The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kirati, 2022-08-22 12:25:52

E-book (Kirati)

E-book (Kirati)

- หาท่พี ักใจ เชยี งใหมข่ อต้อนรบั -







1

สารบัญ

10 วัดห้ามพลาด จังหวัดเชียงใหม่ 2
10 ทพ่ี ักสดุ เก๋ จงั หวัดเชียงใหม่ 2022 25
10 ร้านอาหารนา่ สนใจ จังหวัดเชียงใหม่ 37
10 ร้านเหลา้ สดุ ปัง จงั หวัดเชียงใหม ่ 49
10 คาเฟส่ ดุ ชคิ จังหวดั เชียงใหม ่ 61
10 กาดนัดนา่ เทย่ี ว จังหวดั เชียงใหม ่ 72

- นคร (พัก) พงิ ค์ -

2

3

4

5

วัดพระธาตุดอยสุเทพ

วัดพระธาตุดอยสุเทพ ตั้งอยู่บนยอดดอยสุเทพ สร้างขึ้นเมื่อต้นพุทธศตวรรษ
ที่ 19 ในสมัยพระเจ้ากือนาธรรมิกราช เจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่องค์ที่ 6 เพื่อ
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่ได้ทรงอัญเชิญมาจากเมืองศรีสัชนาลัย วัด
พระธาตุดอยสุเทพถือเป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหารและเป็น
ปูชนียสถานคู่เมืองเชียงใหม่นับตั้งแต่โบราณกาล ถ้าหากใครที่มาเยือนเมือง

เชยี งใหมแ่ ล้วไมไ่ ดข้ นึ้ ไปนมัสการถือเสมอื นว่ายังมาไมถ่ งึ เชยี งใหม่
วัดพระธาตุดอยสุเทพ มีบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน ประมาณ 300 ขั้น หรือ
สามารถใช้บริการกระเช้ารถไฟฟ้า เพื่อขึ้นไปสักการะพระธาตุ ภายในวัดมี
เจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น
ซงึ่ ก่อสร้างตามแบบศลิ ปะล้านนา และจากด้านบนจะสามารถมองเห็นทวิ ทัศน์

เมอื งเชยี งใหมไ่ ด้ชดั เจน

ทอ่ี ยู่ : 9 หม่ทู ี่ 9 อ�ำ เภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

6

กลบั หน้าสารบญั

7

วัดศรสี ุพรรณ

วัดศรีสุพรรณ อยู่บนถนนวัวลาย ตำ�บลหายยา อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
สร้างขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2043 อายุกว่า 500 ปีมาแล้ว ก่อสร้างในรัชสมัยของ
พระเจ้าเมืองแก้ว กษัตริย์เชียงใหม่ราชธานี และพระนางสิริยสวดี พระราช
มารดามหาเทวีเจ้า ที่โปรดเกล้าฯ ให้มหาอำ�มาตย์เจ้าหมื่นหลวงจ่าคำ� สร้าง
วัดชื่อว่า วัดศรีสุพรรณอาราม ที่ต่อมาเรียกสั้นๆ ว่า วัดศรีสุพรรณ นั่นเอง
ภายในวัดมี อุโบสถเงินแห่งแรกของโลก ที่ชาวบ้านร่วมกันสร้างขึ้น เพื่อตั้งใจ
ที่จะอนุรักษ์เครื่องเงินชุมชนวัวลายและยังเป็นบริเวณชุมชนทำ�หัตถกรรม

เครื่องเงินที่มีชื่อเสียงของจังหวัดเชียงใหม่อีกด้วย
ด้วยที่ตั้งของ วัดศรีสุพรรณ ที่อยู่ภายในชุมชนหัตถกรรมช่างหล่อหัตถกรรม
เครื่องเงินของถนนวัวลาย เลยทำ�ให้กลุ่มหัตถศิลป์ล้านนา วัดศรีสุพรรณ

ถูกจัดตั้งขึ้น โดยมีศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนาวัด
ศรีสุพรรณ อยู่ภายในวัด ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2547 ทางวัดเลยอยากจะสร้าง
อุโบสถเงินหลังแรกของโลกขึ้นมา เลยทำ�ให้อุโบสถเงินนั้น กลายเป็นหนึ่งใน

