The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ธัญลักษณ์ โพธิน, 2020-02-18 01:24:34

แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม

แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม

แนวคิดและหลกั การเขียนโปรแกรม

ในการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์นกั เขียนโปรแกรมจะตอ้ งเขา้ ใจหลกั เกณฑ์ของภาษา
โปรแกรมและระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์ วา่ มีโครงสร้างและวธิ กี ารใช้คาส่งั อย่างไรซึ่งใน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มหี ลกั เกณฑ์การเขียนโปรแกรม ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน
ดงั นค้ี ือ

1. ทำควำมเข้ำใจและวิเครำะห์ปัญหำ

ผ้เู ขยี นโปรแกรมจะตอ้ งทาความเข้าใจและทาการวเิ คราะหป์ ญั หาเปน็ ลาดับแรกเพราะการ
ทาความเข้าใจและวิเคราะหป์ ัญหาเปน็ สง่ิ ทสี่ าคัญโดยทผ่ี ูเ้ ขียนโปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหา
รว่ มกบั นกั วเิ คราะห์ระบบว่าโจทยต์ อ้ งการผลลัพธ์อะไร และการใหไ้ ด้มาซ่ึงผลลัพธน์ ั้น ต้องป้อน
ข้อมลู อะไรบ้างและเม่อื ปอ้ นขอ้ มูลเข้าไปแล้วจะทาการประมวลผลอยา่ งไรส่ิงเหล่านีผ้ เู้ ขยี น
โปรแกรมจะตอ้ งทาความเข้าใจใหถ้ กู ต้องเพราะถ้าผู้เขยี นโปรแกรมวิเคราะห์ปัญหาไมถ่ ูกตอ้ ง
ผลลพั ธท์ ไี่ ดอ้ อกมาก็อาจจะไม่ตรงกับความต้องการของโจทย์ได้

2. กำหนดแผนในกำรแก้ปัญหำ

หลังจากทาความเข้าใจและวิเคราะห์ปญั หาโจทย์จนได้ข้อสรปุว่าโจทย์ตอ้ งการอะไรแลว้
ผเู้ ขยี นโปรแกรมกจ็ ะทาการกาหนดแผนในการแก้ไขปัญหาโดยการเขียนผังงาน
(Flowchart) ซึ่งการเขียนผงั งานคือการเขยี นแผนภาพท่เี ป็นลาดบั เพื่อแสดงข้ันตอนการ
ทางานของโปรแกรมเพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการทาความเขา้ ใจการเขยี นผังงานมี 3 แบบคอื แบบ
เรยี งลาดับ(Sequential) แบบมีการกาหนดเงอื่ นไข(Condition) และแบบมกี ารทางาน
วนรอบ (Looping) ซ่ึงสัญลกั ษณ์ของผงั งาน (Flowchart Symbol) มีดังน้คี ือ

3. เขียนโปรแกรมตำมแผนท่ีกำหนด

เม่อื ผเู้ ขียนโปรแกรมเขยี นผังงานเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ขั้นตอนตอ่ ไปคอื การเขยี นโปรแกรม
ตามผังงาน ที่ไดก้ าหนดเอาไว้ ในกรณีที่เขยี นดว้ ยภาษาซีการเขยี นโปรแกรมก็ตอ้ งเป็นไปตาม
กฎเกณฑแ์ ละโครงสร้างของภาษาซเี ท่านนั้

4. ทดสอบและตรวจสอบควำมถูกต้อง

หลังจากเขยี นโปรแกรมเสรจ็ แล้วให้ทดลองคอมไพล์โปรแกรมว่ามีจดุ ผิดพลาดที่ใดบา้ ง
ในภาษาซีการคอมไพล์ โปรแกรมจะใช้วธิ กี ารกดปุ่ม Alt + F9 ในกรณีทมี่ ขี ้อผิดพลาดจะ

แสดงในชอ่ งด้านล่างของหน้าจอเอดเิ ตอร์ ในสว่ นของกรอบ message ให้อา่ นทาความเข้าใจ
และแกไ้ ขตามทโี่ ปรแกรมแจ้งข้อมลู ผิดพลาดเม่อื เสร็จแลว้ ใหท้ ดลองรนั โปรแกรม

5. จัดทำคู่มอื และเอกสำรกำรใช้โปรแกรม

ถ้าหากรนั โปรแกรมแล้วใช้งานไดแ้ สดงว่าจะได้ไฟล์ที่มีสว่ นขยายเปน็ EXE เพ่ือนาไป
ทดสอบง้ านในท่ตี ่างๆและถ้านาไปใชง้ านแล้วมีปัญหากใ็ ห้ทาการแกไ้ ขโปรแกรมอกี คร้งั แตถ่ ้ารัน
โปรแกรมแล้วไม่มปี ญั หาใดๆ แสดงวา่ โปรแกรมนใ้ี ช้งานไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์จากน้ันผเู้ ขียนโปรแกรม
กต็ อ้ งจดั ทาคู่มอื ประกอบการใชง้ านและนาไปเผยแพร่ต่อไป

ปัจจบุ ันคอมพิวเตอรเ์ ขำ้ มำเกีย่ วขอ้ งและมีบทบำทกบั ชีวิตประจำวัน แต่คอมพวิ เตอรไ์ ม่
สำมำรถทำงำนได้หำกไม่มีคำสง่ั ผูเ้ ขียนโปรแกรมจงึ ตอ้ งเขยี นคำสัง่ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทำงำน
เพื่อใหไ้ ด้ผลลัพทต์ ำมทต่ี ้องกำร ดังนั้นกำรเรียนรเู้ กยี่ วกับวิธกี ำรเขยี นโปรแกรม เพ่อื เปน็
พ้ืนฐำนท่ีจะทำควำมเข้ำใจและสำมำรถเขยี นโปรแกรม เพือ่ สงั่ งำนให้คอมพิวเตอรท์ ำงำนตำม
ต้องกำรได้ โดยจะตอ้ งมี การวิเคราะห์ผลลัพธ์ การวิเคราะหข์ ้อมูล การวิเคราะห์ตัวแปร
และการวิเคราะหว์ ิธีการ

สาหรบั แนวคดิ ในการเขียนโปรแกรมนน้ั สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 รูปแบบ คอื

1.กำรเขียนโปรแกรมเชงิ โครงสร้ำง
แนวคิดนเี้ ป็นการจัดการคาสงั่ ต่างๆ ใหม้ ีรูปแบบและมาตรฐานทส่ี ามารถเขยี นโปรแกรมได้
งา่ ย อกี ทัง้ ยงั ตรวจสอบการทางานของโปรแกรมได้โดยไมย่ งุ่ ยาก และง่ายต่อการปรับปรงุ ใน
อนาคต ซ่งึ มีโครงสรา้ งการควบคุม พื้นฐาน 3 รปู แบบ คือ

1.1.โครงสร้างแบบเป็นลาดบั ข้ันตอน
ประกอบดว้ ยคาส่ังหรอื ชดุ คาสั่งไม่มีเง่ือนไข ไม่มกี ารตดั สินใจ มที างเข้าทาง

เดียวและมีทางออก ทางเดียว ดาเนนิ การแบบเรยี งลาดับต่อเนอื่ ง โดยแต่ละขน้ั ตอนมีการ
ดาเนนิ งานเพยี งคร้ังเดยี ว

การทางานแบบลาดับขั้นตอน
1.2.โครงสรา้ งแบบมที างเลอื กในการตัดสนิ ใจเลือกทางใดทางหนง่ึ

เป็นโครงสรา้ งทีม่ เี ง่อื นไข และมีการตรวจสอบเง่อื นไข ว่าเปน็ ค่าจริงหรอื คา่
เท็จแลว้ ดาเนนิ งานตามคาส่ังท่เี ป็นไปตามเง่อื นไขที่กาหนด

การทางานแบบตดั สินใจเลอื กทางใดทางหนงึ่

1.3.โครงสร้างแบบทาซ้า
เป็นการทางานในลักษณะวนซ้าหลายๆ รอบ โดยจะหลดุ ออกจากเงอ่ื นไขก็

ต่อเมอ่ื เงอ่ื นไขตรงตามกาหนดไว้

การทางานแบบทาซ้า

2.กำรเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
แนวคดิ เชงิ วตั ถตุ ้งั อยู่บนพนื้ ฐานการแจกแจงรายละเอยี ดของปญั หา ในการเขยี น

โปรแกรมเพอื่ ให้เป็นไปตามหลกั การเชงิ วัตถุนั้น ตอ้ งพยายามมองรูปแบบวตั ถใุ หอ้ อก การทาความ
เขา้ ใจถึงหลักการเขยี นโปรแกรมเชงิ วตั ถุตอ้ งอาศัยจนิ ตนาการพอสมควร ซง่ึ จะมองวัตถหุ นึ่งๆ เปน็
แหลง่ รวมของข้อมลู และกระบวนการเขา้ ไวด้ ว้ ยกัน โดยจะมีคลาส เป็นตวั กาหนดคุณสมบัติของ
วัตถุ และคลาสจะสามารถสบื ทอดคณุ สมบตั ิ ไปยงั คลาสย่อยต่างๆ ท่ีเรยี กวา่ Subclass ไดด้ ว้ ย

คุณสมบตั ดิ งั กล่าวจาทาใหเ้ กดิ การนามาใชใ้ หม่ ที่ทาใหล้ ดขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมลงได้
โดยเฉพาะโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มคี วามซับซอ้ นสูง






Click to View FlipBook Version