คำนำ
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid-19)
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 ได้จัดทาคู่มือแผนเผชิญเหตุขึ้นเพ่ือให้สถานศึกษา
และหน่วยงานทางการศึกษาในสังกัด ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานสาหรับเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดเรียนและ
ระหว่างเรียน เพื่อสร้างความม่ันใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 มีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2564 และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการท่ีกระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนและระหว่างเรียน ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) เล่มนี้จะช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา และในหน่วยงานทางการศึกษา
สังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 4 ได้เปน็ อย่างดี
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
สำรบัญ หนำ้
คำนำ 1
สำรบญั 5
ส่วนท่ี 1 บทนำ 5
5
- ข้อมลู พืน้ ฐาน สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 7
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย 10
- สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในเด็ก 10
- เกณฑก์ ารพิจารณาระดบั ความรนุ แรงของการระบาดโควิด-19 ระดับประเทศ
- หลกั การ Sandbox Safety Zone in School 11
- วัตถปุ ระสงค์
- กลุม่ เปา้ หมาย 12
ส่วนท่ี 2 แนวปฏบิ ัตกิ ำรเตรียมกำรก่อนเปดิ เรียน 14
- การฉีดวัคซีนของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กัด 14
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 19
- การประเมินความเสย่ี งผา่ น Thai Save Thai 21
- การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรียน 6 มิติ
- การประเมนิ ตนเองเตรียมความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียนผ่าน Thai Stop Covid 34
สว่ นท่ี 3 แนวปฏบิ ตั ิระหวำ่ งเปดิ เรียน 36
- กรณีเปดิ เรียนได้ตามปกติ On Site สถานศึกษาต้องปฏบิ ัติ
- กรณีโรงเรียนไมส่ ามารถเปิดเรยี นไดต้ ามปกติ 38
สว่ นท่ี 4 แนวทำงกำรจดั กำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำด
ของโรคติดเชือ้ โคโรนำ 2019 (COVID 19) 41
- รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบชนั้ เรียน (Onsite)
- รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning)
ส่วนท่ี 5 แผนเผชญิ เหตุ
- แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
- การจดั ตง้ั ศนู ย์เฉพาะกจิ เฝา้ ระวงั และป้องกนั การแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
หน้ำ
- ระบบรายงานข้อมูลศูนยเ์ ฉพาะกิจ Covid-19 Ubon 4 43
- สถานศกึ ษารายงานผลผ่านระบบ MOE (COVID 19) กระทรวงศึกษาธกิ าร 43
ส่วนที่ 6 บทบำทของบุคลำกรและหนว่ ยงำนท่เี กย่ี วข้อง
- บทบาทของนักเรยี น 44
- บทบาทของครู 44
- บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา 45
- บทบาทของผูป้ กครองนักเรียน 45
- บทบาทของแม่ครัว ผู้จาหน่ายอาหาร ผปู้ ฏิบัตงิ านทาความสะอาด 46
สว่ นที่ 7 กำรติดตำมและประเมนิ ผล
- การติดตามและประเมนิ ผล 47
ภำคผนวก
ภาคผนวก ก
- แบบรายงานเหตุศนู ย์เฉพาะกิจคุ้มครองและชว่ ยเหลอื เดก็ นกั เรียน
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 4 (ฉก.ชน.สพป.อบ.4)
- แบบรายงานการตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
ภาคผนวก ข
- คาสงั่ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4 ท่ี 243 / 2564
1
สว่ นท่ี 1
บทนำ
สภำพทว่ั ไปและข้อมลู พืน้ ฐำน
1. ข้อมูลท่ัวไป
1) ที่ต้ัง ต้ังอยู่ท่ีถนนคาน้าแซบ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชาราบจังหวัดอุบลราชธานี 34190
โดยมีระยะทางหา่ งจากจงั หวดั อุบลราชธานี ประมาณ 15 กิโลเมตร
2) สำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
จานวนโรงเรยี นในสงั กดั 143 แหง่ เป็นโรงเรียนทม่ี ีนักเรียน=0 จานวน 3 แห่ง โรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 93 แห่ง
ขนาดกลาง 38 แห่ง ขนาดใหญ่ 9 แหง่ มีนกั เรียน 16,870 คน ครู 1,010 คน ศึกษานเิ ทศก์ 15 คน และบุคลากร
อืน่ 26 คน
3) เขตพื้นท่ีกำรบริกำรกำรจัดกำรศึกษำ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี
เขต 4 มีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแก่ประชากรในวัยเรียนในเขตอาเภอวารินชาราบ
อาเภอสาโรง อาเภอนาเยยี และอาเภอสว่างวรี ะวงศ์
แผนทแี่ สดงทต่ี ้งั และเขตบริกำร
2
2 ข้อมลู กำรจดั กำรศึกษำของ สพป.อบุ ลรำชธำนี 4
1) จานวนโรงเรียน 143 แห่ง
รวมทั้งสนิ้ 143
วำรินชำรำบ 59
14
นำเยีย 50
สำโรง 20 40 60 80 100 120 140 160
0
2) ขนาดโรงเรยี น
100 สำโรง นำเยยี สว่ำงวรี ะ รวม
80 วงศ์
60 96
40 8 15 47
20 0
0 66
วำรนิ ชำรำบ 00
ขนำดเล็ก 36 37
ขนำดกลำง 22 13
ชนำดใหญ่ 0 0
ขนำดเลก็ ขนำดกลำง ชนำดใหญ่
3
3) จานวนนกั เรยี น 3,534
16,870
11,066
2,270
อนุบำล ประถม ม.ต้น รวม
2000 หอ้ ง ชำย หญงิ รวม
1500 54 211 208 419
1000 211 812 761 1,573
500 143 792 750 1,542
0 อนบุ ำล 2 อนบุ ำล 3
อนบุ ำล 1
อนบุ ำล 2
อนบุ ำล 3
อนุบำล 1
1125005000000000
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ห้องเรยี น 147 148 148 150 151 147
ชำย 897 953 953 1,017 1.019 969
หญงิ 797 868 892 919 907 875
รวม 1,694 1,821 1,845 1,936 1,926 1,844
ห้องเรยี น ชำย หญงิ รวม
4
1000 หอ้ งเรยี น ชำย หญิง รวม
800 32 428 314 742
600 35 457 378 835
400 32 2 314 693
200
ม.1 ม.2 ม.3
0
ม.1
ม.2
ม.3
4) จานวนครู
410
1010 308
151 138
วำรนิ ชำรำบ สำโรง นำเยีย สว่ำงวรี ะวงศ์ รวม
