ปัญหาพเิ ศษ
ผลของระดับการเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารต่อสมรรถภาพการผลติ ไข่ไก่
ในไก่สายพนั ธ์ุโรมนั บราวน์
Effect of Shiitake Mushroom in Diet on Performance Production
of Egg in Lohman Brown Layers
ศศิวมิ ล ยมิ้ สกลุ กาญจน์
ศุภมาส มากทอง
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาสัตวศาสตร์
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
ปี การศึกษา 2564
ปัญหาพเิ ศษ
เร่ือง
ผลของระดบั การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารต่อสมรรถภาพการผลติ ไข่ไก่
ในไก่สายพนั ธ์ุโรมนั บราวน์
Effect of Shiitake Mushroom in Diet on Performance Production
of Egg in Lohman Brown Layers
ศศิวมิ ล ยมิ้ สกุลกาญจน์
ศุภมาส มากทอง
หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาสัตวศาสตร์
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี
ปี การศึกษา 2564
ใบรับรองปัญหาพเิ ศษ
เร่ือง
ผลของระดบั การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารตอ่ สมรรถภาพการผลิตไขไ่ ก่ในไก่สายพนั ธุ์โรมนั บราวน์
Effect of Shiitake Mushroom in Diet on Performance Production of Egg
in Lohman Brown Layers
โดย
นางสาวศศิวมิ ล ยมิ้ สกลุ กาญจน์
นางสาวศภุ มาส มากทอง
ไดร้ ับความเห็นชอบโดย
.............................................................. ประธานที่ปรึกษา วนั ที่......../ ......../ ........
(วา่ ท่ี ร.ต.ผศ.ดร.สมจิตร ถนอมวงศว์ ฒั นะ)
……………………………………..... กรรมการท่ีปรึกษา วนั ที่......../ ......../ ........
(ผศ.ศศินิษฐา ถนอมวงศว์ ฒั นะ)
............................................................. ประธานหลกั สูตร วนั ท่ี......../ ......../ ........
(วา่ ท่ี ร.ต.ผศ.ดร.สมจิตร ถนอมวงศว์ ฒั นะ)
ผลของระดับการเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารต่อสมรรถภาพการผลติ ไข่ไก่ในไก่สายพนั ธ์ุโรมนั บราวน์
ศศิวมิ ล ยิม้ สกุลกาญจน์ 1 และ ศภุ มาส มากทอง 2
บทคัดย่อ
คคคคคคคการศึกษาผลของระดบั การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตไข่ไก่ในไก่
สายพนั ธุ์โรมนั บราวน์ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาผลของการใช้เห็ดชิทาเกะเสริมในอาหารต่อผลผลิต
และคณุ ภาพของไข่ไก่ในไก่สายพนั ธุ์โรมนั บราวน์ เพื่อเปรียบเทียบน้าหนกั ตวั ปริมาณอาหารที่กินได้
ผลผลิตไข่ และศึกษาถึงคณุ ภาพไข่ ในดา้ นน้าหนกั ไข่ น้าหนกั เปลือกไข่ ความหนาเปลือกไข่ น้าหนกั
ไข่แดง น้าหนักไข่ขาว สีของไข่แดง ความสูงไข่ขาว และค่าฮอร์กยูนิต (Haugh unit) วางแผนการ
ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) โดยใชไ้ ก่ไขส่ ายพนั ธุ์โรมนั บราวน์
จานวน 32 ตวั แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม ๆ ละ 8 ซ้า ๆ ละ 1 ตวั โดยกลุ่มท่ี 1 เสริมเห็ดชิตาเกะท่ีระดบั 0
เปอร์เซ็นต์ (กลมุ่ ควบคมุ ) กลมุ่ ท่ี 2 เสริมเห็ดชิตาเกะที่ระดบั 2.5 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่ 3 เสริมเห็ดชิตาเกะ
ท่ีระดบั 5.0 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มท่ี 4 เสริมเห็ดชิตาเกะท่ีระดบั 7.5 เปอร์เซ็นต์ ทดลองเป็นระยะเวลา 8
สปั ดาห์ พบวา่ น้าหนกั ไก่เริ่มตน้ น้าหนกั ไก่สิ้นสุด และอตั ราการผลิตไข่ ของท้งั 4 กลุ่มการทดลองไม่
มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) ในการเพ่ิมน้าหนกั ไข่แดง โดยกลุ่มที่เสริมเห็ดชิทาเกะที่ระดบั
5.0 เปอร์เซ็นต์ มีน้าหนกั ไข่แดงมากกวา่ กลุ่มควบคมุ แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ย่งิ ทางสถิติ (P<0.01)
ดา้ นคุณภาพไข่พบว่าการเสริมเห็ดชิทาเกะส่งผลให้ความสูงของไข่ขาว และค่าฮอร์กยูนิตลดลงเม่ือ
เปรียบเทียบกบั กลมุ่ ควบคุม (P<0.01) แตไ่ มส่ ่งผลกระทบต่อสีไข่แดงและคุณภาพไข่
คาสาคญั : เห็ดชิทาเกะ คณุ ภาพไข่ ผลผลิตไข่ ไก่ไข่
สาขาสตั วศาสตร์ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
ก
Effect of Shiitake Mushroom in Diet on Performance Production of Egg
in Lohman Brown Layers
Y. Sasiwimon M.Supamas
ABSTRACT
คคคคคคคThe purposes of the study were to determine effects of of shiitake mushroom in diet on
productivity and quality of eggs from Loman Brown layers and to compare body weights, feed intake,
and egg production. It also aimed to examine egg weights, egg shell weights, thickness of egg shells,
egg yolk weights, albumen weights, color of egg yolk, albumen heights, and Haugh units. The
completely randomized design (CRD) was conducted with 32 Loman Brown layers performed in the
experiment. The chicken were divided into four groups with eight replications and each replication
consisted of one chicken. Group 1 0 percent shiitake mushroom supplementation (control group).
Group 2 2.5 percent shiitake mushroom supplementation. Group 3 5.0 percent shiitake mushroom
supplementation. And group 4 7.5 percent shiitake mushroom supplementation. For a period of eight
weeks. The initial weight of the chickens, as well as the egg production rates of the four experimental
groups, were determined to be statistically insignificant (P>0.05). Weight growth in egg yolks with a
statistically significant difference (P<0.01), the group supplemented with shiitake at 5.0 percent had
greater egg yolk weight than the control group. When compared to the control group, egg white and
hog unit values dropped (P<0.01), but yolk color and egg quality were unaffected.
