจสืบสวนและสอบสวนได และมีอํานาจทําการหรือส่ังใหทําการเฉพาะหนาเทาท่ีจําเปน
ดงั ตอไปนี้

(1) ตรวจ คน และบังคับผูควบคุมเรือและคนประจําเรือใหร้ือหรือขนสิ่งของ
ในเรือเพ่อื การตรวจคน

(2) จับเรือ และบังคับผูควบคุมเรือและคนประจําเรือใหพวงเรือ หรือใหทํา
การอืน่ เพ่อื ใหเ รอื น้นั ไปยงั ทีซ่ ่ึงสะดวกแกการตรวจคน การสอบสวน หรือการดําเนนิ คดี

(3) ยึดเรือที่จับไวจนกวาจะมีคําส่ังเด็ดขาดไมฟองผูตองหา หรือจนกวาศาล
จะมีคาํ สั่งเปนอยางอื่นในกรณที ่ฟี องผตู องหา

(4) จับและควบคุมผูตองหาวากระทําความผิดไวไดไมเกินเจ็ดวัน เมื่อพน
กําหนดตองปลอ ยหรือสงตัวใหพ นักงานสอบสวนพรอมดวยสํานวนการสอบสวนเทาทที่ ําไว

29

มาตรา 5 เพื่อปฏิบัติการตามความในมาตรา 4 ใหเจาหนาท่ีทหารเรือมีอํานาจส่ังและ
บงั คับใหผ ูค วบคมุ เรือและคนประจาํ เรอื ลาํ ท่ีใชห รือสงสยั วาใชในการกระทําความผดิ หรือทค่ี วามผดิ เกิดขึ้น
หรือสงสัยวา เกิดข้ึน หยุดเรอื หรือนําเรือไปยังที่ใดท่หี นง่ึ ถา ไมป ฏิบัติตามก็ใหมีอาํ นาจดําเนินการใด ๆ เพื่อ
บังคับใหปฏบิ ัตติ ามหรอื เพอ่ื นําเรอื ไปหรือเพอื่ ปองกันการหลบหนี

การสั่งหรือบังคับใหหยุดเรือหรือใหนําเรือไปยังท่ีใดที่หน่ึงตามความในวรรคกอนอาจ
ทําโดยใชอาณัติสัญญาณอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางก็ได แตอาณัติสัญญาณที่จะใชนั้น
ผูบัญชาการทหารเรือตอ งประกาศกาํ หนดไวในราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา 6 นอกจากอํานาจที่ใหไวตามมาตรา 4 ใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจ
เชนเดียวกับพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา

มาตรา 7 ในกรณีที่เจาหนาที่ทหารเรือทําการสอบสวนตามมาตรา 4 ใหเจาหนาที่
ทหารเรือมีอํานาจและหนา ทีเ่ ชน พนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

มาตรา 8 การแยงคําสั่งไมฟองของพนักงานอัยการตามความในประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา ในกรณีท่ีเจาหนาที่ทหารเรือเปนผูสงสํานวนและมีความเห็นควรสั่งฟองไปยัง
พนักงานอัยการนั้น ใหผูบัญชาการทหารเรือเปนผูใชอํานาจของอธิบดีกรมตํารวจหรือขาหลวงประจํา
จงั หวัด แลวแตกรณี

มาตรา 9 ในกรณีที่เจาหนาที่ทหารเรือสงตัวผูตองหาใหพนักงานสอบสวนดําเนินการ
ตามอํานาจหนาที่ตอ ไป มิใหถือวาการควบคุมตัวผูตองหาซึ่งไดกระทํามากอนที่พนักงานสอบสวนไดรับตัว
ผตู องหานนั้ เปนการควบคมุ ของพนกั งานสอบสวน

2) พระราชบัญญัติเพ่ิมอํานาจตํารวจในการปองกันและปราบปรามการกระทําผิดทางน้ํา
(ควบคุมการกระทาํ ผดิ ทางเรอื หรืออากาศยานทางนํ้า) พ.ศ. 2496

มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ยานพาหนะ” หมายความวา เรือซึ่งใชเดินทางออก
ไปสูหรือเขามาจากทะเล หรือระหวางราชอาณาจักรกับดินแดนตางประเทศ และหมายความรวมถึง
อากาศยานที่ขึ้นลงบนพน้ื น้ําดวย

มาตรา 4 ในการปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวกับการคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญาในยานพาหนะ ใหนายตํารวจช้ันสัญญาบัตรในกองตํารวจน้ํา กรมตํารวจ ทําการคนไดทุกเวลาโดย
ไมต อ งมหี มาย

มาตรา 5 ในเมื่อมีพฤติการณอันควรสงสัยวาจะมีหรือไดมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น
ในยานพาหนะใด ใหนายตํารวจชั้นสัญญาบัตรในกองตํารวจน้ํา กรมตํารวจ มีอํานาจสั่งหามมิใหผูใดซ่ึง
มิใชเจาพนักงานที่กฎหมายบัญญัติใหมีอํานาจและหนาที่เก่ียวกับยานพาหนะขึ้นไป หรือนําเรือ แพ หรือ
พาหนะชนดิ ใด ๆ เขาเทยี บยานพาหนะน้ัน เวนแตจ ะไดรับอนุญาต ในการส่ังหามเชน วานี้ จะตอ งแจงใหผู
ควบคุมยานพาหนะนนั้ ทราบดว ย

การสั่งหามดังกลาวในวรรคกอน จะกระทําโดยวิธีใดใหเปนไปตามระเบียบซึ่งอธิบดี
กรมตํารวจกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในระเบียบเชนวาน้ีจะกําหนดใหผูควบคุม

30

ยานพาหนะแสดงเครื่องหมายอยางใด เพื่อใหทราบวาไดมีการหามดังกลาวแลว ตลอดจนกําหนดวิธีการ
ขออนญุ าตและเงื่อนไขในการอนญุ าตไวด วยก็ได

มาตรา 6 ในการส่ังใหผูควบคุมยานพาหนะหยุดยานพาหนะ หรอื นํายานพาหนะไปยัง
ที่ใด เพราะมีพฤติการณอันควรสงสัยวามีการใชยานพาหนะน้ันในการกระทําความผิด หรือมีความผิด
เกิดข้ึนในยานพาหนะนั้น นายตํารวจช้ันสัญญาบัตรในกองตํารวจน้ํา กรมตํารวจ อาจใชสัญญาณอยางใด
อยางหน่ึงหรอื หลายอยาง ตามที่อธิบดกี รมตํารวจกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และผูควบคุม
ยานพาหนะจะตอ งใหค วามสะดวกตามสมควรแกต ํารวจในการทีจ่ ะขึ้นไปบนยานพาหนะน้นั