5
สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ 19 ในประเทศไทย
สถานการณ์ของประเทศไทยในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19 มีแนวโน้มท่ีดีอย่าง
ต่อเน่ือง แต่สถานการณ์การระบาดในต่างประเทศยังคงอยู่ในระดับรุนแรงและจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้นใน
อัตราสูง เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ รวมถึงการเปิดให้มีการเดินทางเข้ามาจากต่างประเทศ ดังที่ชาว
ไทยและชาวต่างชาติที่มคี วามจาเป็นจะตอ้ งเดนิ ทางเขา้ มาในราชอาณาจักรได้แสดงความประสงคต์ ่อทางราชการไว้
เป็นจานวนมาก รัฐบาลจึงเห็นความจาเป็นท่ีต้องคงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินไว้ต่อไปเพ่ือให้ประชาชนสามารถ
ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้โดยยังคงตระหนักและปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค และเพ่ือประโยชน์ในการ
ปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งต้องสนธิกาลังทุกฝ่ายนอกเหนือจากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตาม
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ผลจากการสนธิกาลังประการหน่ึง คือ พนักงานเจ้าหน้าที่ยังคงตรวจพบผู้
ได้รับอนุญาตให้เดินทางเข้าเมือง และผู้ลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายเป็นจานวนมากท่ีมีอาการและอาจเป็น
พาหะนาโรคเขา้ มาแพร่ในประเทศได้
สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 ในเดก็
สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษา สถานศึกษาต้องเตรียมตัวให้
พร้อมในการจัดการเรียนนการสอนรปแู บบใหม่ท่ีสอดรับกับมาตรการป้องกันการระบาด พร้อมกบั เตรยี มมาตรการ
ตา่ ง ๆ เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหผ้ ู้เรียนได้รับผลกระทบจากรปู แบบการเรียนทเ่ี ปล่ียนไป ในชว่ งการระบาดระลอกท่ีผ่านมา
โรงเรียนมีมาตรการปิดโรงเรียน เพ่ือลดช่องทางการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส แต่การปิดโรงเรียนส่งผลให้นักเรียน
ส่วนใหญ่เสียโอกาสในการเรียนรู้ โดยเฉพาะนักเรียนในครอบครัวท่ีมีฐานะยากจน ท่ีมีรายได้ไม่มากพอ ในการ
สนับสนุนการเรียนของเด็กเพิ่มเติม และการปิดโรงเรียนอาจทาให้เด็กกลุ่มน้ีออกจากระบบการศึกษา ซึ่งจะ
ก่อให้เกิดผลเสียต่อชวีติเด็กในระยะยาว จากผลการสารวจอนามัยโพลประเด็น “ความรู้สึกกังวลต่อสถานการณ์
โควิด 19 และการเปิดเรยี นเดอื นมิถนุ ายน 2564” ระหว่างวันท่ี 18-24 พฤษภาคม2564 พบว่า ผู้ปกครองมีความ
กังวลต่อสถานการณ์โควิด 19 สงูถึงร้อยละ 95.6 โดยประเด็นทที่มีความกังวลสูง 3 อันดับแรกคือ การดูแล
สุขอนามัยส่วนบคุคล ของครูและนักเรียน ร้อยละ 33.1 การจัดภาพแวดล้อมในสถานศึกษา 22.8 และโรงเรียน
ตอ้ งผ่านเกณฑป์ ระเมินความพร้อมของสาธารณสุข ร้อยละ 15.3 ตามลาดับอย่างไรกต็ าม สง่ิ ทีจ่ าเปน็ คอื การวาง
แนวทางเปิดโรงเรียนเพ่ือให้เด็กได้ไปโรงเรียนอีกคร้ัง โดยให้สอดคล้องกับ ระดับความรุนแรงของสถานการณ์
ควบคู่กับการใช้มาตรการทางด้านสาธารณสุขและมาตรการทางสังคมอย่างเคร่งครัด (ที่มา : แนวปฏิบัติยกระดับ
ความปลอดภยั มนั่ ใจสุขอนามัยไรโ้ ควดิ 19 ระลอกใหม่ ในสถานศึกษา)
เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำระดบั ควำมรุนแรงของกำรระบำดโควดิ 19 ระดับประเทศ
การพิจารณาระดับความรนุ แรงของการระบาดของโรคโควิด 19 ระดบั ประเทศ ควรคานึงถงึ ความสาคัญ
ของคณุ ลกั ษณะ 3 ประเด็น ไดแ้ ก่
1) จานวนผู้ตดิ เชอ้ื รายใหมส่ ะสมตอ่ สัปดาห์
2) ลักษณะการกระจายของโรคตามจงั หวดั และเขตสุขภาพ
3) การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา
6
แตล่ ะประเดน็ มกี ารจาแนกระดบั ความรนุ แรงของการระบาดของโรคโควดิ 19 ตามลกั ษณะสีแบ่งเปน็ 5 สี
ไดแ้ ก่ สขี าว เขียว เหลอื ง ส้ม แดง มรี ายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี
สีขำว (ปลอดภัย มีวัคซีน) หมายถึง ไม่มีผู้ติดเชื้อในประเทศมีผู้ติดเช้ือมาจากต่างประเทศผู้เดินทางมา
จากตา่ งประเทศเขา้ สถานที่กกั กัน ผ้ตู ดิ เชอื้ เข้ารักษาในโรงพยาบาลทก่ี าหนด
สเี ขยี ว (ไมร่ ุนแรง ไม่มวี ัคซนี ) หมายถึง มผี ู้ติดเชอ้ื ในประเทศมีผู้ติดเช้ือมาจากต่างประเทศผู้เดินทางจาก
ต่างประเทศเขา้ สถานทกี่ กั กัน ผูต้ ดิ เช้ือเข้ารักษาในโรงพยาบาลทีก่ าหนด
สีเหลือง (รุนแรงน้อย) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์น้อยกว่า 300 รายต่อสัปดาห์
ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การกระจาย
ของโรคตามลักษณะทางระบาดวทิ ยา ระบาดในวงจากัด มีไมเ่ กนิ 3 กลมุ่ ก้อน (Cluster)
สีส้ม (รุนแรงปำนกลำง) หมายถึง จานวนผู้ติดเช้ือรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์ 300-900 รายต่อสัปดาห์
ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพ ไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต จานวน 4-6 เขต หรือ มากกว่า
1 จังหวัดต่อเขต และไม่เกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา ระบาดในวงจากัด
มีมากกว่า 3 กลุ่มกอ้ น (Cluster) และมีความเชื่อมโยงกัน
สีแดง (รุนแรงมำก) หมายถึง จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สะสมต่อสัปดาห์มากกว่า 900 รายต่อสัปดาห์
ลักษณะการกระจายของโรคตามจังหวัดและเขตสุขภาพไม่เกิน 1 จังหวัดต่อเขต และเกิน 6 เขต หรือ มากกว่า
1 จังหวัดต่อเขต และเกิน 3 เขต การกระจายของโรคตามลักษณะทางระบาดวิทยา มีการระบาดในวงกว้าง
หาสาเหตุไมไ่ ด้
เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำระดบั ควำมรุนแรงของกำรระบำดโควิด-19 ระดับประเทศ
คณะกรรมการดา้ นวิชาการพิจารณา และกาหนดระดับความรนุ แรง ผา่ นกลไกของคณะกรรมการโรคติดตอ่ แห่งชาติ และศบค.