Keyword: Shiitake mushroom, Egg Quality, Egg Production, Layers
Department of Animal Science, Faculty of Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology
Thanyaburi
ข
กติ ติกรรมประกาศ
การทาปัญหาพิเศษเร่ืองน้ีสาเร็จลุล่วงไดเ้ พราะไดร้ ับคาแนะนาและความช่วยเหลือจากบุคคล
หลายๆท่าน จึงทาใหค้ ณะผจู้ ดั ทาประสบความสาเร็จ ตอ้ งขอขอบพระคุณเป็ นอยา่ งสูง ดงั น้ี วา่ ท่ีร้อย
ตรี ผศ.ดร. สมจิตร ถนอมวงศว์ ฒั นะ ประธานท่ีปรึกษาปัญหาพิเศษ และผศ.ศศินิษฐา ถนอมวงศว์ ฒั นะ
กรรมการที่ปรึกษาปัญหาพิเศษในการเป็ นกรรมการการสอบปัญหาพิเศษ กรุณาให้คาปรึกษา
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และให้คาแนะนาในการแกไ้ ขรายงานปัญหาพิเศษฉบบั น้ีใหส้ มบูรณ์ถูกตอ้ ง
ยง่ิ ข้นึ
คคคคคคคขอขอบคุณ คุณกูเ้ กียรติ อตั ตะวิริยะสุข ตาแหน่ง นกั วิชาการการศึกษา สาขาสัตวศาสตร์ ที่
ได้ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือในการวิเคราะห์อาหารสัตว์ รวมถึงแผนกสัตวป์ ี ก สาขาสัตวศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่เอ้ือเฟ้ื อสถานที่ในการทางาน
วจิ ยั คร้ังน้ีสาเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี สุดทา้ ยน้ี
คคคคคคคขอขอบคุณ คณุ พ่อ คณุ แม่ ที่ใหท้ ุนสาหรับการศึกษา เป็นขวญั และกาลงั ใจในการทาปัญหา
พิเศษทาให้สามารถผ่านอุปสรรคท้งั ปวงจนสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี รวมถึงเพื่อนท่ีให้การช่วยเหลือ
และใหก้ าลงั ใจมาโดยตลอด
คณะผดู้ าเนินการ
ศศิวิมล ยม้ิ สกลุ กาญจน์
ศุภมาส มากทอง
ค
สารบัญ
บทคดั ยอ่ หนา้
ABSTRACT ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพ จ
สารบญั ตารางภาคผนวก ฉ
สารบญั ภาพภาคผนวก ช
บทนา ฌ
ความสาคญั ของปัญหา 1
การตรวจเอกสาร 2
วตั ถุประสงค์ 23
ขอบเขตการศึกษา 23
สมมติฐาน 23
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 23
อุปกรณ์และวธิ ีการศึกษา
อุปกรณ์ 24
วธิ ีการศึกษา 25
สถานที่ทาการศึกษา 27
ระยะเวลาในการศึกษา 27
ผลการศึกษาและวิจารณ์ผลการศึกษา 28
สรุปผลการศึกษา 32
ขอ้ เสนอแนะ 32
เอกสารอา้ งอิง 33
ภาคผนวก 35
ง
สารบญั ตาราง หนา้
5
ตารางท่ี 7
ตารางท่ี 1. องคป์ ระกอบทางโภชนะของเห็ดชิทาเกะ 100 กรัม 8
ตารางที่ 2. น้าหนกั ไก่เฉลี่ยแต่ละสัปดาห์ของไก่สายพนั ธุโ์ ลมนั บราวน์ 9
ตารางท่ี 3. น้าหนกั ไข่เฉล่ียอายุ 19 – 56 สปั ดาหข์ องไก่ไข่สายพนั ธุ์โลมนั บราวน์ 10
ตารางที่ 4. น้าหนกั ไขเ่ ฉล่ียอายุ 57 – 90 สัปดาหข์ องไก่ไขส่ ายพนั ธุ์โลมนั บราวน์ 10
ตารางที่ 5. อณุ หภูมิและความช้ืนสมั พทั ธท์ ี่เหมาะสมต่อลูกไก่ 15
ตารางท่ี 6.โปรแกรมวคั ซีนสาหรับไก่ไข่ 16
16
ตารางท่ี 7. องคป์ ระกอบทางเคมีของไข่ท้งั ฟอง 21
ตารางที่ 8. ขนาดและน้าหนกั ฟองไข่ 22
ตารางที่ 9. คา่ ความสดของไข่ไก่ตามมาตรฐานของ USDA แนะนาค่าฮอร์กยนู ิต (HU)
ตารางท่ี 10. ผลของการใชเ้ ห็ดชิตาเกะในอาหารต่อคณุ ภาพภายนอกและภายในของไก่ 23
ตารางท่ี 11. คา่ น้าหนกั และจุลินทรียข์ องไก่ท่ีเล้ียงดว้ ยเห็ดและสารสกดั โพลีแซคคาไรด์ 26
28
ท่ีละลายน้าได้ 28
ตารางที่ 12. น้าหนกั และจานวนจุลินทรียข์ องไก่ที่เล้ียงดว้ ยระดบั เห็ดชิตาเกะ ที่แตกต่างกนั 29
ตารางที่ 13. ปริมาณวตั ถุดิบอาหารท่ีใชใ้ นสูตรอาหารทดลอง 30
ตารางที่ 14. ผลการวิเคราะห์โภชนะของเห็ดชิทาเกะ
ตารางที่ 15. ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบทางโภชนะในสูตรอาหารทดลอง
ตารางท่ี 16. ผลของเห็ดชิทาเกะต่อผลผลิตไข่และน้าหนกั ไก่
ตารางท่ี 17. ผลของการเสริมเห็ดชิทาเกะในระดบั ตา่ ง ๆ ในอาหารไก่ไขต่ อ่ คุณภาพไข่
จ
สารบัญภาพ หนา้
ภาพที่ 3
ภาพท่ี 1. ลกั ษณะของเห็ดชิทาเกะ 6
ภาพที่ 2. โครงสร้างทางเคมีของโพลีแซคคาไรด์ 6