มาตรา 7 ผูใดฝาฝนคําสั่งตามมาตรา 5 วรรคแรก หรือฝาฝนไมปฏิบัติตามสัญญาณ
หรอื ไมใหค วามสะดวกตามความในมาตรา 6 มีความผิดตอ งระวางโทษปรับไมเกินหน่ึงพันบาท

มาตรา 8 ใหรฐั มนตรวี าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี
3) พระราชบญั ญัติปอ งกนั และปราบปรามการกระทําอันเปน โจรสลดั พ.ศ. 2534

มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั นิ ้ี
“เจาหนาที่ทหารเรือ” หมายความวา นายทหารเรือประจําการช้ันสัญญาบัตรซ่ึงดํารง
ตําแหนงผูควบคุมเรือ ผูบังคับการเรือ ผูบังคับหมูเรือ ผูบังคับหมวดเรือ ผูบังคับการกองเรือ ผูบัญชาการ
กองเรอื ผูบัญชาการหนว ยบัญชาการนาวิกโยธิน ผูบญั ชาการกองเรือยุทธการ ผูบญั ชาการทหารเรือ หรือ
ตําแหนงอื่นท่ีผูบัญชาการทหารเรือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหเทียบเทากับตําแหนงดังกลาวและ
นายทหารเรอื ประจาํ การชน้ั สัญญาบตั รซง่ึ ผบู ญั ชาการทหารเรอื ไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
“กระทาํ การอันเปนโจรสลดั ” หมายความวา
(ก) ยดึ หรือเขาควบคุมเรอื ลาํ ใด โดยใชกําลังหรือโดยขูเขญ็ วาจะกระทําอนั ตรายตอเรือ
หรอื โดยใชกําลงั ประทุษรา ยหรือโดยขูเขญ็ วา จะใชกาํ ลังประทุษรายตอ บุคคลในเรือน้นั
(ข) ทําลายเรือ ทําใหเกิดความเสียหายแกเรือ หรือกระทําดวยประการใด ๆ อันนาจะ
เปนเหตุใหเกดิ ความเสียหายแกเรือ
(ค) หนวงเหน่ียว กักขัง หรือกระทําดวยประการใด ๆ ใหผูอื่นปราศจากเสรีภาพใน
รางกาย หรอื
(ง) ชงิ ทรพั ย หรอื ปลนทรัพย
ซงึ่ ไดก ระทําในทะเลหลวงหรือในเขตเศรษฐกิจจาํ เพาะไมวาจะเปนของประเทศใดโดยบคุ คลในเรือเอกชน
หรอื อากาศยานเอกชนลําหนึ่งตอเรอื บุคคล หรือทรัพยสินในเรอื อีกลําหนึ่ง และไดกระทําไปเพ่ือประโยชน
สว นตวั ของผูกระทาํ นนั้
“เรือเอกชนหรืออากาศยานเอกชน” หมายความรวมถึง เรือรบ เรือของรัฐบาลหรือ
อากาศยานของรัฐบาล ที่ถูกยึดหรือเขาควบคุมโดยบุคคลประจําเรือหรืออากาศยานน้ันซึ่งกอการกําเริบ
หรือถูกยึดหรือเขา ควบคุมโดยบคุ คลอ่นื ดว ย
“สืบสวนสอบสวนเบื้องตน” หมายความวาแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานรวบรวม
พยานหลักฐานหรือดําเนินการทั้งหลายอ่ืนตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ีซึ่งเจาหนาที่ทหารเรือได
กระทําไปเก่ียวกับการกระทําอันเปนโจรสลัด เพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือทราบรายละเอียดแหง
ความผิดหรือพสิ จู นค วามผดิ หรือเพ่อื ใหไดต วั ผกู ระทําความผิดมาสง มอบใหแกพนักงานสอบสวนตอ ไป

31

มาตรา 5 ใหเจาหนาท่ีทหารเรือมีอํานาจดําเนินการตามความจําเปนเพื่อปองกันและ
ปราบปรามการกระทําอันเปนโจรสลัด รวมท้ังมีอํานาจสืบสวนสอบสวนเบื้องตนเกี่ยวกับการกระทําอัน
เปนโจรสลัด และใหถือวา การสืบสวนสอบสวนเบ้ืองตนที่ทาํ ไวเปนสวนหน่ึงของการสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา

มาตรา 6 ใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจตรวจสอบเรือหรืออากาศยานท่ีมีเหตุอันควร
สงสัยวาจะมีหรอื ไดมีการกระทาํ อันเปน โจรสลัด โดยใหมอี ํานาจดาํ เนนิ การ ดงั ตอไปน้ี

(1) สงเรือหรอื อากาศยานในบังคับบญั ชาไปยงั เรือท่ีตอ งสงสัยนน้ั เพื่อตรวจสอบเอกสาร
ทแ่ี สดงสทิ ธใิ นการชักธง หากยงั มีความสงสยั อยู กใ็ หดําเนนิ การตรวจคน บนเรือนั้นตอไปไดเทาทจ่ี ําเปน

(2) สอบถามและตรวจพิสูจนสัญชาติและทะเบียนของอากาศยานท่ีตองสงสัยรวมท้ัง
การปฏิบัติตามแผนการบนิ และรายละเอียดเกีย่ วกบั อากาศยานนัน้

เพ่ือประโยชนในการดําเนินการตาม (1) หรือ (2) ใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจสั่ง
หรือบังคับใหเรือหรืออากาศยานที่มีเหตุอันควรสงสัยวาจะมีหรือไดมีการกระทําอันเปนโจรสลัด หยดุ หรือ
ไปยังที่แหงใดแหงหนึ่ง หรือลงยังสนามบินหรือท่ีข้ึนลงชั่วคราวแหงใดแหงหนึ่ง และในกรณีจําเปนอาจใช
อาวุธบงั คับได