เม่อื เกิดการระบาดฯ อาจจะมีการปรับปรุงระดับสีทกุ สปั ดาห์ ตามสถานการณ์ ณ ขณะนั้น
ที่มา : (ปรบั จากกก. ด้านวิชาการ 6 ส.ค. 62) ผจู้ ัดทา กระทรวงสาธารณสขุ
7
หลกั กำร Sandbox Safety Zone in School
หลักการ Sandbox Safety Zone in School ใช้แนวทางตัดความเสย่ี ง สรา้ งภมู ิคุม้ กนั (3T1V) มดี ังนี้
• T: Thai Stop Covid Plus (TSC+)
สถานศึกษาตอ้ งประเมินตนเองเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดเรยี น
https://stopcovid.anamai.moph.go.th/webapp/main.php
• T: Thai Save Thai (TST)
นักเรียน ครู และบุคลากร ประเมนิ ความเสี่ยงด้วยตนเอง
https://savethai.anamai.moph.go.th/main.php
• T: Test Kit (TK)
นักเรยี น ครู และบุคลากรในสถานศึกษาทุกคน ต้องตรวจคัดกรองหาเช้ือดว้ ยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม
ก่อนเขา้ Quarantine Zone
• V: Vaccine
ครูและบุคลากรของสถานศึกษาเข้าถึงการฉดี วัคซีนครอบคลมุ มากกว่าร้อยละ 85
แนวทำงกำรจดั กำร Safety Zone in School
รปู แบบ Sandbox Safety Zone in School ในโรงเรียนประจา แบ่งเปน็ 3 zone
1) Screening Zone
จัดพ้ืนที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง(Screening Zone) ท่ีเหมาะสม จัดจุดรับ-ส่งสิ่งของ จุด
รับส่งอาหาร หรือจุดเส่ียงอ่ืน เป็นการจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองและผู้มาติดต่อที่เข้ามาในโรงเรียน
ไมใ่ ห้ใกลช้ ดิ กบั บคุ คลในโซนอ่ืน รวมถงึ จดั ให้มีพ้ืนทปี่ ฏิบตั ิงานเฉพาะบุคลากรท่ีไม่สามารถเข้าปฏิบัติงานในโซนอ่ืน
ได้
2) Quarantine Zone
จัดพ้ืนท่ีหรือบริเวณใหเ้ ป็นจุดกักกันและสังเกตอาการ สาหรับนักเรยี น ครู และบุคลากรท่ียังตอ้ ง
สังเกตอาการ เน้นการจดั กิจกรรมแบบ Small bubble
3) Safety Zone
จดั เป็นพื้นทีป่ ลอดเช้ือ ปลอดภยั สาหรบั นกั เรยี น ครู และบุคลากร ท่ีปฏบิ ตั ิภารกจิ กิจกรรมแบบ
ปลอดภยั
8
แนวทำงกำรจดั กำร Safety Zone in School
แนวปฏบิ ัติตำมมำตรกำร Sandbox Safety Zone in School
9
5
3 มำตรกำร Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป - กลบั
มีหลกั เกณฑ์ทีต่ ้องปฏบิ ัติอย่ำงเคร่งครัด 4 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี
1. องคป์ ระกอบด้ำนกำยภำพ ลกั ษณะอาคารและพ้ืนทโ่ี ดยรอบอาคารของโรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษา
ประเภทไป-กลบั ท่ีมีความพร้อมและผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
1.1 พน้ื ท่/ี อาคารสนับสนนุ การบริการ
1.2 พ้นื ที/่ อาคารเพื่อจดั การเรียนการสอน โดยจดั อาคารและพ้ืนทโ่ี ดยรอบให้เป็นพน้ื ท่ปี ฏบิ ตั ิงานที่
ปลอดภัย และมีพื้นที่ทีเ่ ปน็ Covid free Zone
2. องค์ประกอบด้ำนกำรมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนหรือ
สถานศึกษาที่ประสงค์จะดาเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุม
หารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบ
ร่วมกันในการจัดพื้นท่ีการเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา
ก่อนนาเสนอโครงการผ่านต้นสงั กัดในพ้ืนที่ แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
หรือคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด
3. องค์ประกอบด้ำนกำรประเมินควำมพร้อมสู่กำรปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องเตรียมการ
ประเมินความพรอ้ ม ดงั น้ี
3.1 โรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษาต้องดาเนินการ
1) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน
MOE Covid
2) ต้องจัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สาหรับรองรับการดูแลรักษา
เบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก รวมถึง
มีแผนเผชิญเหตแุ ละมคี วามร่วมมือกบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพ้นื ท่ีที่ดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ
3) ต้องควบคุมดูแลการเดนิ ทางระหวา่ งบา้ นกับโรงเรยี นอย่างเขม้ ข้น โดยหลกี เลยี่ งการเขา้ ไป
สมั ผสั ในพน้ื ท่ตี ่าง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดินทาง
4) ต้องจัดพ้ืนที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ีเหมาะสมจัดจุดรับส่ง
ส่ิงของ จุดรับส่งอาหาร หรือจุดเสี่ยงอ่ืน เป็นการจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และ ผู้มาติดต่อที่เข้ามา
ในโรงเรียน
5) ต้องมีระบบและแผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการ บูรณาการ
ร่วมกนั ระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข ทงั้ ช่วงกอ่ นและระหว่างดาเนนิ การ
3.2 นักเรียน ครู และบคุ ลากรต้องปฏบิ ัติ
1) ครู และบุคลากร ต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ตั้งแต่ร้อยละ 85 เป็นต้นไปส่วนนักเรียน
และผู้ปกครองควรได้รับวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะ
สถานศกึ ษาทีอ่ ยูใ่ นพ้ืนที่ควบคมุ สูงสุด (พื้นทส่ี แี ดง) และพื้นท่ีควบคมุ สงู สดุ และเข้มงวด (พน้ื ที่สีแดงเข้ม)
10
2) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาที่อยู่ในพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุด (พ้ืนที่สีแดง) และพ้ืนท่ี
ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด(พื้นท่ีสีแดงเข้ม)ทุกคนต้องตรวจคัดกรอง ATK ในวันแรกของการเปิดเรียนของ
สถานศกึ ษา
3) นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา มีการทากจิ กรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble
และหลีกเล่ียงการทากิจกรรมข้ามกลมุ่ กัน โดยเฉพาะพื้นท่ีควบคุมสูงสดุ (พื้นที่สีแดง) และพื้นท่ี ควบคุมสูงสุดและ
เขม้ งวด (พน้ื ทส่ี ีแดงเขม้ )
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื จดั ระดับความรุนแรงของการระบาดของโควิด 19
2. เพื่อนาไปใช้ในการกาหนดมาตรการ การป้องกันควบคมุ โรค ระดับสถานศกึ ษา
3. เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษานาไปปรับใช้
กลุ่มเปำ้ หมำย
- นักเรยี น ครู บุคลากร และผเู้ กี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา
11
ส่วนที่ 2
แนวปฏบิ ัตกิ ำรเตรยี มกำรก่อนเปิดเรยี น
การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสาคัญอย่างมากเน่ืองจากมีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิตน ของ
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพอื่ ป้องกนั ไม่ให้มกี ารตดิ เช้ือโรคโควิด-19 (Covid-19)
ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน จึงกาหนดให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาต้องได้การฉีดวัคซีนครบโดสตั้งแต่ร้อยละ 85 ขึ้นไปและให้มีแนวปฏิบัติการเตรียมการก่อนเปิดเรียน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 และสถานศึกษาในสังกัดเตรียมการก่อนเปิดเรียน
โดยมีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1. กำรฉีดวัคซีนของครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำ
อบุ ลรำชธำนี เขต 4
1.1 การฉีดวัคซีนให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
อุบลราชธานี เขต 4
8
12
1.2 การฉีดวคั ซีนใหแ้ กน่ ักเรยี นในสังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4
2. กำรประเมินควำมเสย่ี ง ผำ่ น Thai Save Thai
ครู นกั เรียน ผปู้ กครอง ชุมชน และประชาชนทกุ คน ทาการประเมนิ ความเสย่ี งของตนเองกอ่ นออกจาก
บา้ นทุกวัน ผา่ นระบบ Thai Save Thai https://savethai.anamai.moph.go.th
13
รำยกำรประเมนิ
1. ประเมินอาการเสีย่ ง
2. ประเมินสถานทเ่ี ส่ยี งและพฤติกรรมเสย่ี ง
3. ประเมินความเส่ียงกรณีมีผลตรวจจากโรงพยาบาล
4. ประเมินความเสี่ยงกรณีฉีดวัคซนี
QR Code ประเมิน Thai Save Thai
14
3. กำรเตรยี มควำมพร้อมก่อนเปิดภำคเรยี น 6 มิติ
กรณเี ปิดทาการเรยี นการสอน สถานศกึ ษาต้องเตรียมความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียน (Reopening)
แบบเขม้ ข้น ตามกรอบแนวทาง 6 มิติ ประกอบดว้ ย
1) ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชอ้ื โรค
2) การเรยี นรู้
3) การครอบคลุมถึงเดก็ ดอ้ ยโอกาส
4) สวสั ดิภาพและการคุ้มครอง
5) นโยบาย
6) การบริหารการเงิน
ท่มี า : คมู่ อื การปฏิบตั ิสาหรบั สถานศึกษา ในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสขุ
4. กำรประเมินตนเองเตรยี มควำมพรอ้ มก่อนเปดิ ภำคเรียน ผ่ำน Thai Stop Covid
สถานศกึ ษาทาการประเมินตนเอง เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น ผ่าน Thai Stop Covid กรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข หรือ MOE (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ตามแบบประเมินตนเองของ
สถานศึกษา จานวน 44 ข้อ ประกอบด้วย
15
มติ ทิ ี่ 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพรเ่ ช้ือโรค จานวน 20 ขอ้
มติ ิท่ี 2 การเรยี นรู้ จานวน 4 ขอ้
มิติที่ 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กด้อยโอกาส จานวน 6 ข้อ
มิติท่ี 4 สวสั ดิภาพและการคุ้มครอง จานวน 5 ข้อ
มิติที่ 5 นโยบาย จานวน 5 ข้อ
มิติที่ 6 การบริหารการเงนิ จานวน 4 ข้อ
16
มติ ทิ ี่ 1 ควำมปลอดภยั จำกกำรลดกำรแพร่เชื้อโรค
1. มีมาตรการคัดกรองวัดไขใ้ หก้ ับนกั เรียน ครู และผู้เข้ามาตดิ ตอ่ ทกุ คน ก่อนเขา้ สถานศึกษา หรือไม่
2. มมี าตรการสังเกตอาการเสีย่ งโควิด 19 เช่น ไอ มนี ้ามกู เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หายใจลาบาก จมูกไม่ได้กล่ิน
ลน้ิ ไม่รู้รส พรอ้ มบนั ทกึ ผล สาหรบั นักเรยี น ครู และผเู้ ขา้ มาติดต่อ ทกุ คนก่อนเข้าสถานศึกษา หรือไม่
3. มีนโยบายกาหนดให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามยั หรอื ไม่
4. มีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย สารองไว้ให้กับนักเรียน ร้องขอ หรือผู้ท่ีไม่มีหน้ากากเข้า
มาในสถานศึกษา หรือไม่
5. มจี ุดล้างมอื ดว้ ยสบู่ อยา่ งเพียงพอ หรอื ไม่
6. มีการจดั วางเจลแอลกอฮอลส์ าหรบั ใช้ทาความสะอาดมอื บรเิ วณทางเขา้ อาคารเรยี น หน้าประตหู ้องเรียน
ทางเขา้ โรงอาหาร อยา่ งเพยี งพอหรือไม่
7. มีการจัดโต๊ะเรยี น เก้าอ้ีน่ังเรียน ท่ีนั่งในโรงอาหาร ที่น่ังพัก โดยจัดเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกัน อย่างน้อย 1-
2 เมตร (ยึดหลกั Social Distancing) หรอื ไม่
8. มกี ารทาสัญลกั ษณแ์ สดงจดุ ตาแหนง่ ชัดเจนในการจัดเว้นระยะหา่ งระหวา่ งกัน หรอื ไม่
9. กรณีห้องเรียนไม่สามารถจัดเว้นระยะห่างตามท่ีกาหนดได้มีการสลับวันเรียนของแต่ละชั้นเรียนหรือการ
แบ่งจานวนนกั เรียน หรอื ไม่
10. มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องต่าง ๆ และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเรียนการสอน ก่อนและหลังใช้งานทุก
ครัง้ เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งดนตรี อุปกรณ์กฬี า หรอื ไม่
11. มีการทาความสะอาดบริเวณจดุ สัมผัสเส่ยี งรว่ ม ทุกวัน เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี ราวบนั ได ลฟิ ต์ กลอนประตู มอื จบั
ประตู - หนา้ ต่าง หรอื ไม่
12. มถี ังขยะแบบมฝี าปิดในหอ้ งเรยี น หรือไม่
13. มีการปรับปรุงซ่อมแซมประตู หน้าต่าง และพัดลมของห้องเรียนให้มีสภาพการใช้งานได้ดี สาหรับใช้ปดิ -
เปิดใหอ้ ากาศถ่ายเทสะดวกหรือไม่
14. มกี ารแบ่งกลมุ่ ยอ่ ยนกั เรยี นในห้องเรียนในการทากิจกรรม หรอื ไม่
15. มกี ารปรบั ลดเวลาในการทากจิ กรรมประชาสมั พันธ์ ภายหลังการเข้าแถวเคารพธงชาติหรือไม่
16. มีการจัดเหลอื่ มเวลาทากิจกรรมนกั เรียนเหลือ่ มเวลากินอาหารกลางวนั หรอื ไม่
17. มีมาตรการให้เวน้ ระยะหา่ งการเขา้ แถวทากิจกรรม หรอื ไม่
18. มีการกาหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ส่ิงของร่วมกับผู้อ่ืน เช่น แก้วน้า ช้อน ส้อม แปรงสีฟัน ยาสีฟัน
ผา้ เช็ดหนา้ หรอื ไม่
19. มีหอ้ งพยาบาลหรือพนื้ ที่สาหรบั แยกผมู้ ีอาการเสี่ยงทางระบบทางเดนิ หายใจ หรือไม่
17
20. มีนักเรียนแกนนาดา้ นสุขภาพ จิตอาสา เปน็ อาสาสมคั ร ในการชว่ ยดแู ลสุขภาพเพื่อนนักเรียนดว้ ยกันหรือ
ดูแลรุ่นน้อง หรือไม่
มติ ิที่ 2 กำรเรยี นรู้
21. มีการติดปา้ ยประชาสัมพันธแ์ นะนาการปฏิบัติเพื่อสขุ อนามัยท่ีดี เช่น วธิ ีล้างมอื ที่ถูกต้อง การสวมหนา้ กาก
อนามัย การเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล เปน็ ต้น หรืออ่ืน ๆ ทเี่ กีย่ วกบั โรคโควิด 14 หรอื ไม่
22. มีการเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนโดยคานึงถึงการเรียนรู้ตามวัยและสอดคล้องกับ
พฒั นาการดา้ นสงั คม อารมณ์ และสติปญั ญา หรือไม่
23. มมี าตรการกาหนดระยะเวลาในการใชส้ อ่ื ออนไลนใ์ นสถานศึกษาในเดก็ เล็ก(ประถมศึกษา) ไมเ่ กิน1 ช่วั โมง
ต่อวนั และ ในเด็กโต (มัธยมศึกษา) ไมเ่ กนิ 6 ชั่วโมงต่อวนั หรือไม่
24. มีการใช้สื่อรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านช่องทาง Social media เช่น Website, Facebook, Line, QR Code,
E-mailหรอื ไม่
มติ ทิ ี่ 3 กำรครอบคลมุ ถงึ เด็กดอ้ ยโอกำส
25. มกี ารเตรียมหน้ากากผา้ สารองสาหรบั เดก็ เล็ก หรือไม่
26. มีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับบริบทการเข้าถึงการเรียนรู้ในสถานการณ์การระบาด
ของโรคโควดิ 19 หรอื ไม่
27. มีมาตรการสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นได้รบั บรกิ ารสขุ ภาพขน้ั พน้ื ฐานอย่างทัว่ ถงึ หรอื ไม่
28. มีมาตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พักและเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะพร้อมมี
ตารางเวรทกุ วัน หรอื ไม่ (กรณีมีทพี่ กั และเรือนนอน)
29. มีมาตรการการทาความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติด้านศาสนกิจ
พร้อมมีตารางเวรทุกวัน หรือไม่ (กรณีมีสถานทป่ี ฏบิ ตั ศิ าสนากจิ )
30. มีมาตรการดูแลนักเรียนท่ีมีความบกพร่องด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์รวมถึง
ภาวะสมาธิสั้น และเด็กออทิสติก ท่สี ามารถเรียนรว่ มกบั เดก็ ปกติหรอื ไม่
มิติที่ 4 สวัสดิภำพและกำรค้มุ ครอง
31. มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนป่วย กักตัว หรือกรณีปิดโรงเรียน
หรือไม่
32. มีการจัดเตรยี มแนวปฏิบตั กิ ารสอ่ื สารเพ่อื ลดการรงั เกยี จและการตีตราทางสังคม (Social Stigma) หรือไม่
33. มีการจัดเตรียมแนวปฏบิ ัติด้านการจดั การความเครียดของครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษา หรอื ไม่
34. มีการตรวจสอบประวัติเส่ียงของนักเรียนและบุคลากร รวมทั้งตรวจสอบเรื่องการกักตัวให้ครบ 14 วัน
ก่อนมาทาการเรยี นการสอนตามปกติ และทุกวันเปดิ เรียน หรือไม่
35. มกี ารกาหนดแนวทางปฏบิ ตั ิตามระเบียบสาหรับนักเรยี น ครู และบคุ ลากรทสี่ งสยั ตดิ เชื้อหรือปว่ ยด้วยโรค
โควดิ 19 โดยไมถ่ ือเปน็ วันลาหรอื วนั หยุดเรียน หรือไม่
18
มิตทิ ี่ 5 นโยบำย
36. มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์ความรู้การป้องกันโรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง โดย
การประชมุ ช้ีแจงหรอื ผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ อย่างนอ้ ย 1 คร้งั กอ่ นหรือวนั แรกของการเปิดเรยี นหรือไม่
37. มีนโยบายและแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษา อย่างเป็นลายลักษณ์
หรือมหี ลักฐานชดั เจน หรือไม่
38. มกี ารประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หรือไม่
39. มีการแต่งตั้งคณะทางานป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 และกาหนดบทบาทหน้าท่ีอย่างชัดเจน
หรอื ไม่
40. มีมาตรการบริหารจัดการความสะอาดบนรถรับ-ส่งนักเรียน เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดที่นั่งบนรถ
หรือมีสัญลกั ษณจ์ ุดตาแหน่งชดั เจน หรือไม่ (กรณีรถรบั - สง่ นกั เรียน)
มิติท่ี 6 กำรบรหิ ำรกำรเงนิ
41. มีแผนการใช้งบประมาณในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามความจาเป็นและเหมาะสม
หรือไม่
42. มีการจัดหาซอื้ วัสดอุ ุปกรณป์ อ้ งกันโรคโควดิ 19 สาหรบั นกั เรยี นและบคุ ลากรในสถานศึกษา เช่น หนา้ กาก
ผา้ หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรือไม่
43. มีการประสานแสวงหาแหลง่ ทุนสนับสนุนจากหนว่ ยงาน องค์กร หรือเอกชน เช่น ท้องถ่ิน บริษัทห้างรา้ น
NGO เป็นต้น หรอื มกี ารบรหิ ารจัดการดา้ นการเงินเพื่อดาเนนิ กิจกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
โควดิ 19 หรือไม่
44. มกี ารจัดหาบุคลากรในการดแู ลนกั เรยี นและการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศึกษา หรอื ไม่
19
ส่วนที่ 3
แนวปฏบิ ตั ริ ะหวำ่ งเปิดเรยี น
สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามมาตรการระหว่างเปิ ดเรียนตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid-19) โดยคานึงถึงความปลอดภัยของนักเรยี น ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษาสงู สดุ สานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 จึงได้ดาเนินการจัดทาและรวบรวมแนวปฏิบัติระหว่าง
เปดิ เรยี น เป็น 2 กรณี ดงั น้ี
1. กรณีเปิดเรยี นไดต้ ำมปกติ On Site สถำนศึกษำตอ้ งปฏิบัติ
มำตรกำรยกระดบั ควำมปลอดภยั 6x6x7 มำตรกำรหลัก-เสริม-เขม้ งวด
6 มำตรกำรหลัก (DMHT-RC)
1. Distancing (D) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอยา่ งน้อย 1-2 เมตร
2. Mask wearing (M) นักเรยี นนกั ศกึ ษา (มธั ยม-อุดมศึกษา) สวมหน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย
100% ตลอดเวลาท่ีอยใู่ นสถานศกึ ษาเมื่อออกจากเคหสถานหรืออยใู่ นที่สาธารณะ
3. Hand washing (H) ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ด้วยสบูแ่ ละน้า นาน 20 วนิ าทหี รอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์
4. Testing (T) คัดกรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผสั เสีย่ งทุกคนก่อนเขา้ สถานศกึ ษา
5. Reducing (R) ลดการแออัด ลดเข้าไปในพ้ืนท่ีเส่ียง กลุ่มคนจานวนมากกรณีพื้นที่สีแดงเข้ม
ห้ามจัดกิจกรรมรวมคนมากกว่า 20 คน กรณีพ้ืนท่ีสีแดง สีส้ม ห้ามจัดกิจกรรมรวมคนมากกว่า
50 คน ทัง้ นี้ ตามท่ีรฐั กาหนด
6. Cleaning (C) ทาความสะอาดพื้นผิวสัมผัสร่วม
20
6 มำตรกำรเสริม (SSET-CO)
1. Self-care (S) ดแู ลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏบิ ตั ิตน มีวนิ ัย รับผิดชอบตนเองปฏิบตั ิตามมาตรการอย่าง
เครง่ ครัด
2. Spoon (S) ใชช้ อ้ นส่วนตัว กนิ อาหารทุกครั้ง กินแยก ไม่กินรว่ มกนั ลดสัมผัสร่วมกับผอู้ ่นื
3. Eating (E) กินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อนๆ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ช่ัวโมง นามาอุ่นให้ร้อนเดอื ดทว่ั ถงึ
กอ่ นกนิ อกี ครั้ง
4. Thai chana (T) ลงทะเบยี นไทยชนะตามที่รฐั กาหนด ดว้ ย app ไทยชนะ หรือลงทะเบยี นบันทึก
การเข้า-ออกอยา่ งชดั เจน
5. Check (C) สารวจตรวจสอบบุคคล นักเรียน หรือกลุ่มเส่ียงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง เพ่ือเข้าสู่
กระบวนการคัดกรอง
6. Quarantine (Q) กกั กนั ตวั เอง 14 วัน เมอ่ื เขา้ ไปสมั ผสั หรอื อยใู่ นพืน้ ทเี่ สี่ยงท่ีมีการระบาดของโรค
7 มำตรกำรเขม้ งวด (สำหรับสถำนศกึ ษำ)
1. ประเมิน TSC+ และรายงานผลผ่าน MOE COVIC ต่อเนอ่ื ง
2. Small Bubble ทากจิ กรรมแบบกล่มุ ยอ่ ย ไมท่ ากิจกรรมขา้ มกลมุ่
3. อาหารตามหลักสขุ าภบิ าลอาหารและโภชนาการ
4. อนามัยสิง่ แวดล้อมตามเกณฑ์มาตรฐาน ทง้ั อากาศ ความสะอาด นา้ ขยะ
5. School Isolation มแี ผนเผชญิ เหตุ และซักซ้อมอยา่ งเคร่งครดั
6. Seal Route ดแู ลการเดินทางจากบา้ นไปโรงเรียน
7. School Pass สาหรบั ทกุ คนในสถานศึกษา
8. ยกระดับความปลอดภัยมนั่ ใจสขุ อนามยั ไร้โควดิ -19
21
1.2 แนวปฏบิ ัตกิ ำรป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ – 19 ของสถำนศึกษำ
หลกั ปฏบิ ัติในกำรป้องกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ -19
1. คัดกรอง (Screening) ผู้ที่เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องได้รับการคัดกรองวัด
อณุ หภมู ิ ร่างกาย
2. สวมหนำ้ กำก (Mask) ทุกคนต้องสวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย ตลอดเวลา
ทีอ่ ยใู่ น สถานศกึ ษา
3. ล้ำงมือ (Hand Wash) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า นานอย่างน้อย 20 วินาที
หรอื ใชเ้ จล แอลกอฮอล์ หลกี เลยี่ งการสมั ผสั บริเวณจุดเส่ยี งโดยไมจ่ าเป็น