ภาพที่ 3. โครงสร้างทางเคมีของเลนติแนน 12
ภาพที่ 4. แผนภาพแสดงกลไกการผลิตและการสะสมสารตา่ ง ๆ ในกระบวนการผลิตไข่ไก่ 15
ภาพที่ 5. โครงสร้างของฟองไขท่ ้งั ใบ 20
ภาพท่ี 6. กระบวนการสร้างเปลือกไข่
ฉ
สารบญั ตารางภาคผนวก หน้า
39
ตารางภาคผนวกท่ี 39
1. ปริมาณอาหารที่กินตลอดการทดลอง (กรัม) 40
2. ปริมาณอาหารท่ีกินตลอดการทดลอง (กรัม) 40
3. ปริมาณอาหารท่ีกินได้ (กรัม/ตวั /วนั ) 41
4. ปริมาณอาหารที่กินได้ (กรัม/ตวั /วนั ) 42
5. ตารางน้าหนกั ไก่เริ่มตน้ 43
6. ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนของน้าหนกั ไก่เร่ิมตน้ 44
7. ตารางน้าหนกั ไก่สิ้นสุด 45
8. ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนของน้าหนกั ไก่สิ้นสุด 46
9. ตารางอตั ราการผลิตไข่เฉล่ีย 47
10. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของอตั ราการผลิตไข่ 47
11. ตารางมวลไขเ่ ฉล่ีย 48
12. ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของมวลไข่ 48
13. ตารางอตั ราการเปล่ียนอาหารเป็นไข่ 1กิโลกรัมเฉลี่ย 49
14. ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของอตั ราการเปล่ียนอาหารเป็นไข่ 1 กิโลกรัม 49
15. ตารางน้าหนกั ไข่เฉลี่ย 50
16. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของน้าหนกั ไข่ 50
17. ตารางน้าหนกั เปลือกไข่เฉลี่ย 51
18. ผลการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนของน้าหนกั เปลือกไข่ 51
19. ตารางความหนาเปลือกไขเ่ ฉล่ีย 52
20. ผลการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนของความหนาเปลือกไข่ 52
21. ตารางน้าหนกั ไข่แดงเฉล่ีย 53
22. ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของน้าหนกั ไขแ่ ดง 53
23. ตารางน้าหนกั ไข่ขาวเฉล่ีย 54
24. ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของน้าหนกั ไข่ขาว 54
25. ตารางน้าหนกั คะแนนสีของไข่แดงเฉล่ีย 55
26. ผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนของคะแนนสีของไขแ่ ดง 55
27. ตารางความสูงไขข่ าวเฉล่ีย
28. ผลการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนของความสูงไข่ขาว
ช
สารบัญตารางภาคผนวก (ต่อ) หนา้
56
29. ตาราง Haugh Unit เฉลี่ย 56
30. ผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของ Haugh Unit
ซ
สารบญั ภาพภาคผนวก หนา้
ภาพภาคผนวกที่ 37
37
1. เครื่องชงั่ ดิจิตอลทศนิยม 4 ตาแหน่ง 37
2. เครื่องวดั ความสูงไขข่ าว 37
3. เวอเนียร์ 37
4. พดั สีไข่แดง
5. เพลท
ฌ
บทนา
ความสาคญั ของปัญหา
คคคคคคคไก่ไข่เป็นสัตวเ์ ศรษฐกิจที่สาคญั ประเภทหน่ึงของประเทศไทย การเล้ียงไก่ไข่เพอื่ ผลิตไข่ถือ
เป็ นอาชีพหลกั อาชีพหน่ึงของเกษตรกรไทย ซ่ึงสามารถผลิตไข่ไก่เฉลี่ยปี ละ 15,000 ลา้ นฟองต่อปี
(กรมปศุสัตว์, 2563) ปัจจุบนั อุตสาหกรรมการผลิตไข่มีความสาคัญและแพร่หลายเป็ นอย่างมาก
เนื่องจากไข่ไก่สามารถบริโภคไดท้ ุกเพศทุกวยั โดยไม่มีขอ้ จากดั ดา้ นศาสนาและสังคม จากรายงาน
พบวา่ อตั ราการบริโภคไข่ไก่ของคนไทยเฉลี่ย 226 ฟองตอ่ คนตอ่ ปี (จิราภรณ์, 2563) อยา่ งไรกต็ ามเมื่อ
ไก่อายุมากข้ึนทาให้ภูมิตา้ นทานต่าทาให้ผลผลิตลดลง ปัญหาที่มกั พบในไข่ไก่ คือ แม่ไก่ไข่น้อยลง
เปลือกไข่บาง สีไขแ่ ดงซีด ทาใหไ้ มเ่ ป็นที่นิยมของผบู้ ริโภค เน่ืองจากไก่ท่ีมีอายมุ ากมีประสิทธิภาพใน
การดูดซึมสารอาหารท่ีอาจจะลดลง แนวทางหน่ึงที่จะนาไปแกป้ ัญหาคือการใชเ้ ห็ดชิทาเกะ(shiitake
mushroom) เนื่องจากเห็ดชนิดน้ีมีแคลอรีต่า เป็ นแหล่งไฟเบอร์ช้นั ดี และมีสารประกอบทางชีวภาพ
อย่าง อิริทาดีนีน (eritadenine) ช่วยย่อยคอเลสเตอรอลไดด้ ี มีสารเลนติแนน (Lentinan) ช่วยกระตุน้
การทางานของระบบภมู ิคมุ้ กนั ช่วยปกป้องร่างกายจากส่ิงแปลกปลอม ท่ีทาใหเ้ กิดการติดเช้ือและช่วย