การตรวจสอบสิทธิในการชักธงของเรือการสอบถามและตรวจพิสูจนสัญชาติและ
ทะเบียนของอากาศยาน การสั่งหรือบังคับใหเรือหรืออากาศยานหยุดหรือไปยังที่แหงใดแหงหนึ่ง หรือลง
ยังสนามบินหรือท่ีข้ึนลงช่ัวคราวแหงใดแหงหนึ่ง ใหกระทําโดยใชอาณัติสัญญาณตามท่ีผูบัญชาการ
ทหารเรอื ประกาศกาํ หนดในราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา 7 เมื่อเจาหนาท่ีทหารเรือส่ังหรือบังคับใหเรือหรืออากาศยานหยุดหรือไปยังท่ี
แหงใดแหงหนึ่ง หรือลงยังสนามบินหรือที่ขึ้นลงช่ัวคราวแหงใดแหงหน่ึงตามมาตรา 6 แลว ใหเจาหนาท่ี
ทหารเรือมีอาํ นาจปฏิบตั ิตอ เรือหรืออากาศยานและบุคคลในเรือหรอื อากาศยานน้นั ดังตอ ไปน้ี

(1) ตรวจคน เรอื หรอื อากาศยาน
(2) สืบสวนสอบสวนเบื้องตนผูควบคุมเรือหรอื อากาศยานและบุคคลในเรอื หรืออากาศ
ยาน
(3) ถาการตรวจคน เรือหรืออากาศยาน หรือการสืบสวนสอบสวนเบ้ืองตนมเี หตุอันควร
สงสัยวาจะมีหรือไดมีการกระทําอันเปนโจรสลัด ใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจจับกุมและควบคุมผูตอง
สงสัย ตลอดจนควบคุมเรือหรืออากาศยานและสิ่งของที่จะใชหรือไดใชในการกระทําความผิด หรือไดมา
จากการกระทําความผิด
หามมิใหควบคุมเรือหรืออากาศยาน ผคู วบคุมเรือหรอื อากาศยานหรือบุคคลในเรือหรือ
อากาศยานไวเ กนิ ความจาํ เปนตามพฤติการณแหงคดี
มาตรา 8 ในกรณีจําเปนเพ่ือประโยชนในการสืบสวนสอบสวนเบ้ืองตนหรือการ
สอบสวน เจาหนาท่ีทหารเรือหรือพนักงานสอบสวนมีอํานาจควบคุมเรือหรืออากาศยานที่ถกู ควบคุมผาน
เขตเศรษฐกิจจําเพาะ ไมวาจะเปนของประเทศใด หรือทะเลหลวงไปยังที่แหงใดแหงหนึ่งได โดยผูใด
จะอางเหตดุ งั กลาวมารองขอใหปลอยเรอื หรืออากาศยานทีถ่ ูกควบคุมนน้ั ไมไ ด

32

มาตรา 9 ถาการสืบสวนสอบสวนเบื้องตนไมปรากฏวาผูควบคุมเรือหรืออากาศยาน
และบุคคลในเรือหรืออากาศยานไดกระทําการอันเปนโจรสลัดใหเจาหนาที่ทหารเรือปลอ ยเรือหรืออากาศ
ยานและผูควบคุมเรอื หรืออากาศยานตลอดจนบุคคลในเรอื หรืออากาศยานนนั้

ในกรณีท่ีเจาหนาท่ีทหารเรือไดควบคุมหรือยึดเรือหรืออากาศยานหรอื ส่ิงของอื่นโดยมี
เหตุอันสมควร คาภาระหรือคาใชจายอันเกิดจากการเก็บรักษาเรือหรืออากาศยานหรือส่ิงของดังกลาวไว
ถาเปนคาภาระหรือคาใชจายท่ีเจาของหรือผูครอบครองตองจัดใหมีหรือใชจายอยูแลวตามปกติ
ใหผ ูควบคุม ผคู รอบครองหรอื เจาของเรอื หรอื อากาศยานเปน ผูร ับผดิ ชอบ

มาตรา 10 เมื่อเจาหนาท่ีทหารเรือไดปฏิบัติการเทาที่จําเปนตามมาตรา 7 แลว
ใหเจาหนาท่ีทหารเรือจัดสงผูตองหาพรอมดวยเรือหรืออากาศยานและสิ่งของที่ยึดไวและบันทึกท้ังปวงที่
เก่ียวของในคดีท่ีทําไวไปยังพนักงานสอบสวนแหงทองที่ที่ผูบัญชาการทหารเรือและอธิบดีกรมตํารวจ
รวมกันกําหนดโดยไมชักชาเวนแตในกรณีที่เปนเรือหรืออากาศยานหรือสิ่งของอื่นที่พนักงานสอบสวนไม
อาจเก็บรักษาไวได ใหเจาหนา ทที่ หารเรือยดึ ไวแ ทนพนักงานสอบสวน

มาตรา 11 ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี เจาหนาท่ีทหารเรือไมตองรับผิดเปน
สว นตัวในบรรดาความเสียหายท่ีเกิดขึน้ เวนแตจะไดกระทําโดยจงใจใหเกิดความเสียหาย หรือโดยความประมาท
เลินเลอ อยางรายแรง

มาตรา 12 ในการปฏิบัติหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจและ
หนาท่ีเชนเดียวกับพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจช้ันผูใหญและพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญา

มาตรา 13 ในกรณที ี่เจาหนาที่ทหารเรือจัดสง ผูตองหาใหพนักงานสอบสวนดําเนนิ การ
ตามอํานาจหนาที่ตอไป มิใหนับระยะเวลาควบคุมผูตองหาซึ่งไดกระทํามากอนน้ันเปนเวลาควบคุม
ผตู องหาของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแตระยะเวลาดังกลาวตองไม
เกินสามสิบวัน หากมีความจําเปนตองใชเวลาเกินกวา สามสิบวนั ใหเจาหนาที่ทหารเรอื ติดตอ ขอรับอนุมัติ
จากผบู ัญชาการทหารเรอื เพ่ือขยายเวลาออกไปอีกไดเทาที่จําเปน แกก ารเดนิ ทาง ในกรณที ี่นาํ ตวั ผูตอ งหา
มาถึงที่ทําการของเจาหนาท่ีทหารเรือแหงใดแหงหน่ึงหรือมีการจัดสงผูตองหาใหเจาหนาท่ีทหารเรือซ่ึง
ประจําการอยูบนฝงแลว เจาหนาท่ีทหารเรือจะควบคุมผูตองหาไวไดอีกไมเกนิ สิบสองวันนับแตวันที่มาถึง
ที่ทําการหรือท่ีประจําการซึ่งอยูบนฝง แตมิใหนับเวลาเดินทางตามปกติท่ีนําตัวผูตองหาสงใหพนักงาน
สอบสวนรวมเขาในระยะเวลาสิบสองวนั ดังกลา ว