4. เว้นระยะหำ่ ง (Social distancing) เวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1- 2
เมตร รวมถงึ การจัดเว้นระยะหา่ งของสถานที่
5. ทำควำมสะอำด (Cleaning) เปดิ ประตู หน้าตา่ ง ใหอ้ ากาศถ่ายเท หากจาเป็นต้อง
ใช้ เครื่องปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่ืองปรับอากาศ และเปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศ ทุก 1
ชั่วโมง และทาความสะอาดห้องเรียนและบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทาความสะอาดพ้ืนผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และ
วัสดุ อุปกรณ์ ก่อนเข้าเรียน ช่วงพักเที่ยง และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิดและ
รวบรวมขยะออกจากหอ้ งเรียนเพือ่ นาไปกาจดั ทุกวัน
6. ลดแออัด (Decrease) ลดระยะเวลาการทากิจกรรมให้ส้ันลงเท่าที่จาเป็นหรือ
เหล่อื มเวลาทากจิ กรรมและหลกี เลี่ยงการทากิจกรรมรวมตัวกนั เป็นกลุม่
22
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
23
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
24
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
25
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
26
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
27
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
28
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
29
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
30
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
31
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
32
ท่มี า : สานกั งานสง่ เสริมสขุ ภาพกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
33
2. กรณโี รงเรยี นไม่สำมำรถเปิดเรยี นได้ตำมปกติ
การจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ซง่ึ
สถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง สถานศึกษาจึงควรเลือก
รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning)โดยพิจารณารูปแบบให้มี ความเหมาะสม และความ
พรอ้ มของสถานศึกษา ดงั นี้
1) กำรเรียนผ่ำนโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ท่ีใช้ส่ือวีดิทัศน์การเรียนการสอนของ มูลนธิ ิ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีท่ี 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และใช้
ส่ือวีดิทัศน์การเรียนการสอนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ถึง
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
2) กำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ
แอปพลิเคชั่น การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สาหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น
คอมพวิ เตอร์ แท็บเล็ต โทรศพั ท์ และมีการเช่ือมต่อสญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็
3) กำรเรียนผ่ำนหนังสือ เอกสำรและใบงำน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีที่
นักเรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทาแบบฝึกหัด หรือ
ให้การบา้ นไปทาท่บี ้าน อาจใชร้ ่วมกับรูปแบบอ่นื ๆ ตามบริบทของท้องถ่ิน
4) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV
(www.dltv.ac.th) หรือช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือ
แทบ็ เล็ต
34
ส่วนที่ 4
แนวทำงกำรจดั กำรเรียนกำรสอนในสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำด
ของโรคตดิ เชอ้ื โคโรนำ 2019 (COVID 19)
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ท่ีกาหนดไว้น้ี สถานศึกษาควรพิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบให้มีความ
เหมาะสม ตามความต้องการของสถานศึกษา และให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้
สถานศึกษาสามารถท่ีจะกาหนดแนวทางการการจัดการเรียนการสอนท่ีแตกต่างจากที่กาหนดไว้น้ี หรือจัดการ
เรยี นการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ทั้งน้ีตอ้ งคานงึ ถึงความปลอดภยั ของนักเรยี น ครู และบคุ ลากร เป็นสาคัญ
(ทมี่ า : แนวทางการเตรียมการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน)
รปู แบบกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนำ 2019
รูปแบบทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) มี 2 รปู แบบ ดังนี้
1. รปู แบบกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนแบบชนั้ เรียน (Onsite)
วธิ ีการนี้สาหรบั สถานศกึ ษาทมี่ ีผลการประเมินตนเองผ่าน ตามแบบประเมนิ ตนเองสาหรบั สถานศึกษา ใน
ระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวยอ่ TSC+ ในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น และปฏิบัตติ าม ประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง หลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรียนหรือสถาบนั การศึกษาตามข้อกาหนดตามความ ในมาตรา 9
แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 32) ลงวันที่ 20 กันยายน 2564
ซ่ึงกาหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School เพ่ือให้สถานศึกษา นาไปใช้ในการปฏิบัติอย่าง
เคร่งครัด ซ่ึงสถานศึกษาจะต้องนาเสนอ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค
จังหวัด (ศปก.จ.) เมอ่ื ได้รับอนุญาตแล้วสถานศึกษาจึงจะสามารถเปิดการเรียนการสอนได้ เม่อื สถานศึกษาเปิดให้มี
การเรียนการสอนตามปกติ ทเี่ น้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนหรือ ในชัน้ เรยี นเปน็ หลัก ครผู ้สู อนสามารถ
นารปู แบบการเรียนการสอนอ่นื ๆ มาผสมผสาน (Hybrid) ใชก้ ับการเรยี น การสอนเพม่ิ เตมิ ในช้นั เรียนได้ เช่น การ
เรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่าน แอปพลิเคชัน (Online) หรือรูปแบบอ่ืน ๆ ตาม
ความพร้อม และความต้องการของสถานศกึ ษา หรือครูผู้สอน ดังนี้
35
กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนแบบผสมผสำน (Hybrid) ในแบบช้ันเรยี น (Onsite)
รปู แบบที่ 1 การสลับช้นั มาเรยี นของนักเรยี น แบบสลับชั้นมาเรียน
รปู แบบท่ี 2 การสลับชน้ั มาเรียนของนักเรียน แบบสลับวนั คู่ วันค่ี
รูปแบบที่ 3 การสลบั ช้ันมาเรียนของนักเรยี น แบบสลบั วนั มาเรยี น 5 วนั หยุด 9 วนั
36
รูปแบบที่ 4 การสลบั ชว่ งเวลามาเรยี นของนกั เรยี น แบบเรียนทกุ วัน
รูปแบบที่ 5 การสลบั กลมุ่ นักเรียน แบบแบ่งนักเรียนในหอ้ งเรียนเป็น 2 กลมุ่
2. รูปแบบกำรเรียนกำรสอนทำงไกล (Distance Learning)
รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) มี 4 รูปแบบ ดงั นี้
รูปแบบกำรเรียนผ่ำนโทรทศั น์ (On Air)
- ระบบดาวเทยี ม (Satellite)
- ระบบดิจิทัลทีวี (Digital TV) ชอ่ ง 37 – 48