ฟ้ื นฟูร่างกาย เสริมสร้างการทางานของระบบภูมิคุม้ กนั และมีสารโพลีแซคคาไรด์(Polysaccharide)
ช่วยกระตุ้นวงจรการทางานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เสริมและช่วยเพ่ิมปริมาณและ
ประสิทธิภาพของเซลล์คุ้มกันธรรมชาติ ให้ทาหน้าท่ีทาลายเซลล์แปลกปลอมท่ีเขา้ มาในร่างกาย
(ศลั ยา, 2554) ปัญหาพเิ ศษน้ีจึงมีวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีจะศึกษาขอ้ มูลการใชเ้ ห็ดชิทาเกะเพื่อนาไปประยกุ ตใ์ ช้
ในการผลิตไข่ไก่ใหม้ ีคุณภาพที่ดีข้ึนตอ่ ไป
1
ตรวจเอกสาร
คคคสภาวะการตลาดของไก่ไข่
คคคคคคคสถานการณ์ไก่ไขป่ ัจจุบนั ราคาไข่ไก่คละหนา้ ฟาร์มฟองละ 2.40 ลูกไก่ไข่ตวั ละ 28 บาท ไก่
ไข่รุ่นตัวละ 150 บาท สาหรับปี 2563 มีปริมาณผลผลิตไข่ไก่ จานวณ 15,148 ลา้ นฟอง อัตราการ
บริโภค 226 ฟองต่อคนต่อปี มีการส่งออกไข่ไก่สด-แปรรูป ปริมาณ 400 ลา้ นฟอง มลู คา่ 960 ลา้ นบาท
ตลาดหลกั คือฮ่องกง คิดเป็ น 90 เปอร์เซ็นต์ราคาขายส่งไข่ไก่คละหนา้ ฟาร์ม เฉล่ีย 2.58 บาทต่อฟอง
ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกนั ของปี ก่อน 15.49 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 การห้าม
ส่งออกในช่วง มี.ค. - เม.ย. 2563 ทาให้ไข่ไก่เกินความตอ้ งการบริโภค (กรมปศุสัตว,์ 2563) โดยตลาด
ไข่ไก่สามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ กลุ่มผลิตภณั ฑพ์ รีเม่ียมและกลุ่มผลิตภณั ฑม์ าตรฐาน โดย
ท้ัง 2 กลุ่มมีความแตกต่างกันท้ังด้าน ผลิตภัณฑ์ ราคา และช่องทางการจาหน่าย โดยในกลุ่ม
ผลิตภณั ฑ์พรีเม่ียม ผูป้ ระกอบการแต่ละรายมกั สร้าง ความแตกต่างของผลิตภณั ฑ์โดยมีการเสริม
สารอาหารท่ีจาเป็ นต่อร่างกาย เช่น โอเมกา้ 3 หรือใช้วิธีการเล้ียงเช่น การเล้ียงไก่แบบปล่อย หรือ
อินทรีย์ ส่วนกลุ่มผลิตภณั ฑม์ าตรฐานมกั จะสร้างความหลากหลายในดา้ น ขนาดของไข่ไก่ที่ต่างกนั
อย่างไรก็ตาม ท้งั สองกลุ่มผลิตภณั ฑ์จะให้ความสาคญั ในดา้ นความปลอดภยั เน่ืองจาก ไดร้ ับความ
สนใจจากผูบ้ ริโภคมากข้ึน ทาให้ผูป้ ระกอบการมกั ใชก้ ลยุทธ์เก่ียวกบั ความปลอดภยั เป็ นจุดเด่นของ
สินคา้ เช่น ปลอดยาปฏิชีวนะ ปลอดฮอร์โมน ปลอดสารเร่งสีไข่แดง เป็นตน้
เหด็ ชิทาเกะ
คคคคคคคเห็ดชิทาเกะ(shiitake mushroom) หรือช่ือในไทยคือ เห็ดหอม เห็ดชนิดน้ีมีช่ือสามัญว่า
shiitake mushroom ช่ือวิทยาศาสตร์ว่า Lentinus edodes (Berk.) Pegler (Hwang, 2012) มีช่ือเรียกใน
ญี่ป่ ุน เกาหลี จีน และ ภูฏาน ว่าไซอิตาเกะ โบโกะ เฮียโกะ และชิชิ-ชามุ ตามลาดับ สาหรับช่ือ
ภาษาองั กฤษเรียกว่า black mushroom หรือเห็ดดา มีถิ่นกาเนิดในประเทศจีน ญ่ีป่ ุน อินโดนีเซีย และ
ไตห้ วนั สาหรับประเทศไทยนิยมเพาะเล้ียงเห็ดหอมในภาคเหนือเช่น เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน และ
ในภาคอีสาน เช่น เลย และสกลนคร เห็ดหอมสามารถให้ผลผลิตไดต้ ลอดท้งั ปี แต่จะให้ผลผลิตสูง
มากในช่วงฤดูหนาว นอกจากน้ีเห็ดหอมมีกล่ินหอม และมีคุณค่าทางอาหารสูง อุดมไปดว้ ยโปรตีน
คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ และวิตามินต่างๆ นอกจากน้ียงั พบว่ามีสารต่างๆ ท่ีมีคุณสมบตั ิเป็ นยารักษา
โรค เช่น เลนติแนน (Lentinan) เป็ นสารที่ลดคลอเลสเตอรอลในเลือด สารอิริทาดินีน (Eritadenine)
เป็นสารที่ตอ่ ตา้ นเน้ืองอก สกดั ก้นั การเจริญเติบโตของเช้ือมะเร็ง (อญั ชลีและคณะ, 2536)
คคคคคคคเห็ดชิทาเกะ เป็ นเห็ดท่ีมีการผลิตมากเป็ นอันดับ 2 ของโลกรองจากเห็ดแชมปิ ญอง
(Agaricus bisporus) เห็ดชิทาเกะ เป็นหน่ึงในเห็ดที่บริโภคกนั มากที่สุดและเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีสาคญั ใน
2
ญี่ป่ ุน (Takabatake 2015 ) ในปี 2018 ผลผลิตเห็ดชิทาเกะอยู่ท่ี 88,832 ตนั คิดเป็น 19 เปอร์เซ็นต์ ของ
การผลิตเห็ดท้งั หมดในญี่ป่ ุน