มาตรา 14 ความผิดตามทีบ่ ัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ีใหช ําระท่ีศาลอาญาแตถา การ
สอบสวนไดกระทําในทองทที่ ี่อยใู นเขตอาํ นาจของศาลใด ใหช าํ ระท่ศี าลนั้นไดด วย
ถา เปนคดีที่อยูในเขตอํานาจศาลทหารตามกฎหมายวาดวยธรรมนญู ศาลทหารใหชําระท่ีศาลทหารกรุงเทพ
แตถา การสอบสวนไดกระทาํ ในทองที่ที่อยใู นเขตอํานาจของศาลทหารใด ใหชาํ ระทศ่ี าลทหารน้ันไดด ว ย

มาตรา 15 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยยึดหรือเขาควบคุมเรือโดยใชกําลังหรือ
โดยขูเข็ญวาจะกระทําอันตรายตอเรือ หรือโดยใชกําลังประทุษรายหรือโดยขูเข็ญวาจะใชกําลังประทุษรายตอ
บุคคลในเรอื นัน้ ตอ งระวางโทษจําคุกต้งั แตห า ปถึงสิบปและปรบั ตัง้ แตหาหมืน่ บาทถงึ หน่งึ แสนบาท

33

มาตรา 16 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยทําลายเรือ ตองระวางโทษประหารชีวิต จําคุก
ตลอดชวี ติ หรอื จาํ คกุ ต้งั แตหนงึ่ ปถ ึงย่ีสิบป

มาตรา 17 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยทําใหเกิดความเสียหายแกเรือจนเรือ
น้ันอยูในลักษณะอันนาจะเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกบุคคล ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหกเดือนถึงเจ็ดป
และปรับต้ังแตหาพันบาทถงึ เจ็ดหมื่นบาท

มาตรา 18 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยทําใหเกิดความเสียหายแกเรือ หรือ
กระทําดวยประการใด ๆ อันนาจะเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกเ รือ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหกเดือน
ถึงหา ป หรอื ปรับไมเกนิ หา หม่ืนบาท หรือทงั้ จาํ ทัง้ ปรับ

มาตรา 19 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยหนวงเหน่ียว กักขัง หรือกระทําดวย
ประการใดๆ ใหผูอื่นปราศจากเสรีภาพในรางกายตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหา ปถึงสิบปและปรบั ต้ังแตหา
หม่นื บาทถงึ หนึ่งแสนบาท

มาตรา 20 ผูใดกระทําการอันเปนโจรสลัด โดยชิงทรัพยหรือปลนทรัพย ตองระวาง
โทษจําคุกตง้ั แตสิบปถ ึงย่สี บิ ปแ ละปรบั ตง้ั แตหนึง่ แสนบาทถงึ สองแสนบาท

4) พระราชบัญญัติควบคุมการสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ และส่ิงท่ีใชในการ
สงคราม พ.ศ. 2495

มาตรา 3 เมื่อเห็นเปนการสมควรเพื่อประโยชนแหงความปลอดภัยของประเทศ หรือ
เพื่อธํารงไวซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ จะใหมีการควบคุมการสงออกไปหรอื การสงผาน
ไปนอกราชอาณาจกั รซงึ่ อาวุธยุทธภัณฑ และส่งิ ท่ีใชใ นการสงครามก็ได โดยตราเปน พระราชกฤษฎกี า

ส่ิงท่ีใชในการสงครามใหหมายความรวมตลอดถึงสัมภาระ พลังสงคราม อุปกรณการ
ลําเลียงท่ีมีคุณคาในการยุทธศาสตรและวัตถุที่มีประโยชนในการผลิตอาวุธ กระสุน และสิ่งที่ใชในการ
สงครามดวย

มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎีกาซึ่งออกตามความในมาตรา ๓ ใหระบุชนิดและประเภท
ของอาวธุ ยุทธภัณฑ และสง่ิ ท่ีใชใ นการสงคราม อันพึงควบคมุ
เพ่ือประโยชนใ นการควบคมุ จะระบุขอ กําหนดดังตอ ไปนไ้ี วด วยกไ็ ด คือ

(1) ประเทศหรือที่ที่หา มมิใหสงอาวธุ ยุทธภัณฑ และสงิ่ ที่ใชในการสงครามออกไป
(2) วิธีการเพื่อปองกันการสงอาวุธยุทธภัณฑ และส่ิงที่ใชในการสงครามที่ควบคุมผาน
ไปยังประเทศหรอื ท่ีทหี่ า มตาม (1)
(3) เงอ่ื นไขในการควบคุมตามความจําเปน แกพฤติการณ
มาตรา 5 ใหนําบทบัญญัติแหง กฎหมายวาดวยการศุลกากร เฉพาะอยางยิ่งวาดวยการ
ตรวจ การยึดและริบของ หรือการจับกุมผูกระทําผิด การแสดงเท็จ และการฟองรอง มาใชบังคับแกการ
ควบคุมอาวธุ ยทุ ธภัณฑและสิง่ ทใี่ ชใ นการสงครามตามพระราชบญั ญัตินดี้ ว ย
มาตรา 6 ผูใดฝาฝนบทบัญ ญั ติแหงพระราชกฤษฎีกาซึ่งออกตามความใน
พระราชบัญญัติน้ี มีความผิดตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินสองหม่ืนบาท หรือทั้งจําท้ัง
ปรับ

34

มาตรา 7 ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง และ
รัฐมนตรวี าการกระทรวงพาณิชยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

5) พระราชบัญญตั ปิ อ งกันและปราบปรามการคามนษุ ย (ขนสง ทางเรอื ) พ.ศ. 2551
มาตรา 6 ผูใดเพื่อแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ กระทําการอยางหนึ่งอยางใด

ดังตอ ไปน้ี
(1) เปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง

จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซ่ึงบุคคลใด โดยขมขู ใชกําลังบังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง ใชอํานาจโดยมิ
ชอบ หรือโดยใหเงินหรือผลประโยชนอยางอื่นแกผูปกครองหรือผูดูแลบุคคลน้ันเพ่ือใหผูปกครองหรือ
ผดู ูแลใหความยนิ ยอมแกผูกระทาํ ความผดิ ในการแสวงหาประโยชนจ ากบุคคลที่ตนดแู ล หรอื