- ระบบเคเบ้ลิ ทีวี
- ระบบ IPTV
37
รปู แบบกำรเรยี นกำรสอนแบบออนไลน์ (Online)
สถานศกึ ษาสามารถเลือกใช้ Applications สนบั สนุนการเรียนการสอนทางไกล ซ่งึ เป็นช่องทาง การ
สอื่ สารการจดั การเรยี นการสอนแบบทางไกล ท่ีเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ของสถานศึกษา ดังนี้
- Microsoft Teams
- Zoom Meeting
- Google Meet
- LINE
- Discord
- Facebook Live
- YouTube
- Google Hangouts Meet
- Skype
- Cisco Webex
- Padlet
รูปแบบกำรเรยี นกำรสอนผำ่ นหนงั สอื เอกสำรใบงำน (ON Hand)
- รูปแบบน้ีเปน็ การเรียนการสอนผา่ นหนังสอื โดยใหแ้ บบฝกึ หัด ให้การบ้านไปทาท่บี ้าน อาจใช้
ร่วมกับรูปแบบอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม และความต้องการของนักเรียน ในกรณที ่นี ักเรียนมี
ทรัพยากร ไม่พรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอนในรปแู บบอ่ืน ๆ
รูปแบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ (ON Demand)
- ผา่ นเว็บไซต์ OBEC Content Center - https://contentcenter.obec.go.th/
- ผา่ นเวบ็ ไซต์ DEEP - https://deep.moe.go.th/
- ผา่ นเว็บไซต์ DLTV - https://www.dltv.ac.th/
- ผา่ นช่องยูทูบ (YouTube) DLTV 1Channel ถึง DLTV 15 Channel
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
38
ส่วนท่ี 5
กำรเฝำ้ ระวังตดิ ตำมและแผนเผชญิ เหตรุ องรับกำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ 19
1. แผนเผชิญเหตรุ องรับสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ -19 สำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำ
ประถมศกึ ษำอุบลรำชธำนี เขต 4
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย มีการแพรร่ ะบาดอย่าง ในการเปดิ ภาคเรียน
ของสถานศึกษา จึงควรกาหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ใน
สถานศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมการและเตรียมพร้อมรองรับสถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึน อันเป็นแนวปฏิบัติตาม
มาตรการการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อยา่ งเครง่ ครัดโดยใหส้ ถานศกึ ษาในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 ดาเนินการตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2564 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ดังน้ี
39
40
แผนเผชญิ เหตสุ ำหรับสถำนศกึ ษำในสงั กดั สำนักงำนเขต้นื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำอุบลรำชธำนี เขต 4
41
2. กำรจดั ต้ังศูนยเ์ ฉพำะกจิ เฝำ้ ระวังและป้องกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนำ 2019
1. คณะกรรมกำรบรหิ ำรจดั กำรศนู ยเ์ ฉพำะกิจฯ มีหนำ้ ทด่ี ังนี้
1) ให้คาปรึกษากรรมการฝ่ายตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั การดาเนนิ งานของศนู ย์ปฏบิ ัติการเฝา้ ระวังและป้องกันการ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 4
2) วางแผนและติดตามการดาเนนิ งานของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
ประสานงานกบั จงั หวดั อุบลราชธานี และหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
3) แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการตามความเหมาะสม และปฏิบัตงิ านอ่ืนตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย
2. คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรประจำศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ำรฯ มหี นำ้ ท่ดี งั น้ี
1) ประสานงานการดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4
2) วางแผนการดาเนินงาน ติดตามการดาเนินงานสถานศึกษาในสังกัดของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 4
3) ประสานงานกับสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอุบลราชธานี จังหวัด
อบุ ลราชธานี และหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง
4) วางแผนและตดิ ตามการดาเนินงาน
5) จัดทา web page ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) เผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19)
6) จัดทาส่ือประชาสัมพันธ์รายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
7) ปฏิบตั งิ านอน่ื ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย
3. คณะกรรมกำรกำหนดมำตรกำรกำรป้องกันกำรแพรร่ ะบำดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-
19) มหี นำ้ ท่ีดังนี้
1) กาหนดมาตรการในการเฝ้าระวังการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
2) วางแผนการดาเนินงานให้ความช่วยเหลือกรณี นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา หรือผู้บริหาร
การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีอยู่ในช่วงการเฝ้าระวังและ มีการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในสงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4
42
3) ประสานงานกบั สพฐ. จังหวดั อบุ ลราชธานี ศึกษาธิการจงั หวัดอุบลราชธานี และหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง
ในการใหค้ วามช่วยเหลอื ตามแนวทางและระเบียบของทางราชการ
4) ปฏิบตั ิงานอนื่ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
4. คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทำงไกลในช่วงกำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนำ 2019 (COVID-19) มหี น้ำท่ดี งั นี้
1) สารวจข้อมูลการจัดการเรียนการสอนทางไกลของสถานศึกษาในสังกัดและความพร้อมของอุปกรณ์
การเรียนการสอนทางไกล เพ่ือนามาวางแผนในการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอนทางไกล
2) สนับสนุน ส่งเสริม วิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามบรบิ ทของสถานศึกษา
3) วางแผนการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
4) นิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)
5) สรุปขอ้ มูลและรายงานผลตอ่ ผู้บงั คับบัญชาและผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งรับทราบต่อไป
6) ปฏิบัติงานอนื่ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
5. คณะกรรมกำรรำยงำนข้อมูลภำยใต้สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019
(COVID-19) มหี น้ำที่ดังน้ี
1) สารวจข้อมูลการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ตามบริบทของสถานศกึ ษา
2) จัดทาและรวบรวมข้อมูลการดาเนินงานของศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
3) สรุปข้อมูลและรายงานผลต่อผูบ้ ังคบั บญั ชาและผมู้ สี ่วนเกย่ี วข้องรบั ทราบต่อไป
4) ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ตามที่ได้รับมอบหมาย
6. คณะกรรมกำรจดั หำและเบิกจำ่ ยงบประมำณ มหี นำ้ ท่ดี ังน้ี