คคคคคคคสถานการณ์การตลาดเห็ดในไทยปี 2559 ผลผลิตรวม 120,000 ตนั ต่อปี โดยมีเห็ดฟาง 55
เปอร์เซ็นต์ เห็ดสกุลนางรม 20 เปอร์เซ็นต์ เห็ดหูหนู 12 เปอร์เซ็นต์ เห็ดเข็มทองและอื่นๆ 10
เปอร์เซ็นต์ และเห็ดหอมหรือเห็ดชิทาเกะ 3 เปอร์เซ็นต์ โดยเห็ดหอมหรือเห็ดชิทาเกะน้นั มีแหล่งผลิต
บริเวณภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน มูลค่าการนาเขา้ เห็ดจากต่างประเทศ ปี 2555
เห็ดชิทาเกะ มีปริมาณ 144,646 กิโลกรัม มูลค่า 32,079,275 บาท ปี 2556 เห็ดชิทาเกะ มีปริมาณ
125,127 กิโลกรัม มลู คา่ 33,547,563 บาท มูลค่าการส่งออกเห็ดของประเทศไทย ปี 2555 เห็ดชิทาเกะ มี
ปริมาณ 2,700 กิโลกรัม มูลค่า 696,818 บาท ปี 2556 เห็ดชิทาเกะมีปริมาณ 5,999 กิโลกรัม มูลค่า
1,354,863 บาท (ชาญยทุ ธ์, 2559)คคค
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
คคคคคคคเห็ดชิทาเกะมีหมวกเห็ดเป็ นรูปทรงกลมผิวภายนอกมีขนรวมกนั เป็ นเกลด็ หยาบ ๆ สีขาว
กระจายอยู่ทวั่ ไปผิวหมวกดา้ นบนมีสีน้าตาลน้าตาลปนแดงหรือน้าตาลเขม้ ก้านดอกมีสีขาวหรือสี
น้าตาลอ่อนหากสมั ผสั กบั อากาศเป็นเวลานานจะเปลี่ยนเป็นสีเขม้ มากข้ึนโคนกา้ นดอกมีสีน้าตาลอ่อน
เน้ือในสีขาว และมีกล่ินหอมเฉพาะตวั มีขนาดประมาณ 5 – 10 เซนติเมตร เห็ดหอมมีวงจรชีวิตเป็น
ดอกเห็ด–สปอร์–เส้นใย–ดอกเห็ด–สปอร์–เส้นใย-ดอกเห็ด ต่อเน่ืองกนั เช่นน้ีเรื่อยไป มีกลิ่นหอมเป็น
เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั จึงไดช้ ่ือวา่ เห็ดหอม
ภาพที่ 1: ลกั ษณะของเห็ดชิทาเกะ
ท่มี า: สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(2557)
3
คคคพนั ธ์ุของเหด็ ชิทาเกะ
เห็ดหอมที่เพาะเป็นการคา้ ทว่ั ไปแบ่งได้ 3 ชนิด คือ
1. เห็ดหอมลาย จดั เป็นเห็ดหอมท่ีมีราคาแพงชอบข้ึนในท่ีท่ีมีอุณหภูมิต่ามากความช้ืนในอากาศต่าเป็น
เห็ดหอมท่ีมีคุณภาพดีหมวกเห็ดแตกเป็ นลายมีสีซีดหมวกดอกหนากา้ นส้ันเห็ดหอมชนิดน้ีชาวจีน
เรียกวา่ Kou-ku และญี่ป่ นุ เรียกวา่ Don-ko
2. เห็ดหอมหนา เป็นเห็ดหอมที่เกิดข้ึนในฤดูหนาวเช่นเดียวกนั แต่ชอบความช้ืนสูงมีผิวหมวกไมแ่ ตก
เป็นลาย มากนกั ชาวจีนเรียก Tong-ku แตญ่ ่ีป่ นุ ยงั เรียก Don-ko
3. เห็ดหอมบาง เป็นเห็ดหอมท่ีข้ึนในท่ีอุณหภูมิสูงหมวกเห็ดบางชนิดมีลายหมวกดอก แต่ไม่ชดั เจน
ขอบหมวก ดอกบานและมีกา้ นยาวชาวจีนเรียกว่า Chiang-chin ญี่ป่ ุนเรียก Ko-shin เห็ดหอมชนิดน้ี
เป็นเห็ดท่ีสามารถข้ึนไดใ้ นประเทศไทยดอกเห็ดมีราคาถูกกวา่ ชนิดแรก
องค์ประกอบทางโภชนะของเห็ดชิทาเกะ
คคคคคคคเห็ดชิทาเกะ ประกอบดว้ ย น้า คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั และเสน้ ใย กลุ่มคาร์โบไฮเดรต
ส่วนใหญ่เป็นชนิด เฮมิเซลลูโลส และพบสารประเภทโพลีแซคคาไรดท์ ่ีมีน้าหนกั โมเลกุลสูง คือเลน
ติแนน นอกจากน้ียงั พบแมนนิท็อล, ทรีเฮโลส, กลูโคส, ไคลโคเท็น, เพน็ โตแซน, เมธิลเพน็ โตแซน
ในกลมุ่ โปรตีน ประกอบดว้ ย แอลบูมิน, กลูเทลิน และ โพรลามิน ในอตั ราส่วน 100: 63: 2 นอกจากน้ี
ยงั พบ เลน็ ทิน, ไคทิเน็ส, เลค็ ทิน และแลค็ เคส็ ในเห็ดชิทาเกะแหง้ ยงั พบโปรตีนชนิดหน่ึงซ่ึงมีปริมาณ
2.25 เปอร์เซ็นต์ โดยมีองคป์ ระกอบหลกั คือ กรดกลูทามิค 17.5 เปอร์เซ็นต์ ในกลุ่มกรดไขมนั ส่วน
ใหญ่เป็ นกรดไขมนั ไม่อ่ิมตวั ซ่ึงประกอบดว้ ย กรดลินโนลินิคมากกว่า80เปอร์เซ็นต์ และโอลิอิค 10
เปอร์เซ็นต์ สาหรับกรดไขมนั อิ่มตวั ประกอบดว้ ย กรดแพล็ มิทิค 80 เปอร์เซ็นต์ และกรดเซอโรทิค 10
เปอร์เซ็นต์ ในด้านองค์ประกอบทางโภชนะของเห็ดชิทาเกะ พบว่า เห็ดชิทาเกะสด 100 กรัม
ประกอบดว้ ย พลงั งาน 36 กิโลแคลอรี่ ไขมนั 0.5 กรัม โปรตีน 2.2 กรัม เยอื่ ใย 2.5 กรัม คาร์โบไฮเดรต
6.8 กรัม วติ ามินบี 1 จานวน 0.02 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 จานวน 0.22 มิลลิกรัม ไนอะซิน 3.88 มิลลิกรัม