(2) เปนธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง
จัดใหอยูอาศัย หรือรบั ไวซ ่ึงเด็กผนู ั้นกระทําความผิดฐานคา มนษุ ย

มาตรา 7 ผูใดกระทําการดังตอไปน้ีตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดฐาน
คามนษุ ย

(1) สนับสนนุ การกระทําความผิดฐานคา มนุษย
(2) อุปการะโดยใหทรัพยสิน จัดหาท่ีประชุมหรือท่ีพํานักใหแกผูกระทําความผิดฐาน
คามนษุ ย
(3) ชวยเหลือดวยประการใดเพื่อใหผูกระทําความผิดฐานคามนุษยพนจากการ
ถกู จบั กุม
(4) เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากผูกระทําความผิดฐาน
คา มนุษยเพ่ือมิใหผกู ระทําความผดิ ฐานคามนุษยถ ูกลงโทษ
(5) ชักชวน ชี้แนะ หรือติดตอบุคคลใหเขาเปนสมาชิกขององคกรอาชญากรรมเพื่อ
ประโยชนใ นการกระทําความผดิ ฐานคา มนุษย
มาตรา 8 ผูใดตระเตรียมเพ่ือกระทําความผิดตามมาตรา ๖ ตองระวางโทษหน่ึงในสาม
ของโทษทก่ี าํ หนดไวสาํ หรบั ความผิดน้นั
มาตรา 9 ผูใดสมคบโดยการตกลงกันตั้งแตสองคนขึ้นไปเพ่ือกระทําความผิดตาม
มาตรา 6 ตองระวางโทษไมเกนิ กง่ึ หน่ึงของโทษท่ีกฎหมายกําหนดไวสาํ หรับความผดิ น้ัน
ถา ผูทีส่ มคบกันกระทําความผดิ คนหน่งึ คนใดไดลงมือกระทําความผิดตามท่ีไดส มคบกัน
ผูรวมสมคบดว ยกนั ทุกคนตอ งระวางโทษตามที่ไดบญั ญัติไวส ําหรับความผิดนั้นอกี กระทงหนง่ึ ดว ย
ในกรณีท่ีความผิดไดกระทําถึงขั้นลงมือกระทําความผิด แตเน่ืองจากการเขาขัดขวาง
ของผูสมคบทําใหการกระทําน้ันกระทําไปไมตลอด หรือกระทําไปตลอดแลวแตการกระทําน้ันไมบรรลุผล
ผูสมคบท่กี ระทาํ การขัดขวางน้นั ตอ งรบั โทษตามทีก่ ําหนดไวในวรรคหนึ่ง
ถาผูกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งกลับใจใหความจริงแหงการสมคบตอพนักงาน
เจาหนาท่ีกอนที่จะมีการกระทําความผิดตามที่ไดมีการสมคบกัน ศาลจะไมลงโทษหรือลงโทษผูน้ันนอย
กวา ทีก่ ฎหมายกาํ หนดไวส ําหรับความผดิ นน้ั เพียงใดก็ได

35

มาตรา 10 ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 6 ไดกระทําโดยรว มกันต้ังแตสามคนข้ึน
ไปหรอื โดยสมาชิกขององคกรอาชญากรรม ตองระวางโทษหนักกวาโทษที่กฎหมายบญั ญตั ิไวก่ึงหน่ึง

ในกรณีที่สมาชิกขององคกรอาชญากรรมไดกระทําความผิดตามมาตรา 6 สมาชิกของ
องคกรอาชญากรรมทุกคนท่ีเปนสมาชิกอยูในขณะที่กระทําความผดิ และรูเห็นหรือยินยอมกับการกระทํา
ความผิดดงั กลา ว ตองระวางโทษตามที่บญั ญัตไิ วสําหรบั ความผิดนน้ั แมจะมไิ ดเปนผูก ระทาํ ความผิดน้ันเอง

ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งไดกระทําเพ่ือใหผูเสียหายที่ถูกพาเขามาหรือ
สง ออกไปนอกราชอาณาจักรตกอยใู นอาํ นาจของผูอน่ื โดยมิชอบดวยกฎหมาย ตองระวางโทษเปนสองเทา
ของโทษท่กี าํ หนดไวส ําหรับความผิดน้นั

มาตรา 11 ผูใดกระทําความผิดตามมาตรา 6 นอกราชอาณาจักร ผูน้ันจะตองรับโทษ
ในราชอาณาจักรตามทีก่ าํ หนดไวใ นพระราชบัญญัติน้ี โดยใหนํามาตรา 10 แหงประมวลกฎหมายอาญามา
ใชบังคับโดยอนโุ ลม

มาตรา 12 ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยแสดงตนเปนเจาพนักงาน
และกระทําการเปนเจาพนักงาน โดยตนเองมิไดเปนเจาพนักงานท่ีมีอํานาจหนาที่กระทําการนั้น
ตอ งระวางโทษเปนสองเทา ของโทษท่ีกําหนดไวส าํ หรบั ความผดิ นั้น

มาตรา 13 ผูใดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถ่ิน
ผูบริหารทองถ่ิน ขาราชการ พนักงานองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พนักงานองคการหรือหนวยงานของรัฐ
กรรมการหรอื ผบู ริหารหรอื พนกั งานรฐั วิสาหกิจ เจา พนักงาน หรือกรรมการองคก รตา ง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ
กระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ตอ งระวางโทษเปนสองเทา ของโทษท่กี าํ หนดไวส ําหรบั ความผดิ นน้ั

กรรมการ กรรมการ ปกค. อนุกรรมการ สมาชิกของคณะทํางาน และพนักงาน
เจาหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ ผูใดกระทําความผิดใดตามพระราชบัญญัตินี้เสียเอง ตองระวางโทษเปน
สามเทา ของโทษทีก่ ําหนดไวสาํ หรับความผิดนนั้

มาตรา 14 ใหความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีเปนความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542