สถาปัตยกรรมที่สำ�คัญของพระพุทธศาสนานั่นเอง

ทอี่ ยู่ : เลขที่ 100 ถนนววั ลาย ต�ำ บลหายยา
อ�ำ เภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่

กลับหน้าสารบญั

8

กลบั หน้าสารบญั

9

วดั เจ็ดยอด

วัดเจ็ดยอด ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลช้างเผือก บนถนนซูเปอร์ไฮเวย์ (เชียงใหม่-ลำ�ปาง)
เป็นวัดที่สำ�คัญและเก่าแก่แห่งหนึ่งของเชียงใหม่ ลักษณะคล้ายกับมหาวิหาร
โพธิที่พุทธคยาในประเทศอินเดีย ที่ฐานเจดีย์ประดับปูนปั้นรูปเทวดา ด้าน
นอกพระเจดีย์ ประดับงานปูนปั้นรูปเทวดาทั้งนั่งขัดสมาธิและยืนทรงเครื่องที่

มีลวดลายตา่ งกนั ไปดงู ามน่าชม
สถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช เมื่อพระเจ้าติโลกราชสวรรคตในปี พ.ศ.2030
พระยอดเชียงราย ราชนัดดาได้สืบราชสมบัติแทน และโปรดให้สร้างสถูปใหญ่
บรรจุอัฐิของพระอัยกาธิราช ที่ต่อมาคือสัตตมหาสถาน คือสถานที่สำ�คัญใน
พุทธประวัติเจ็ดแห่ง ได้แก่ โพธิบัลลังก์ อนิมิตเจดีย์ รัตนจงกรมเจดีย์ รัตนฆร
เจดีย์ อชปาลนิโครธเจดีย์ ราชายตนเจดีย์ ปัจจุบันเหลืออยู่ที่วัดเจ็ดยอดเพียง

สามแหง่ คอื อนมิ ิตเจดยี ์ รัตนฆรเจดยี ์ มุจจลนิ ทเจดีย์
นอกจากนี้ยังเป็นวัดที่มีการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ของโลก เป็นครั้ง
แรกของไทย และถือเป็นหลักปฏิบัติของสงฆ์ในล้านนา วัดเจ็ดยอด จึงเป็นวัด
ที่มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์อย่างยิ่ง อีกทั้งสถาปัตยกรรมภายในวัดก็ยิ่ง

ใหญ่งดงามควรค่าแกก่ ารเคารพบูชาและไปเยยี่ มเยอื น

ทีอ่ ยู่ : 90 หมูท่ ี่ ถนนซปุ เปอร์ไฮเวย์ เชยี งใหม-่ ลำ�ปาง
อ�ำ เภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

กลับหน้าสารบญั

10

กลบั หน้าสารบญั

11

วัดพระธาตุดอยค�ำ

วัดพระธาตุดอยคำ� เป็นวัดที่มีความสำ�คัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า
1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยคำ� ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ห่างจากตัว
เมืองประมาณ 10 กิโลเมตรวัดพระธาตุดอยคำ�สร้างในสมัยพระนางจามเทวี
กษัตริยแ์ ห่งหรภิ ญุ ชยั โดยพระโอรสทั้ง 2 เปน็ ผู้สร้างในปี พ.ศ.1230 ประกอบ
ด้วยเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ศาลาการเปรียญกุฏิสงฆ์

และพระพทุ ธรูปปนู ปั้น เดมิ ช่อื วดั สุวรรณบรรพต แต่ชาวบา้ นเรยี กวา่
“วัดดอยคำ�” ในปี พ.ศ.2509 ขณะนั้นวัดดอยคำ�เป็นวัดร้าง ต่อมากรุแตกชาว
บ้านพบโบราณวัตถุหลายชิ้น เช่น พระรอดหลวง พระหินทรายปิดทององค์
ใหญ่ พระสามหมอ (เนื้อดิน) ซึ่งนำ�มาประดิษฐานไว้ ณ วัดพระธาตุดอยคำ�

วัดพระธาตุดอยค�ำ ยงั มีชอ่ื เสียงเรื่องความศักด์สิ ทิ ธิข์ องพระเจ้าทนั ใจ
มีประชาชนขึ้นไปสักการะและบนบานเป็นจำ�นวนมาก และนอกจากจะเป็น
ที่สักการบูชาของคนท้องถิ่นแล้ว วัดแห่งนี้ยังเป็นสัญลักษณ์อีกแห่งหนึ่งของ
การบินไทยที่ใช้กำ�หนดพื้นที่ทางสายตา ก่อนที่จะนำ�เครื่องบินลงจอดที่สนาม

บินเชยี งใหม่

ท่ีอยู่ : หมู่ 3 ต�ำ บลแมเ่ หียะ อ�ำ เภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม่

กลบั หนา้ สารบัญ

12

กลบั หน้าสารบญั

13

วัดเจดยี ์หลวง

วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร หรือ วัดโชติการาม เป็นพระอารามหลวงเก่าแก่ของ
เชียงใหม่ ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ที่ถนนพระปกเกล้า มีบริเวณกว้างขวาง เมื่อ
เดินเข้าไปจะพบพระวิหารหลวงทรงล้านนาอยู่ตรงกลาง เจ้าคุณอุบาลี คุณ

ปรมาจารย์และเจา้ แก้วนวรัฐเป็นผู้สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 2471
ภายในประดิษฐาน พระประธานพระอัฎฐารส ปางประธานอภัย ตามศิลปะ
แบบเชียงใหม่ตอนต้น ที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะปาละ (อินเดีย) ส่วนด้านหน้า
ประตูทางเข้าวิหาร มีบันไดนาคเลื้อยใช้หางเกี่ยวกระหวัดขึ้นไปเป็นซุ้มประตู
วิหารดูงดงามยิ่ง นาคคู่นี้เป็นฝีมือเก่าแก่ที่มีมาตั้งแต่เดิมได้ชื่อว่าเป็นนาคที่

สวยทีส่ ดุ ของภาคเหนือ
วัดเจดีย์หลวงวิหาร เป็นสถานที่ประดิษฐานเจดีย์ใหญ่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่
สร้างขึ้นในรัชกาลพระเจ้าแสนเมืองมากษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย
ต่อมาพระยาติโลกราชโปรดฯ ให้ช่างขยายเจดีย์ให้สูงและกว้างกว่าเดิมและ
อัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานเป็นเวลานานถึง 80 ปี ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.

2088 สมยั พระนางจริ ะประภา เกดิ แผน่ ดินไหวท�ำ ให้ยอดเจดยี ห์ ักโคน่ ลง

ท่ีอยู่ : 103 ถนนพระปกเกลา้ ต�ำ บลศรภี มู ิ
อ�ำ เภอเมอื ง จังหวัดเชียงใหม่

กลับหนา้ สารบัญ

14

กลบั หน้าสารบญั

15

วดั เชียงมั่น

วัดเชียงมั่น ตั้งอยู่ที่ ถนนราชภาคินัย อำ�เภอเมือง เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในตัว
เมืองเชียงใหม่ มีมาตั้งแต่สมัยแรกสร้างเมือง เมื่อ พ.ศ. 1839 พญามังราย ได้
ทรงยกพระตำ�หนักเชียงมั่น ถวายเป็นพระอารามให้ชื่อว่า วัดเชียงมั่น และ

โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งเจดยี ์ชา้ งล้อม บริเวณพน้ื ทห่ี อประทบั ของพระองค์
พระวิหารของวัดเชียงมั่นมี 2 วิหาร คือ วิหารใหญ่ที่สร้างในสมัยปัจจุบัน
ระหว่างช่องหน้าต่างของวิหารหลังนี้มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนสีทองบนพื้น
แดงงามวิจิตร บอกเล่าเรื่องราวการสร้างเมืองและวัดของพญามังราย ทั้งเวียง

กมุ กาม และเมืองเชียงใหม่
สำ�หรบั วิหารเล็ก หรือวหิ ารจตรุ มขุ เป็นวิหารเดมิ ของวดั ภายในเปน็ ท่ี
ประดิษฐานพระพุทธรูปสำ�คัญของเชียงใหม่ ส่วนพระอุโบสถมีความสำ�คัญต่อ
ชาวเชียงใหม่เป็นอย่างยิ่ง เพราะในโถงด้านหน้ามีศิลาจารึกวัดเชียงมั่น บันทึก
เรื่องราวการสร้างเมืองเชียงใหม่และประวัติของวัดแห่งนี้ ตลอดจนการทำ�นุ

บ�ำ รงุ วัดโดยพระราชวงศ์

ทีอ่ ยู่ : 171 ถนนราชภาคนิ ยั ต�ำ บลศรภี ูมิ
อ�ำ เภอเมือง จังหวดั เชียงใหม่

กลบั หนา้ สารบัญ

16

กลบั หน้าสารบญั

17

วดั ต้นเกว๋น

วัดต้นเกว๋น (วัดอินทราวาส) ตั้งอยู่ที่ถนนสายคลองชลประทาน ทางเดียวกับ
พืชสวนโลก เป็นวัดเล็ก ตวั วิหารท�ำ ด้วยไม้ทัง้ หลัง เปน็ ไมเ้ ก่าและสลกั ลวดลาย

ตา่ งๆ งดงาม ฝมี ืออ่อนช้อยตำ�หรับช่างชาวเชียงใหม่
ด้านในประดิษฐานพระประธานบนแท่นแก้วลวดลายวิจิตร สิ่งที่น่าสนใจคือ
ศาลาจตุรมุขซึ่งพบเพียงหลังเดียวในภาคเหนือ นอกจากนี้ศิลปกรรมล้านนา
ดั้งเดิมภายในวัดนี้ยังจัดว่าเป็นต้นแบบที่สมบูรณ์และมีคุณค่ามาก สมาคม

สถาปนิกสยามประกาศให้เปน็ อาคารอนุรักษ์ดีเดน่ เมื่อปี พ.ศ.2532
จากความงามแห่งอดีตถูกถ่ายทอดผ่านกาลเวลาอันยาวนาน กลายเป็นแรง
บันดาลใจให้สถาปนิกใช้เป็นต้นแบบออกแบบหอคำ�หลวงซึ่งตั้งตระหง่านอยู่
กลางอุทยานหลวงราชพฤกษ์เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นและงดงามจับใจทั้งชาว
ไทยและชาวต่างชาติ หลายๆ ครั้งที่เสน่ห์ของวัดแห่งนี้ติดตรึงใจผู้กำ�กับละคร
โทรทัศน์จนกลายเป็นฉากสวยๆ ในละครหลายเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับแว่น

แคว้นลา้ นนา

ทอ่ี ยู่ : บา้ นตน้ เกว๋น ซอย 3 ต�ำ บลหนองควาย
อ�ำ เภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม่

กลบั หนา้ สารบญั

18

กลบั หน้าสารบญั

19

วัดผาลาด

วัดผาลาด อยูใ่ นเขตของอุทยานแห่งชาติดอยสเุ ทพ-ปยุ ตง้ั อยู่ท่ามกลาง
ป่าเขาร่มรื่น เป็นวัดโบราณกว่า 500 ปี ที่นี่มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ภายใน
วัดมีโบราณสถานที่สำ�คัญคือ วิหารและเจดีย์ ที่สร้างขึ้นในสมัยครูบาศรีวิชัย
แต่สร้างโดยช่างชาวพม่า นอกจากนี้ วัดผาลาดยังเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมอีก

ด้วย

ทอ่ี ยู่ : 101 บา้ นหว้ ยผาลาด หมู่ 1 ต�ำ บลสเุ ทพ
อ�ำ เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

กลับหนา้ สารบัญ

20

กลบั หน้าสารบญั

21

วดั พนั เตา

วัดพันเตา วัดเก่าแก่ใจกลางเมือง ตั้งอยู่ที่ถนนพระปกเกล้า ตำ�บลพระสิงห์
อำ�เภอเมือง เดิมเป็นเขตสังฆาวาสและพื้นที่หล่อพระอัฎฐารสของวัดเจดีย์
หลวง ต่อมาได้สร้างเป็นวัดพันเตา แต่เดิมคนเชียงใหม่เรียกที่นี่ว่าวัด “ปัน
เต้า” (พันเท่า) อันหมายถึงการที่มาทำ�บุญเพียงหนึ่งจะได้บุญกลับไปเป็นพัน
เท่า ภายหลังเพี้ยนเป็น “พันเตา” อีกที่มาหนึ่งน่าจะมาจากการใช้วัดนี้เป็น
แหลง่ สร้างเตาหลอ่ พระนบั รอ้ ยนบั พันเตา จึงได้ชือ่ วา่ “วดั พนั เตา” นัน่ เอง
ภายในวัดแห่งนี้มีพระวิหารที่งดงามและสมบูรณ์ที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ตัว
อาคารเป็นเรือนไม้สักทั้งหลัง ตามศิลปะแบบเชียงแสน เดิมเป็นหอคำ�หรือคุ้ม
หลวงที่ประทับของพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 5 ในสมัย
พระเจ้าอินทวิชชานนท์ (องค์ที่ 7)โปรดฯ ให้รื้อหอคำ�แห่งนี้ถวายให้เป็นพระ