และพบแคลเซียม, ฟอสฟอรัส และเหลก็ เท่ากบั 2, 112 และ 0.4 มิลลิกรัม ตามลาดบั ในเห็ดชิทาเกะ
แหง้ จานวน 100 กรัมประกอบดว้ ย พลงั งาน 296 กิโลแคลอรี่ ไขมนั 0.99 กรัม โปรตีน 9.58 กรัม เยือ่
ใย 11.5 กรัม คาร์โบไฮเดรต 75.37 กรัม วิตามินบี 1 จานวน 0.3 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 จานวน 1.27
มิลลิกรัม ไนอะซิน 14.1 มิลลิกรัม และพบแคลเซียม, ฟอสฟอรัส และเหล็ก เท่ากบั 11, 294 และ 1.72
มิลลิกรัม ตามลาดบั
4
ตารางที่ 1 องคป์ ระกอบทางโภชนะของเห็ดชิทาเกะ 100 กรัม
องค์ประกอบทางเคมี นา้ หนกั สด(กรัม) น้าหนักแห้ง
DM 89.7 9.5
พลงั งาน 36 กิโลแคลอร่ี 296 กิโลแคลอร่ี
ไขมนั
โปรตีน 0.5 0.99
เยอื่ ใย 2.2 9.58
คาร์โบไฮเดต 2.5 11.5
วติ ามินบี1 6.8 75.37
วติ ามินบี2 0.02 มิลลิกรัม 0.3 มิลลิกรัม
ไนอะซิน 0.22 มิลลิกรัม 1.27 มิลลิกรัม
แคลเซียม 3.88 มิลลิกรัม 14.1 มิลลิกรัม
ฟอสฟรอรัส 2 มิลลิกรัม 11 มิลลิกรัม
เหลก็ 112 มิลลิกรัม 294 มิลลิกรัม
0.4 มิลลิกรัม 1.72 มิลลิกรัม
ท่ีมา: USAD Food Data(2021)
สารพฤกษเคมที ่ีสาคญั ในเหด็ ชิทาเกะ
คคคสารโพลแี ซคคาไรด์ (Polysaccharide)
คคคคคคคโพลีแซคคาไรด์ เป็นน้าตาลโมเลกุลใหญ่ เป็นสารประกอบเชิงซอ้ นจะทางานร่วมกบั แมค
โครฟากจ์ (macrophage) ซ่ึงเป็ นเซลลค์ ุม้ กนั ขนาดใหญ่ท่ีออกจากหลอดเลือดเขา้ สู่เน้ือเย่ือและจะไป
จบั กบั โพลีแซคคาไรด์ที่บริเวณกระเพาะอาหาร และนาไปส่งยงั เซลล์คุม้ กนั ตวั อ่ืน ๆ โดยจะช่วย
กระตุน้ วงจรการทางานของระบบภูมิคุม้ กนั ของร่างกาย เสริมและช่วยเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพ
ของเซลลค์ ุม้ กนั ธรรมชาติ ให้ทาหนา้ ท่ีทาลายเซลลแ์ ปลกปลอมท่ีเขา้ มาในร่างกาย รวมถึงพวกไวรัส
และแบคทีเรียอ่ืน ๆ ดว้ ย (เนตรนภิส, 2549) ประกอบดว้ ยสารสาคญั คอื
คคคคคคค1.1. เบตา้ ดีกลูแคน (Beta-D-Glucan) กระตุน้ การทางานของเม็ดเลือดขาว ทาให้มีการเพิ่ม
ของอิมมูโนโกลบูลิน อินเตอร์ลิวคิน และอินเตอร์เฟอรอน จึงเพิ่มประสิทธิภาพของภูมิคุม้ กนั โรคใน
การตอ่ ตา้ นมะเร็ง เช้ือไวรัส
คคคคคคคคุณสมบตั ิของกลูแคนคือไปกระตุน้ หรือบารุงเม็ดเลือดขาวตวั กลืนกินขนาดใหญ่ท่ีเรียก
แมคโครฟากจ์ หรือกรณีแมคโครฟากจอ์ ยทู่ ่ีผิวหนงั ก็เรียกวา่ แลงเกอร์ฮานส์เซลล์ อนั เป็นตวั ท่ีกินและ
ย่อยสิ่งแปลกปลอมพร้อมหลงั่ สารเคมีไซโตไคน์ (Cytokines) หลายชนิด เพ่ือสร้างภูมิคุม้ กัน สูตร
โครงสร้างทางเคมีของโพลีแซคคาไรดแ์ สดงในภาพท่ี 2
5
ภาพท่ี 2: โครงสร้างทางเคมีของโพลีแซคคาไรด์
ทม่ี า: BD Editors (2019)
คคคคคคค1.2.สารเลนติแนน (Lentinan)
คคคคคคคเป็นสารสาคญั ในกลุ่มพอลิแซ็กคาไรด์ท่ีมีน้าหนกั โมเลกุลสูง ที่สามารถกระตุน้ การทางาน
ของเซลลใ์ นระบบภูมิคุม้ กนั และเซลลเ์ มด็ เลือดขาว เพอื่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทางานของระบบภูมิคุม้
กนั ในการกาจดั ส่ิงแปลกปลอมของเมด็ เลือดขาว (Phagocytosis) รวมถึงสามารถยบั ย้งั การเจริญเติบโต
ของแบคทีเรียและไวรัสได้ ซ่ึงมีประสิทธิภาพในการต่อตา้ นมะเร็ง และสกดั ก้นั การเจริญเติบโตของ
เช้ือ โดยหลงั จาก lentinan เขา้ สู่แอนติบอดีจะทาให้เกิด cytokine ที่มีฤทธ์ิทางภูมิคุม้ กัน ภายใตก้ าร
ทางานร่วมกันของ cytokines เหล่าน้ีระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะเพ่ิมข้ึนและมีบทบาทในการ
ป้องกนั และฆ่าเซลล์เน้ืองอก Lentinus edodes polysaccharide ช่วยเพิ่ม cytotoxicity (ADDC) ที่เกิด
จากเซลลแ์ อนติบอดีดว้ ยการกระตนุ้ macrophages และมีฤทธ์ิตา้ นมะเร็ง
ภาพท่ี 3: โครงสร้างทางเคมีของเลนติแนน
ทม่ี า: ศูนยว์ ิจยั แบคทีเรียและไวรัสมหาชยั (2554)
6
คคคคคคค1.3. สารอิริทาดีนีน (Eritadinine)
คคคคคคคสามารถลดไขมนั ในหลอดเลือด ช่วยใหไ้ ตยอ่ ยคอเลสเตอรอลไดด้ ี ทาให้ปริมาณไขมนั ใน