มาตรา 54 ผูใดขัดขวางการสืบสวน การสอบสวน การฟองรอง หรือการดําเนินคดี
ความผิดฐานคามนุษย เพื่อมิใหเปนไปดวยความเรียบรอ ย ถาเปนการกระทําอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้
ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเกินสบิ ป หรือปรบั ไมเ กนิ สองแสนบาท หรือทงั้ จําท้งั ปรับ

(1) ให ขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอ ื่นใดแกผูเสียหายหรือพยานเพ่ือ
จูงใจใหผูน้ันไมไปพบพนักงานเจาหนาท่ี พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือไมไปศาลเพื่อให
ขอเท็จจริงหรือเบิกความ หรือเพื่อใหขอเท็จจริงหรือเบิกความอันเปนเท็จ หรือไมใหขอเท็จจริงหรือ
เบกิ ความ ในการดาํ เนนิ คดแี กผูก ระทาํ ความผิดตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

(2) ใชกําลังบังคับ ขูเข็ญ ขมขู ขมขืนใจ หลอกลวง หรือกระทําการอันมิชอบประการ
อื่นเพ่ือมิใหผูเสียหายหรือพยานไปพบพนักงานเจาหนาท่ี พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือไมไป
ศาลเพื่อใหขอเท็จจริงหรือเบิกความ หรือเพ่ือใหผูน้ันใหขอเท็จจริงหรือเบิกความอันเปนเท็จ หรือไมให
ขอเทจ็ จรงิ หรอื เบิกความ ในการดาํ เนินคดีแกผกู ระทาํ ความผดิ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้

36

(3) ทําใหเสียหาย ทําลาย ทําใหสูญ หายหรือไรประโยชน เอาไปเสีย แกไข
เปลี่ยนแปลง ปกปด หรือซอนเรน เอกสารหรือพยานหลักฐานใด ๆ หรือปลอม ทํา หรือใชเอกสารหรือ
พยานหลักฐานใด ๆ อันเปน เท็จในการดาํ เนินคดีแกผ ูกระทําความผดิ ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

(4) ให ขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดแกกรรมการ กรรมการ
ปกค. อนุกรรมการ สมาชิกของคณะทํางาน หรือพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ
เจาพนักงานในตําแหนงตุลาการ พนักงานอัยการ หรือพนักงานสอบสวน หรือเรียก รับ หรือยอมจะรับ
ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด เพื่อจูงใจใหกระทําการ ไมกระทําการ หรือประวงิ การกระทําอันมิชอบดวย
หนาท่ตี ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี หรอื

(5) ใชกําลังบังคับ ขูเข็ญ ขมขู ขมขืนใจ หรือกระทําการอันมิชอบประการอื่นตอ
กรรมการ กรรมการ ปกค. อนุกรรมการ สมาชิกของคณะทํางาน หรือพนักงานเจาหนาท่ีตาม
พระราชบัญญัติน้ีหรือเจาพนักงานในตําแหนงตุลาการ พนักงานอัยการ หรือพนักงานสอบสวน เพ่ือจูงใจ
ใหกระทําการ ไมก ระทาํ การ หรือประวงิ การกระทาํ อันมชิ อบดวยหนาทต่ี ามพระราชบญั ญัตินี้

6) พระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปน เครือ่ งกระสุนปน วตั ถุระเบิดดอกไมเ พลงิ และส่ิงเทยี มอาวุธ
ปน พ.ศ. 2490 (ลกั ลอบขนอาวธุ เถ่อื นทางเรือ)

มาตรา 4 ในพระราชบัญญตั ินี้
(1) “อาวุธปน” หมายความรวมตลอดถึงอาวุธทุกชนิดซึ่งใชสงเคร่ืองกระสุนปนโดยวิธี
ระเบดิ หรอื กําลงั ดันของแกส หรืออัดลมหรือเครือ่ งกลไกอยา งใด ซึ่งตองอาศัยอํานาจของพลังงาน และสว น
หนงึ่ สว นใดของอาวุธนน้ั ๆ ซ่งึ รัฐมนตรเี ห็นวาสาํ คัญและไดระบุไวใ นกฎกระทรวง
(2) “เครือ่ งกระสนุ ปน” หมายความรวมตลอดถงึ กระสุนโดด กระสุนปราย กระสนุ แตก
ลูกระเบิด ตอรปโ ด ทุนระเบิดและจรวด ทั้งชนิดท่ีมหี รือไมมีกรดแกส เชอื้ เพลิง เช้ือโรค ไอพษิ หมอกหรือ
ควัน หรือกระสุน ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิดและจรวด ท่ีมีคุณสมบัติคลายคลึงกัน หรือเครื่องหรือส่ิง
สําหรับอดั หรอื ทํา หรอื ใชป ระกอบเคร่ืองกระสนุ ปน
(3) “วัตถุระเบิด” คือ วัตถุที่สามารถสงกําลังดันอยางแรงตอส่ิงหอมลอมโดยฉับพลัน
ในเมื่อระเบิดข้ึน โดยมีสิ่งเหมาะมาทําใหเกิดกําลังดัน หรือโดยการสลายตัวของวัตถุระเบิดน้ันทําใหมีแรง
ทําลายหรือแรงประหาร กับหมายความรวมตลอดถึงเชือ้ ประทุตาง ๆ หรอื วัตถุอ่ืนใดอันมีสภาพคลายคลึง
กนั ซึง่ ใช หรือทาํ ข้นึ เพอื่ ใหเ กิดการระเบดิ ซึ่งรัฐมนตรจี ะไดประกาศระบุไวในราชกิจจานุเบกษา
(4) “ดอกไมเพลิง” หมายความรวมตลอดถึงพลุ ประทัดไฟ ประทัดลม และวัตถุอ่ืนใด
อันมสี ภาพคลา ยคลึงกัน
(5) “สิ่งเทียมอาวุธปน” หมายความวา สิ่งซ่ึงมีรูปและลักษณะอันนาจะทําใหหลงเช่ือ
วาเปนอาวุธปน
(6) “มี” หมายความวา มีกรรมสิทธ์ิหรือมีไวในครอบครองแตไมหมายความถึงการที่
อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดท่ีมีไวโดยชอบดวยกฎหมายและตกอยูในความครอบครองของ
บคุ คลอ่นื ซ่งึ ไมต องหามตามมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญัตินเี้ ทาทจ่ี ําเปนเพอ่ื รกั ษาส่งิ ทีว่ าน้ีมใิ หส ูญหาย
(7) “สั่ง” หมายความวา ใหบ คุ คลใดสง หรือนาํ เขา มาจากภายนอกราชอาณาจักร
(8) “นําเขา” หมายความวา นําเขา มาจากภายนอกราชอาณาจกั รไมวา โดยวิธใี ด ๆ