1) จัดสรรงบประมาณในการดาเนนิ งานของศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารเฝ้าระวงั และป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
ติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 4
2) เบกิ จา่ ยงบประมาณในการดาเนินการของศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเฝ้าระวังและป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 4
3) ดาเนนิ การในสว่ นทเี่ กย่ี วข้องและปฏบิ ัตงิ านอืน่ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย
43
3. ระบบรำยงำนข้อมลู ศนู ย์เฉพำะกจิ Covid-19 Ubon4
กรณีพบนักเรียนติดเชื้อ Covid-19 ให้รายงานข้อมูลเบ้ืองต้นให้สพท. ทราบโดยทันทีผ่านทาง Line:ทีม
ศูนยเ์ ฉพาะกจิ Covid-19 สพป.อุบล 4 และทาหนังสือรายงานเหตุถงึ สพท. ตามแบบฟอร์มท่กี าหนด
4. สถำนศึกษำรำยงำนผลผำ่ นระบบ MOE (COVID-19) กระทรวงศึกษำธกิ ำร
44
สว่ นท่ี 6
บทบำทของบคุ ลำกรและหน่วยงำนท่เี กยี่ วขอ้ ง
1. บทบำทของนกั เรยี น
1. ตดิ ตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ขอ้ มลู ท่เี ชอื่ ถือได้
2. สงั เกตอาการปว่ ยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอย่างหน่งึ รบี แจ้งครูหรือ ผู้ปกครอง
3. มีและใชข้ องใชส้ ว่ นตัว ไมใ่ ช้รว่ มกับผู้อืน่
4. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการการป้องกนั โรคอย่างเครง่ ครดั ได้แก่ ล้างมือบ่อย ๆ สวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากาก
อนามยั และเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล หลกี เลีย่ งการไปในสถานที่ทแ่ี ออดั หรือแหลง่ ชุมชน
5. ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรง ด้วยการกินอาหารปรุงสกุ ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ ออก
กาลงั กาย และนอนหลบั ให้เพียงพอ
6. กรณนี กั เรยี นขาดเรียนหรือถกู กกั ตวั ควรตดิ ตามความคบื หนา้ การเรยี นอย่างสม่าเสมอ
7. หลีกเลี่ยงการลอ้ เลียนความผิดปกตหิ รอื อาการไม่สบายของเพ่ือน
2. บำทบำทของครู
1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ท่ีเชอ่ื ถือได้
2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหน่งึ ใหห้ ยดุ ปฏิบัติงาน และรบี
ไปพบแพทย์ทันที
3. ปฏิบัตติ ามมาตรการการป้องกันโรคอยา่ งเคร่งครัด ไดแ้ ก่ ลา้ งมือบ่อย ๆ สวมหนา้ กากผ้าหรือ หนา้ กาก
อนามยั และเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล หลกี เลยี่ งการไปในสถานทท่ี ่แี ออดั หรือแหลง่ ชมุ ชน
4. แจ้งผปู้ กครองและนกั เรียน ให้น าของใชส้ ่วนตวั และอุปกรณป์ ้องกันมาใชเ้ ปน็ ของตนเอง
5. สื่อสารความรู้คาแนะน าหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการ
แพร่กระจายโรคโควดิ -19
6. ทาความสะอาดส่ือการเรยี นการสอนหรอื อปุ กรณ์ของใช้รว่ มทเ่ี ป็นจุดสมั ผสั เสี่ยง ทุกคร้งั หลงั ใช้งาน
7. ควบคมุ ดแู ลการจัดทน่ี ั่งภายในสถานที่ในโรงเรียน ตามหลักการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย
1 - 2 เมตร
8. ตรวจสอบ กากับ ตดิ ตามการมาเรียนของนักเรียน
9. ตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนทีเ่ ข้ามาในสถานศึกษาตามขน้ั ตอน
10. สังเกตกลมุ่ นักเรยี นท่มี ปี ัญหาพฤติกรรม หรอื นกั เรยี นท่ไี ม่ร่วมมือปฏบิ ตั ติ ามมาตรการที่ครู กาหนด
เพอื่ ให้ได้รบั การชว่ ยเหลือ
45
11. สอ่ื สารความรู้เกีย่ วกบั ความเครยี ด กระบวนการการจัดการความเครียดใหแ้ ก่นกั เรยี นและ บคุ ลากร
ในสถานศึกษา
2. บทบำทของผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบตั ิพร้อมท้งั จัดตงั้ คณะทางานดาเนินการป้องกันการแพรร่ ะบาดของ
โรคโควดิ 19
2. ทบทวน ปรบั ปรุง ซอ้ มปฏิบตั ิตามแผนฉกุ เฉนิ ของสถานศึกษา
3. ใหม้ กี ารส่อื สารประชาสมั พนั ธก์ ารปอ้ งกันโรคโควิด-19 เกี่ยวกบั นโยบาย มาตรการ การปฏบิ ัตติ น การ
จัดการเรยี นการสอนให้กบั ผู้เก่ียวขอ้ ง และลดการตตี ราทางสังคม (Social stigma)
4. มีมาตรการคัดกรองสขุ ภาพทกุ คน บริเวณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry)
5. ควรพิจารณาการจดั ให้นักเรยี นสามารถเข้าถึงการเรยี นการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบรบิ ท ได้
อย่างต่อเน่ือง รวมถงึ การติดตามกรณีนกั เรียนขาดเรียน ลาปว่ ย
6. กรณีพบนกั เรยี น ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสยี่ งหรอื ผปู้ ว่ ยยืนยนั เขา้ มาในสถานศกึ ษาให้
รบี แจง้ เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ในพ้นื ที่
7. มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวนั และอาหารเสริมนมตามสทิ ธิท่ีควรได้รับ กรณพี บอยู่ ในกลุ่ม
เส่ยี งหรอื กกั ตวั
8. ควบคมุ กากับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการดาเนนิ งานตามมาตรการอยา่ งเครง่ ครัดและต่อเนื่อง
4. บทบำทของผู้ปกครองนกั เรยี น
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ขอ้ มูลท่เี ช่อื ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของบุตรหลาน หากมีอาการทางเดนิ หายใจอย่างใดอยา่ งหนึง่ ใหร้ ีบพาไปพบ แพทย์
3. จัดหาของใช้สว่ นตัวใหบ้ ตุ รหลาน
4. จดั หาอุปกรณ์ป้องกนั โรคและการล้างมือ กากบั ให้บตุ รหลานปฏบิ ตั ิตามมาตรการการป้องกันโรค
อยา่ งเครง่ ครดั ได้แก่ ลา้ งมอื บ่อย ๆ สวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย และเว้นระยะหา่ งระหวา่ ง
บุคคล หลกี เลย่ี งการไปในสถานที่ทแ่ี ออดั หรือแหล่งชุมชน
5. ดแู ลสขุ ภาพบุตรหลาน จัดเตรยี มอาหารปรุงสุก ใหม่
6. กรณมี กี ารจดั การเรยี นการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรใหค้ วามร่วมมือกบั ครูในการ ดแู ล
จดั การเรยี นการสอนแกน่ กั เรยี น
46
5. บทบำทของแมค่ รวั ผูจ้ ำหน่ำยอำหำร ผู้ปฏิบตั ิงำนทำควำมสะอำด
1. ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค จากแหล่งข้อมูลท่ีเชอื่ ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ใหห้ ยดุ ปฏบิ ตั ิงาน และรีบ
ไปพบแพทย์ทนั ที
3. ล้างมือบ่อย ๆ ก่อน – หลงั ปรุงและประกอบอาหาร ขณะจาหน่ายอาหาร หลังสัมผัสสง่ิ สกปรก
4. ขณะปฏบิ ตั งิ านของผูส้ ัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากนั เปือ้ น ถุงมือ สวมหน้ากากผ้า หรอื
หนา้ กากอนามยั และปฏบิ ัตติ นตามสุขอนามยั สว่ นบคุ คลที่ถกู ต้อง
5. ปกปดิ อาหาร ใสถ่ ุงมือและใช้ท่คี บี หยบิ จบั อาหาร
6. จดั เตรียมอาหารปรงุ สุกใหม่ ใหน้ กั เรียนกนิ ภายในเวลา 2 ชว่ั โมง
7. ผ้ปู ฏบิ ัติงานทาความสะอาด ผปู้ ฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใสอ่ ปุ กรณ์ป้องกันตนเองและปฏิบัติ ตาม
ขั้นตอนการทาความสะอาดให้ถูกต้อง
(ทีม่ า : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ )