ข้อมูลสถานศึกษา
โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์
สถานที่ตั้ง เลขที่ 4 ถนน สุขยางค์
ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
กิจกรรมท่ี 6
แบบบันทึกสภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา
คำชี้แจง ให้นกั ศึกษาบนั ทกึ ผลการศึกษาและสังเกตสภาพท่วั ไปของสถานศกึ ษาในหวั ข้อที่กำหนด
1. ชือ่ สถานศกึ ษา โรงเรยี นนบิ งชนปู ถัมภ์
2. สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1 สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
3. สถานท่ีต้งั เลขที่ 4 ถนน สุขยางค์ ตำบล สะเตง
4. อำเภอ เมือง จงั หวดั ยะลา
5. โทรศพั ท์ : 073 – 212255 โทรสาร : 073 – 222015 รหัสไปรษณยี ์ 95000
6. ชื่อหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา : วา่ ทร่ี อ้ ยตรีอับดุลรอแม การีอูมา
7. ชื่อรองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาหรือผู้รกั ษาในตำแหนง่ : นางสาวสุดารัตน์ แซ่ลมิ่
8. คตพิ จน์ : เรยี นดี สขุ ภาพดี มีคณุ ธรรม ปรชั ญา : “คุณธรรม นำความรู้ คูว่ ิถีไทย”
9. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษาโดยสงั เขป
โรงเรยี นนบิ งชนปู ถัมภ์ สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษายะลา เขต 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 4 ถนนสุขยางค์ ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ห่างจาก
ท่ีวา่ การอำเภอเมอื งยะลา ระยะทาง 1 กโิ ลเมตร ก่อตัง้ เม่ือวันที่ 5 พฤษภาคม 2475 ชื่อวา่ “โรงเรียนประชาบาลนิ
บง” พ.ศ.2481 โอนเป็นโรงเรียนเทศบาล มีชื่อว่า“โรงเรียนเทศบาล 2 นิบง” พ.ศ.2487 โอนกลับเป็นโรงเรียน
ประชาบาล ชื่อว่า “โรงเรียนบ้านนิบง” พ.ศ.2517 เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์”พ.ศ.2523 โอนไป
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2525 โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ 50 ปี เมื่อวันท่ี
5 มีนาคม 2525 โดยจัดสร้างถาวรวัตถุและมูลนิธิไว้เป็นที่ระลึกคือ สร้างรั้วคอนกรีตรอบโรงเรียนและสร้างเสร็จ
เมื่อ พ.ศ.2531 คุณปิติ วิภากุล และคณะได้ก่อตั้งมูลนิธิ “วิภากุลและญาติมิตร” โดยเริ่มจดทะเบียนคร้ังแรกด้วย
เงินทุน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) และต่อมามีผู้ร่วมสมทบทุนอีกรวมเป็นเงิน 130,300 บาท (หนึ่งแสน
สามหมื่นสามร้อยบาทถ้วน) ปัจจุบันได้นำดอกผลมาใช้เป็นทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนขาดแคลนและช่วยเหลือ
กิจการของโรงเรียนอยา่ งละคร่ึง
ปีการศึกษา 2540 โรงเรียนเข้าโครงการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการได้รับงบประมาณเพิ่ม
จากปกตดิ ังน้ี
จัดทำโรงเรยี นเปน็ ปัจจุบนั 310,679 บาท
จดั ทำห้องคอมพวิ เตอร์ 45,000 บาท
จัดทำหอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษา 45,000 บาท
จดั ทำห้องวทิ ยาศาสตร์ 40,000 บาท
จดั ซอื้ ครภุ ัณฑ์-อปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ 200,000 บาท
ปีการศึกษา 2540 โรงเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีเด่นในเขตการศึกษา สมควรได้รับรางวัล
พระราชทานประเภทโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ ตามประกาศหนังสือกระทรวงศึกษาธิการที่ 0201.1/ว
4388 ลงวันที่ 27 เมษายน 2541 วันที่ 30 กันยายน 2543 นางอรพินท์ นาคประดิษฐ์ ตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียนเกษียณอายุราชการ นายโสภณ เขียวเล็ก นายหนูกลาย เกิดด้วง ตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน
เกษยี ณอายุราชการก่อนกำหนด
วันที่ 13 ธันวาคม 2543 ทางราชการได้ส่งแตง่ ตั้ง (ย้าย) นายอำนวย ไมยฤทธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ น
รามนั สำนักงานการประถมศกึ ษาอำเภอรามนั มาดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียนนิบงชนปู ถมั ภ์
วันที่ 12 มกราคม 2544 ทางราชการได้แต่งตั้งย้าย นายซูลฮูดา วาเด็ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านจื
อนอื แร สำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอเมืองยะลา มาดำรงตำแหนง่ ผชู้ ่วยผูอ้ ำนวยการ โรงเรยี นนบิ งชนูป
ถมั ภ์
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2544 ทางราชการได้แต่งตั้งย้าย นายเสนอ อินทฤทธิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน
บันนังสตาอินทรฉัทร สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอบันนังสตา มาดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนนิ
บงชนปู ถัมภ์ พ.ศ. 2547 โอนไปสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานกระทรวงศึกษาธกิ าร
ปัจจุบันเปิดสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 ห้องเรียน จำนวน
นักเรียน (โดยประมาณเฉลี่ย) 2,493 คน บุคลากรทั้งหมด 137 คน แบ่งเป็น ข้าราชการครู 105 คน
พนักงานราชการ 9 คน ครูพี่เลี้ยง 2 คน ครูอัตราจ้างชั่วคราว(พี่เลี้ยงเด็กพิเศษ) 1 คน ลูกจ้างประจำ 1
คน ลูกจ้างชั่วคราว 17 คน ลูกจ้างชั่วคราว(เจ้าหน้าที่ธุรการ) 2 คน มีอาคารเรียนทั้งหมด 10 หลัง 94
ห้องเรียน(ใชเ้ ป็นห้องเรยี น 60 ห้อง ห้องพิเศษ 34 ห้อง) อาคารประกอบ 7 หลัง สนามฟุตบอล จำนวน
1 สนาม สนามบาสเก็ตบอล จำนวน 1 สนาม เพื่อใช้เป็นสถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้
นกั เรียน ในพ้ืนท่ี 27 ไร่ 2 งาน 21 ตารางวา
10. วสิ ัยทัศนข์ องสถานศกึ ษา
โรงเรียนนิบงชนปู ถัมภ์ เป็นสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีความรู้ คู่คุณธรรม ตามมาตรฐานพรอ้ มก้าวสู่
สากล
11. เปา้ หมาย/เปา้ ประสงค์
1. ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มคี วามรู้คู่คุณธรรม
2. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้สอ่ื และเทคโนโลยี เพอื่ สบื ค้นความรดู้ ้วยตนเอง
3. ผูเ้ รยี นมจี ิตสาธารณะ มีความเปน็ สากลบนพ้นื ฐานความเป็นไทย
4. โรงเรียนเป็นแหลง่ เรยี นรแู้ ละเปน็ ต้นแบบในการบรหิ ารจดั การ
5. ครูมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชพี และได้รบั การพัฒนาสวู่ ิทยฐานะท่สี งู ขนึ้
6. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ชมุ ชน ให้ความร่วมมอื และเชื่อมั่นตอ่ โรงเรียน
12. พนั ธกจิ
พฒั นาระบบการบริหารจดั การ โดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน มุง่ เนน้ การมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ครมู คี วามรู้
ความสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พรอ้ มก้าวสสู่ ากล
13. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
สะอาด ขยัน ประหยดั ซ่อื สัตย์ มวี นิ ยั ใจกตัญญู
14. บคุ ลากร
จำนวนครู ทั้งหมด 137 คน
แยกตามวฒุ ิการศกึ ษา ดงั น้ี ปรญิ ญาโทหรือสูงกวา่
ปริญญาตรี
ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี หรอื เทยี บเทา่
จำนวนนกั การภารโรง ทัง้ หมด 21 คน (ชาย 7 คน/ หญงิ 14 คน)