37

(9) “รฐั มนตรี” หมายความวา รัฐมนตรผี รู กั ษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี
มาตรา 7 หามมิใหผูใดทํา ซื้อ มี ใช สั่ง หรือนําเขา ซ่ึงอาวุธปนหรือเคร่ืองกระสุนปน
เวน แตจ ะไดร ับใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่
มาตรา 16 ในการนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเคร่ืองกระสุนปน ใหผูนําเขาแจงเปนหนังสือ
และสงมอบอาวุธปนหรือเคร่ืองกระสุนปนไวแกพนักงานศุลกากร ณ ดานที่แรกมาถึงจากนอก
ราชอาณาจักร เวนแตในกรณีซ่ึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังกําหนดใหมอบแกพนักงานศุลกากร
ณ ดา นอืน่
เมื่อพนักงานศุลกากรไดรับหนังสือแจงและรับมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไว
แลว ใหแ จง เปนหนงั สอื ไปยงั นายทะเบียนทองท่ที ใี่ กลท ีส่ ุด
แตถาผานเขามาในทองท่ีที่ไมมีดานศุลกากร ใหผูนําเขาแจงเปนหนังสือและสงมอบ
อาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวแกนายทะเบียนทองท่ี หรือผูทําการแทนนายทะเบียนทองที่ที่ใกลท่ีสุด
โดยไมชกั ชา
มาตรา 17 ภายในกําหนดเกาสิบวัน นับแตวันสงมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน
แกพนักงานศุลกากรหรือนายทะเบียนทองท่ีตามมาตรา 16 ในกรณีที่ผูนําเขายังไมไดรับอนุญาต ใหผูนํา
เขายืน่ คําขอรบั ใบอนุญาตนาํ เขา ซ่งึ อาวธุ ปน หรือเคร่อื งกระสุนปนนัน้ ตอนายทะเบียนทอ งทท่ี ่ตี นมีถ่นิ ท่ีอยู
ถานายทะเบียนอนุญาตใหนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน ใหผูนําเขาขอรับ
ใบอนุญาตภายในกําหนดหกสบิ วัน นับแตวนั รบั แจงความการอนญุ าตน้นั เปนหนังสือ
ถา นายทะเบียนไมอนุญาตใหสั่งเปนหนังสือ ใหผูนําเขาสงกลับออกนอกราชอาณาจกั ร
ซ่ึงอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นภายในกําหนดเวลาไมนอยกวาสามสิบวันและไมเกินหกเดือน นับแต
วนั ท่ีผนู าํ เขา ไดร บั คําสั่ง ในกรณีทไี่ มสามารถแจง คําส่ังใหผนู ําเขาทราบได ใหนายทะเบยี นโฆษณาคาํ สง่ั น้ัน
ทางหนังสือพิมพและปดประกาศในท่ีเปดเผยเปนเวลาไมนอยกวาเจ็ดวัน เม่ือพนกําหนดใหถือวาผูนําเขา
ไดท ราบคาํ สั่งนั้นแลว
มาตรา 24 หามมิใหผูใด ทํา ประกอบ ซอมแซม เปล่ียนลักษณะ สั่ง นําเขา มี หรือ
จําหนาย ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสําหรับการคา เวนแตจะไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน
ทองที่
มาตรา 38 หามมิใหผูใด ทํา ซื้อ มี ใช ส่ัง นําเขา คา หรือจําหนายดวยประการใด ๆ ซึ่ง
วัตถุระเบดิ เวนแตไ ดรับใบอนุญาตจากนายทะเบยี นทองท่ี
นายทะเบยี นจะออกใบอนญุ าตไดตอ เม่อื ไดร บั อนุมตั ิจากรัฐมนตรี
มาตรา 43 หามมิใหยายวัตถุระเบิดจากท่ีแหงหนึ่งไปยังอีกแหงหนึ่ง เวนแตไดรับ
หนังสืออนุญาตจากเจาพนักงานซึ่งรัฐมนตรีกําหนดไว และในการยายตองปฏิบัติตามเง่ือนไขในหนังสือ
อนญุ าตนั้นดว ย
มาตรา 47 หามมิใหผูใดทํา ส่ัง นําเขา หรือคาซ่ึงดอกไมเพลิง เวนแตจะไดรับ
ใบอนญุ าตจากนายทะเบยี นทอ ที่
มาตรา 52 หามมิใหผูใดส่ัง นาํ เขา หรือคาซ่ึงส่ิงเทยี มอาวธุ ปน เวน แตไดรบั ใบอนญุ าต
จากนายทะเบียนทอ งที่

38

มาตรา 61 อาวุธปน เครือ่ งกระสุนปน วัตถรุ ะเบิด ดอกไมเพลิง หรือส่ิงเทียมอาวุธปน
ที่สง เขามาในราชอาณาจักรโดยไมมีผูรับใบอนุญาตใหสั่ง ใหตกเปนของแผนดิน แตถาภายในส่ีเดือนนับแต
วันทข่ี องเขามาถึง ผูสงไดยื่นคํารอ งขอสงกลบั ออกนอกราชอาณาจักร รฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลังจะ
ส่งั อนญุ าตกไ็ ด เมื่อเปน ทพ่ี อใจวา ผูสง ไมมสี วนในการกระทาํ ผดิ กฎหมาย

มาตรา 70 หามไมใหผูใดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดผาน
ราชอาณาจกั ร เวนแตจะไดรับหนังสืออนุญาตจากรัฐมนตรี หรอื เจา พนกั งานซ่ึงรัฐมนตรีแตงตั้งเพ่ือการน้ี

ผูนําหนังสืออนุญ าตใหนําอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดผาน
ราชอาณาจักรจะนําสิ่งเชนวานั้นผานราชอาณาจักรไดเฉพาะแตทางดานศุลกากร ซึ่งรัฐมนตรีกําหนดไว
และตอ งแจง ความตามแบบพิมพของกรมศุลกากรแกพ นักงานศุลกากร

เมื่อพนักงานศุลกากรไดรับแจงความตามวรรคกอนแลว ใหแจงเร่ืองใหนายทะเบียน
ทอ งท่ีทราบ ถา นายทะเบียนทองที่เห็นเปนการจําเปนเพ่ือความปลอดภัยของประชาชนจะจัดการควบคุม
อาวุธปน เคร่ืองกระสนุ หรือวัตถุระเบิดในระหวางที่อยูในราชอาณาจักรก็ได และผูรับหนังสืออนุญาตเปน
ผูออกคา ใชจายในการนัน้

6) ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 4 ผใู ดกระทําความผิดในราชอาณาจักร ตอ งรบั โทษตามกฎหมาย
การกระทําความผิดในเรือไทยหรอื อากาศยานไทย ไมวาจะอยู ณ ทใี่ ด ใหถือวากระทํา

ความผิดในราชอาณาจักร
มาตรา 5 ความผิดใดที่การกระทําแมแ ตสวนหน่ึงสวนใดไดกระทาํ ในราชอาณาจกั รก็ดี

ผลแหงการกระทําเกิดในราชอาณาจักรโดยผูกระทําประสงคใหผลน้ันเกิดในราชอาณาจักร หรือโดย
ลักษณะแหงการกระทํา ผลที่เกดิ ขึ้นน้ันควรเกิดในราชอาณาจักรหรือยอมจะเล็งเห็นไดวาผลนั้นจะเกิดใน
ราชอาณาจักรก็ดี ใหถือวา ความผิดน้ันไดก ระทาํ ในราชอาณาจักร

ในกรณีการตระเตรยี มการ หรอื พยายามกระทําการใดซึ่งกฎหมายบัญญัติเปนความผิด
แมการกระทํานั้นจะไดกระทํานอกราชอาณาจักร ถาหากการกระทําน้ันจะไดกระทําตลอดไปจนถึงขั้น
ความผิดสําเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ใหถือวา การตระเตรียมการหรือพยายามกระทําความผิด
นนั้ ไดกระทําในราชอาณาจกั ร

มาตรา 6 ความผิดใดที่ไดกระทําในราชอาณาจักรหรือท่ีประมวลกฎหมายน้ีถือวาได
กระทําในราชอาณาจักร แมการกระทําของผูเปนตัวการดวยกัน ของผูสนับสนุน หรือของผูใชใหกระทํา
ความผิดนั้นจะไดกระทํานอกราชอาณาจักร ก็ใหถือวาตัวการ ผูสนับสนุน หรือผูใชใหกระทําไดกระทําใน
ราชอาณาจกั ร

มาตรา 7 ผูใดกระทําความผิดดังระบุไวตอไปน้ีนอกราชอาณาจักร จะตองรับโทษใน
ราชอาณาจกั ร คอื

(1) ความผิดเกี่ยวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 107 ถึง
มาตรา 129

(1/1)ความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามที่บัญญัติไวในมาตรา 135/1 มาตรา 135/2
มาตรา 135/3 และมาตรา 135/4

39

(2) ความผิดเกี่ยวกบั การปลอมและการแปลง ตามทบี่ ัญญตั ิไวใ นมาตรา 240 ถงึ มาตรา
249 มาตรา 254 มาตรา 256 มาตรา 257 และมาตรา 266 (3) และ (4)

(2 ทวิ) ความผิดเกยี่ วกับเพศตามท่ีบัญญตั ไิ วใ นมาตรา 282 และมาตรา 283
(3) ความผิดฐานชิงทรัพย ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 339 และความผิดฐานปลนทรัพย
ตามที่บญั ญตั ไิ วใ นมาตรา 340 ซ่งึ ไดก ระทําในทะเลหลวง
มาตรา 8 ผใู ดกระทาํ ความผดิ นอกราชอาณาจกั ร และ
(ก) ผูกระทําความผิดน้ันเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดไดเกิดขึ้น หรือ
ผเู สียหายไดรอ งขอใหลงโทษ หรอื
(ข) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหาย
และผเู สยี หายไดร องขอใหลงโทษ
ถา ความผิดนั้นเปน ความผิดดงั ระบุไวตอไปนี้ จะตอ งรบั โทษภายในราชอาณาจักร คือ
(1) ความผิดเกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ตามที่บัญญัติไวในมาตรา
217 มาตรา 218 มาตรา 221 ถึงมาตรา 223 ท้ังนี้ เวนแตกรณีเก่ียวกับมาตรา 220 วรรคแรก และ
มาตรา 224 มาตรา 226 มาตรา 228 ถึงมาตรา 232 มาตรา 237 และมาตรา 233 ถึงมาตรา 236 ท้ังน้ี
เฉพาะเมอื่ เปน กรณีตองระวางโทษตามมาตรา 238
(2) ความผิดเก่ียวกับเอกสาร ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 264 มาตรา 265 มาตรา
266(1) และ (2) มาตรา 268 ทง้ั นี้ เวนแตกรณีเกีย่ วกับมาตรา 267 และมาตรา 269
(2/1) ความผิดเก่ียวกับบัตรอิเล็กทรอนิกสตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 269/1 ถึงมาตรา
269/7
(2/2) ความผิดเก่ียวกับหนังสือเดินทางตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 269/8 ถึงมาตรา
269/15
(3) ความผิดเก่ียวกับเพศ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 276 มาตรา 280 และมาตรา
285 ทั้งนี้ เฉพาะท่เี ก่ยี วกบั มาตรา 276
(4) ความผิดตอ ชีวิต ตามท่บี ญั ญตั ิไวในมาตรา 288 ถึงมาตรา 290
(5) ความผดิ ตอ รางกาย ตามท่ีบญั ญัตไิ วในมาตรา 295 ถงึ มาตรา 298
(6) ความผดิ ฐานทอดท้งิ เด็ก คนปว ยเจ็บหรือคนชรา ตามทบี่ ัญญัติไวในมาตรา 306 ถึง
มาตรา 308
(7) ความผิดตอเสรีภาพ ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 312 ถึง
มาตรา 315 และมาตรา 317 ถงึ มาตรา 320
(8) ความผิดฐานลักทรัพยและว่ิงราวทรัพย ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 334 ถึงมาตรา
336
(9) ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย ชิงทรัพย และปลนทรัพย ตามท่ีบัญญัติไวใน
มาตรา 337 ถึงมาตรา 340
(10) ความผิดฐานฉอโกง ตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา 341 ถึงมาตรา 344 มาตรา 346
และมาตรา 347

40


Click to View FlipBook Version