วิหารของวดั พันเตา
นอกจากนี้ยังมีธรรมมาสน์ยกพื้นสูงแบบโบราณอายุกว่าร้อยปีให้ได้ชม ด้าน
หลังพระวิหารหอคำ�หลวง เป็นเจดีย์องค์ประธานของวัด ทรงระฆังบนฐาน

แปดเหลี่ยม รายล้อมดว้ ยเหล่าเจดีย์รายงดงาม

ทอ่ี ยู่ : 127/7 ถนนพระปกเกล้า ตำ�บลศรภี มู ิ
อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่

กลบั หน้าสารบัญ

22

กลบั หน้าสารบญั

23

วดั อโุ มงค์

วัดอุโมงค์ ตั้งอยู่ที่ ถนนสุเทพ อำ�เภอเมือง สร้างขึ้นในสมัยพญามังรายราวปี
พ.ศ.1839 เพื่อให้ฝา่ ยอรัญวาสจี ำ�พรรษา ตอ่ มาพญากือนาทรงสรา้ งอโุ มงค์ขน้ึ
เพื่อให้พระมหาเถระจันทร์ใช้เป็นที่วิปัสสนากรรมฐาน อุโมงค์นี้มีลักษณะเป็น

ก�ำ แพงภายในเปน็ ทางเดินหลายช่องทะลกุ นั ได้
ภายในอโุ มงคเ์ คยมีภาพจิตรกรรมฝาผนงั สนั นษิ ฐานวา่ วาดในระหวา่ ง
พ.ศ.1900-2000 แต่เดิมคงเป็นภาพจิตรกรรมเต็มบริเวณของทุกห้อง ส่วน
ใหญเ่ ป็นภาพดอกบัว ดอกโบตัน๋ และ นกต่างๆ เช่น นกยูง นกกระสา นกแก้ว

และนกเป็ดนำ้�
ด้านบนอุโมงค์เป็นเจดีย์ที่มีอายุเก่าแก่ของล้านนา นักโบราณคดีสันนิษฐาน
ว่าสร้างประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 20 เป็นเจดีย์ทรงระฆัง มีชั้นทรงกลม
ประมาณ 3 ชั้นเหมือนกลีบบัวซ้อนกันอยู่ ด้านบนมีปลียอด ส่วนด้านหน้า
อุโมงค์มีเศียรพระพุทธรูปหินสลักสกุลช่างพะเยา พ.ศ.1950-2100 บริเวณวัด
เป็นสวนพุทธธรรม ร่มรื่นด้วยแมกไม้นานาพันธุ์ เป็นสวนป่าที่เหมาะกับการ
นั่งวิปัสสนา ด้านหลังเป็นสวนป่าและสวนสัตว์ซึ่งเป็นเขตอภัยทาน เดินเล่นได้

และเปน็ สถานท่ดี นู กที่ดีอีกแหง่ หน่ึง

ทอ่ี ยู่ : 127/7 ถนนพระปกเกล้า ตำ�บลศรีภมู ิ
อำ�เภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่

กลบั หน้าสารบญั

24

25

26

กลบั หน้าสารบญั

27

กลับหนา้ สารบัญ

28

กลบั หน้าสารบญั

29

กลับหนา้ สารบัญ

30

กลบั หน้าสารบญั

31

กลับหนา้ สารบัญ

32

กลบั หน้าสารบญั

33

กลับหนา้ สารบัญ

34

กลบั หน้าสารบญั

35

กลับหนา้ สารบัญ

36

37

38

39

40

41

42

43

44


Click to View FlipBook Version