จำนวนนกั เรียน ท้ังหมด 2,231 คน (ชาย 1,045 คน/ หญิง 1,186 คน)
ซึ่งมีวธิ จี ัดการนกั เรียนแต่ละหอ้ งเรยี นดงั น้ี
ชน้ั /เพศ ชาย หญงิ รวม หอ้ ง
0
อ.1 0 0 0 6
6
อ.2 65 69 134 12
8
อ.3 68 78 146 8
8
รวม อบ. 133 147 280 8
8
ป.1 149 161 310 8
48
ป.2 160 158 318 60
ป.3 138 172 310
ป.4 146 188 334
ป.5 150 178 328
ป.6 169 182 351
รวมประถม 912 1,039 1,951
รวม นร. ทง้ั หมด 1,045 1,186 2,231
อตั ราสว่ นระหวา่ งครตู ่อจำนวนนักเรียน ครจู ำนวน 1 คน ต่อนกั เรยี น 40 คน
15. บริเวณสถานศึกษา
1. แผนผังบรเิ วณสถานศกึ ษา
2. จำนวนพ้ืนทบี่ ริเวณสถานศกึ ษา ทั้งหมด 27 ไร่ 21 ตารางวา
แยกตามบรเิ วณตา่ งๆ ดงั น้ี บริเวณแปลงเกษตร
บรเิ วณสนามกีฬา
บรเิ วณท่พี ักผ่อน
บรเิ วณอืน่ ๆ
16. สภาพทัว่ ไปของอาคารสถานท่ีและบรเิ วณ
1. การจดั ระบบอาคาร (จัดใหม้ ีอาคารอะไรบา้ ง และจดั อย่างไร)
อาคารเรียน แบง่ เปน็ อาคารเรยี นทงั้ หมด 8 หลัง 81 ห้อง
- อาคารปัตตานี เป็นอาคารทใ่ี ช้จดั การเรยี นการสอน นกั เรยี นชน้ั อนุบาล
- อาคารตรัง เป็นอาคารที่ใชจ้ ัดการเรียนการสอน นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1
- อาคารนครศรีธรรมราช เปน็ อาคารท่ใี ช้จัดการเรยี นการสอน นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2
- อาคารพัทลุง เปน็ อาคารทใ่ี ชจ้ ัดการเรียนการสอน นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3
- อาคารสงขลา เป็นอาคารทใ่ี ช้จดั การเรียนการสอน นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
- อาคารสตูล เปน็ อาคารท่ีใช้จัดการเรยี นการสอน นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5
- อาคารนราธวิ าส เป็นอาคารทีใ่ ช้จัดการเรียนการสอน นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
- อาคารสุราษฏร์ธานี เป็นอาคารที่ใช้จัดการเรียนการสอนภาควิชาคอมพิวเตอร์ และเป็น
ห้องสมดุ ประจำโรงเรียน
อาคารประกอบ มจี ำนวน 12 อาคารดง้ั นี้
- ตึกอำนวยการ
- โรงอาหาร
- อาคารอเนกประสงค์
- หอ้ งพยาบาล
- โรงฝึกงาน
- หอ้ งพยาบาล
- หอ้ งสหกรณ์ เปน็ ตน้
สถานท่ี ประกอบด้วย
- สนามฟุตบอล จำนวน 1 สนาม
- สนามบาสเก็ตบอล จำนวน 1 สนาม
- สนามเด็กเล่น จำนวน 1 สนาม
- ลานต่าง ๆ และอ่ืนๆ เพื่อใชเ้ ปน็ สถานทใ่ี นจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหน้ ักเรียน และนกั เรียน
ได้ใช้ประโยชนใ์ นการพักผ่อน
2. การจดั สภาพของห้องเรียนทางดา้ นแสงเสยี งและความร้อน (จดั อะไรบ้าง และจัดอยา่ งไร)
ด้านแสง การจดั สภาพบรรยากาศโดยรวมแล้วอาคารแตล่ ะอาคารก็จะมีแสงสวา่ ง
มากพอ ไม่อับชื้นเนื่องจากการจดั ให้อาคารเรียนแต่ละอาคารอยู่ห่างกนั พอสมควร ทำใหห้ ้องเรียนโปร่งสบายและ
ยังมีหลอดไฟจำนวน 2 หลอดในห้องเรียนเพือ่ เพิม่ แสงสว่างอกี ทางหนงึ่
ดา้ นเสียง เนอื่ งจากโรงเรยี นนิบงชนปู ถัมภเ์ ป็นโรงเรียนท่อี ยูใ่ นเมอื ง มีถนนรอบ
โรงเรยี น ทำใหไ้ ด้ยนิ เสียงรถผ่านอยู่ตลอดเวลา ดงั นัน้ ครทู ส่ี อนนกั เรยี นจึงต้องมีเคร่ืองขยายเสียง ไมโครโฟนในการ
สอน
ด้านความรอ้ น เนอื่ งจากโรงเรียนนบิ งชนูปถัมภ์เปน็ โรงเรียนท่ีมตี ้นไมเ้ ยอะ ทำให้
บริเวณรอบๆอาคารเรียนร่มรื่นไม่ร้อน ในห้องเรียนก็จะมีพัดลมจำนวน 2 ตัว และจะมีช่องหน้าต่างจำนวน 8-10
ชอ่ งเพอื่ ระบายอากาศใหถ้ ่ายเทไดส้ ะดวกทำให้บรรยากาศในหอ้ งเรียนไมร่ ้อนอบอา้ ว
3. การจัดการคมนาคมในสถานศกึ ษา (จดั อะไรบา้ ง และจัดอย่างไร)
โรงเรียนนบิ งชนูปถัมภม์ ีประตูทางเข้า 2 ประตู คือ ประตใู หญ่สำหรับผูป้ กครองมาสง่
และรับรบั ลกู หลานที่โรงเรียน และประตูขา้ งสำหรบั ครูและบุคลากรเข้าออกด้วยยานพาหะนะ และมีท่ีสำหรับจอด
รถจกั รยานยนต์และรถยนต์ไวใ้ ห้ ถนนแต่ละสายภายในโรงเรียน จะมกี ารนำช่ืออำเภอในจังหวัดยะลามาตั้งช่ือของ
ถนนในโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ไปด้วยในตัว เช่น ถนนสายธารโต ถนนสายเบตง ถนนสาย
บนั นงั สตา ถนนสายกรงปนี งั เป็นตน้
4. การจัดเพื่อสง่ เสริมความน่าอยเู่ ก่ยี วกับความสะอาด เรียบร้อย และการตกแต่ง (จัดอะไรบ้าง
และจัดอยา่ งไร)
โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์เป็นโรงเรียนที่มีความสะอาดมาก เนื่องจากทางโรงเรียนได้มีข้อปฏิบัติ
ร่วมกันคือ แต่ละชั้นเรียนจะมีพื้นที่รับผิดชอบเป็นของตัวเองและในตอนเช้า เมื่อมาถึงโรงเรียนก็ให้นักเรียนทำ
ความสะอาดพื้นที่รับผิดชอบของตัวเอง ให้สะอาดเรียบร้อยโดยจะมีอาจารย์ประจำชัน้ คอยดูแล และตรวจตราทกุ
วนั
โรงเรยี นมถี ังขยะจดั เป็นจุดๆ สำหรบั ให้นกั เรียนนำขยะมาท้งิ และจะมรี ถเกบ็ ขยะของ
เทศบาลมาเก็บขยะในแต่ละวนั ทำให้ไมม่ ีขยะท่สี ง่ กลน่ิ เหม็น
แต่ละชั้นเรียนก็จะมีการจัดสวนหย่อมของชั้นโดยจะมีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากจะมีการ
ประกวดการจัดสวนหยอ่ มสวยงามในทกุ ๆ เดอื น ถ้าช้ันไหนจดั สวนย่อมได้สวยงามกจ็ ะมรี างวัลให้
รอบๆ อาคารก็จะมกี ระถางต้นไม้ กระถางสมนุ ไพร และมีชอ่ื บอกด้วยเพอ่ื ใหเ้ ด็กได้เรียนรพู้ ันธ์ุพืชชนิดนั้นๆ
5. การจัดที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ เชน่ การจัดป้ายนิเทศ การจัดมุมหนงั สอื การจดั อปุ กรณแ์ ละอื่นๆ
(จดั อะไรและจดั อยา่ งไร)
ในห้องเรียนแตง่ ละหอ้ งกจ็ ะมีปา้ ยนทิ รรศการประจำห้องอยจู่ ำนวน 2 ป้าย คอื ขา้ งๆ
กระดานดำทั้งด้านซ้ายและด้านขวา จะมีการจัดนิทรรศการ ในวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ ก็จัดนิทรรศการให้
ความรู้เกี่ยวกับวันขึ้นปีใหม่ เป็นต้น และฝาผนังห้องเรียนจะมีความรู้ทั่วไปในรายวิชาต่าง ๆ เช่น ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษา สุขศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ แผนที่ประเทศไทย และมีบอร์ด
แสดงผลงานของนักเรียนดว้ ย
หนา้ ห้องเรียนแต่ละห้องจะมที ี่สำหรับจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เดก็ เชน่ วนั สำคญั ของไทย เป็นต้น
ในสายชัน้ เรียนแตล่ ะสายช้นั กจ็ ะมหี อ้ งสมดุ ประจำสายชน้ั ไวส้ ำหรบั ให้นกั เรียนคน้ คว้าหาความรู้
ประกอบการเรยี นไดท้ ุกเวลา
มโี ครงการภาษาไทยวันละคำ โดยในแต่ละวันกจ็ ะให้นักเรียนเสนอคำใหมๆ่ ขนึ้ กระดานเพือ่ ให้สมาชกิ ใน
ชัน้ เรียนไดร้ ู้
17. โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี น
โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ แบ่งโครงสรา้ งการบิหารงานเป็น ๔ ด้าน ได้แก่ การบรหิ ารงานวิชาการ การ
บริหารงานบคุ คล การบริหารงานงบประมาณและการบรหิ ารงานทว่ั ไป ผบู้ รหิ ารยดึ หลักการบรหิ ารแบบ SBM และ
กระบวนการทำงานแบบ PDCA
โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนนิบงชนูปถมั ภ์
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
คณะกรรมการบรหิ ารชนั้ เรียน คณะกรรมการสถานศึกษา
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ฝา่ ยบริหารงานงบประมาณ ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป
หวั หน้างานวิชาการ หวั หน้างานงบประมาณ หวั หนา้ งานบคุ คล หวั หนา้ บริหารทว่ั ไป