เลือดและ ระดบั คอเลสเตอรอลลดลง ป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงและโรคหลอดเลือดหวั ใจ
คคคประโยชน์ของโพลแี ซคคาไรด์
คคคคคคค1. กระตนุ้ ระบบภูมิคุม้ กนั ลดอตั ราเส่ียงต่อการเกิดเน้ืองอก
คคคคคคค2. ลดระดบั น้าตาลในเลือด (Hypoglycemic effect) จากการเพ่มิ อินซูลิน ซ่ึงทาหนา้ ที่
ควบคุมปริมาณน้าตาลในเลือด
คคคคคคค3. บารุงหัวใจ โดยไปเพ่มิ ความแรงในการบีบตวั ของกลา้ มเน้ือหวั ใจ (Cardiotonic Action)
คคคคคคค4. ตา้ นการอกั เสบ (Anti - inflamation)
คคคคคคค5. ช่วยเร่งกระบวนการสงั เคราะห์โปรตีนในเลือด ในไขกระดูก และตบั
คคคคคคค6. กระตนุ้ การทางานของเม็ดเลือดขาวชนิด บี-เซลล์ (B-cells) และที-เซลล์ (T- cells) เพ่มิ
ประสิทธิภาพในของระบบภูมิคมุ้ กนั โรค ( Immuno modulation )
คคคไก่ไข่สายพนั ธ์ุโรมนั บราวน์
คคคคคคคไก่ไขส่ ายพนั ธุ์ Lohmann brown มีตน้ กาเนิดมากจากประเทศเยอรมนั และเป็นการพฒั นามา
จากสายพนั ธุ์ New Hampshires มกั ใชเ้ ล้ียงในเชิงอตุ สาหกรรมอยา่ งกวา้ งขวาง ไข่มีสีน้าตาลแดงและมี
ขนาดใหญ่ และให้ผลผลิตสูง (Limpisophon et al., 2019) จากเอกสารระบุว่า การเล้ียงไก่ของบริษทั
LOHMANN TIERZUCHT รายงานวา่ สมรรถภาพการผลิตไขข่ องไก่ไขส่ ายพนั ธุโ์ รมนั บราวน์มีอตั รา
การใหผ้ ลผลิตอยู่ระหวา่ ง 93 – 95 เปอร์เซ็นต์ น้าหนกั เมื่อหยุดใหผ้ ลผลิตควรอยูท่ ่ี 1.9 - 2.1 กิโลกรัม
และมีอตั ราการรอดชีวิตสูง ไก่อายุ 18 สัปดาห์ข้ึนไป มีความตอ้ งการอาหาร 110 - 120 กรัมต่อวนั ต่อ
ตวั ต้องการพลงั งาน 2720 - 2800 กิโลแคลอร่ี และโปรตีน 17.5 เปอร์เซ็นต์ ในองค์ประกอบของ
อาหารควรมีโปรตีน และเมทไทโอนีน รวมไปถึงกรดลิโนเลอิกซ่ึงเป็ นกรดไขมนั ท่ีจาเป็ นอีกดว้ ย
ในช่วงอายุ 72 สัปดาห์ จะให้ไข่ท่ีมีน้าหนกั เฉล่ียอยู่ท่ี 63.9 กรัม ในช่วงอายุ 80 สัปดาห์ จะให้ไข่ท่ีมี
น้าหนกั เฉล่ียอยทู่ ี่ 64.4 กรัม และในช่วงอายุ 95 สปั ดาห์ ทาใหไ้ ข่ท่ีมีน้าหนกั เฉล่ียอยทู่ ี่ 65.2 กรัม
ตารางท่ี 2 น้าหนกั ไก่เฉล่ียแตล่ ะสปั ดาห์ของไก่สายพนั ธุโ์ ลมนั บราวน์
อายไุ ก่ (สัปดาห์) นา้ หนกั ไก่เฉล่ยี (กรัม) อายไุ ก่ (สัปดาห์) นา้ หนกั ไก่เฉลยี่ (กรัม)
1 75 21 1711
2 130 22 1790
3 195 23 1830
4 275 24 1870
5 367 25 1885
6 475 26 1900
7
7 583 27 1905
8 685 28 1911
9 782 29 1915
10 874 30 1920
11 961 31 1923
12 1043 32 1925
13 1123 33 1928
14 1197 34 1931
15 1264 35 1933
16 1330 36 1935
17 1400 37 1938
18 1475 38 1940
19 1555 39 1943
20 1640 40 1945
ทีม่ า: Lohmann Tierzucht, n.d.
ตารางท่ี 3 น้าหนกั ไข่เฉลี่ยอายุ 19 – 56 สัปดาหข์ องไก่ไข่สายพนั ธุโ์ ลมนั บราวน์
อายุ (สัปดาห์) นา้ หนักไข่เฉลยี่ (กรัม) อายุ (สัปดาห์) นา้ หนกั ไข่เฉลยี่ (กรัม)
19 45 38 63.7
20 47.5 39 63.9
21 50 40 64.2
22 52.5 41 64.4
23 54.7 42 64.6
24 56.5 43 64.7
25 57.9 44 64.9
26 58.9 45 65.1
27 59.7 46 65.3
28 60.4 47 65.5
29 61.0 48 65.7
30 61.4 49 65.8
31 61.7 50 66.0
32 62.0 51 66.1
8
33 62.3 52 66.3
34 62.6 53 66.4
35 62.9 54 66.5
36 63.2 55 66.6
37 63.4 56 66.7
ที่มา: Lohmann Tierzucht, n.d.
ตารางที่ 4 น้าหนกั ไขเ่ ฉล่ียอายุ 57 – 90 สปั ดาห์ของไก่ไข่สายพนั ธุโ์ ลมนั บราวน์
อายุ (สัปดาห์) น้าหนักไข่เฉลยี่ (กรัม) อายุ (สัปดาห์) นา้ หนักไข่เฉลยี่ (กรัม)
57 66.8 74 68.5
58 66.9 75 68.5
59 67.0 76 68.6
60 67.1 77 68.6
61 67.2 78 68.7
62 67.3 79 68.7
63 67.4 80 68.8
64 67.5 81 68.8
65 67.6 82 68.9
66 67.7 83 68.9
67 67.8 84 69.0
68 67.9 85 69.0
69 68.0 86 69.1
70 68.1 87 69.1
71 68.2 88 69.2
72 68.3 89 69.2
73 68.4 90 69.3
ทมี่ า: Lohmann Tierzucht, n.d.
คคคการเลยี้ งและการจัดการไก่ระยะการให้ไข่
คคคคคคคการเล้ียงลูกไก่ถา้ เล้ียงแบบปล่อยพ้ืนในโรงเรือนปิ ดควรเล้ียงดว้ ยความหนาแน่น 30 ตวั ต่อ
ตารางเมตร ในการเตรียมรับลูกไก่ก่อนลูกไก่จะมาถึงควรเปิ ดเคร่ืองกกลกู ไก่รอไวอ้ ย่างนอ้ ย 2 ชว่ั โมง
เพื่อปรับอุณหภูมิในพ้ืนท่ีกกให้อบอุ่น และผสมยาหรือวิตามินละลายในน้า ด่ืมเตรียมไวใ้ หเ้ รียบร้อย
9
ลูกไก่ในช่วงอายุ 0 – 4 สัปดาห์ ควรมีการดูแลจดั การเป็ นพิเศษปรับอุณหภูมิ และสภาพแวดลอ้ มใน
โรงเรือนใหเ้ หมาะสมกบลั กู ไก่จดกั ารใหล้ กู ไก่ไดร้ ับน้า และอาหารอยา่ งเตม็ ที่ มีมาตรการป้องกนั โรค
ที่เขม้ งวดในวนั แรกๆลกู ไก่ตอ้ งการอุณหภูมิที่อุ่น หลงั จากน้นั ค่อยๆปรับอุณหภูมิลงใหเ้ หมาะสมโดย
วดั จากเทอร์โมมิเตอร์ในขณะเดียวกันสามารถสังเกตจากพฤติกรรมลูกไก่เป็นตวั บ่งช้ีไดห้ ากมีอาการ
กางปี ก อา้ ปาก หายใจหอบ บ่งช้ีวา่ มีอุณหภูมิสูงไปโดยสามารถจัดอุณหภูมิและความช้ืนสัมพทั ธ์ให้
เหมาะสมกบั ลกู ไก่ไดด้ งั ตารางท่ี4
ตารางท่ี 5 อุณหภูมิและความช้ืนสัมพทั ธ์ท่ีเหมาะสมตอ่ ลกู ไก่
อายไุ ก่ (วนั ) อุณหภูมภิ ายในพืน้ ทีก่ ก (องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพทั ธ์
1-3 ใต้เคร่ืองกก รอบเครื่องกก (%)
4-7 55-56
8-14 35 32-33 55-60
15วนั ข้นึ ไป 55-65
34 31-32 60-70
32 29-30
30 27-28
ท่ีมา: บริษทั ซีพีเอฟ จากดั , ม.ป.ป
คคคคคคคการให้น้า ลูกไก่ควรไดร้ ับน้า ทนั ทีท่ีปล่อยออกจากกล่อง หลังจากไดร้ ับน้าโดยทวั่ ถึงแลว้
จึงเร่ิมให้อาหารโดยลูกไก่ในระยะน้ีจาเป็ นตอ้ งได้รับอาหารให้มากท่ีสุดโดยอาหารที่เหมาะสมคือ
อาหารแบบผงเพื่อให้ลูกไก่จิกกินไดง้ ่ายเพ่ือการเจริญเติบโตพฒั นาสรีระและอวยั วะต่างๆในการให้
อาหารจะตอ้ งใหค้ ร้ังละนอ้ ย ๆ แต่ใหบ้ ่อยคร้ัง เพ่ือท่ีจะใหล้ ูกไก่ไดก้ ินอาหารที่ใหม่ตลอดเวลาอีกท้งั
ยงั เป็นการกระตนุ้ ใหล้ ูกไก่กินอาหารไดม้ ากข้ึนดว้ ย จากน้นั จะตอ้ งมีการตดั ปากเพ่ือลดปัญหาการจิก
กดั กนั ควรตดั ปากที่อายุ 7 – 10 วนั ในขณะท่ีลูกไก่มีสุขภาพดีโดยก่อนที่จะมีการตดั ปากควรละลาย
วติ ามินในน้า ด่ืมใหล้ ูกไก่กิน 1วนั เพ่อื ลดความเครียด เพิม่ ปริมาณอาหารในรางอาหารให้หนาข้ึนเพื่อ
ไม่ให้บาดแผลท่ีปากหลงั การตดั ปากไปกระแทกกบั รางอาหาร ในการตดั ปากจะตอ้ งใชเ้ คร่ืองตดั ปาก
โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมของเครื่องอยทู่ ี่ 600 – 650 องศาเซลเซียส (บริษทั ซีพีเอฟ จากดั , มป.) และใน
การเล้ียงไก่ไข่น้นั จะตอ้ งมีการทาโปรแกรมวคั ซีนดว้ ยเพื่อป้องกันการสูญเสีย โดยมีโปรแกรมวคั ซีน
ดงั ตารางท่ี 5
ตารางท่ี 6โปรแกรมวคั ซีนสาหรับไก่ไข่
อายุไก่ วคั ซีนป้องกนั โรค
1วนั มาเร็กซ์ และหลอดลมอกั เสบ
7วนั นิวคาสเซิล (บี1) , หลอดลมอกั เสบ และรีโอไวรัส
14วนั กมั โบโร และวคั ซีนบิด
10
3 สปั ดาห์ นิวคาสเซิล (ลาโซตา้ ) , หลอดลมอกั เสบ และฝี ดาษ
5 สปั ดาห์ กมั โบโร
6 สปั ดาห์ หวดั หนา้ บวม , มยั โคพลาสมา่ และเอม็ จี
8 สปั ดาห์ นิวคาสเซิล (ลาโซตา้ ) และหลอดลมอกั เสบ
10 สปั ดาห์ กลอ่ งเสียงอกั เสบติดต่อ
12 สปั ดาห์ ฝี ดาษ และเอ.อี.
15 สัปดาห์ หวดั หนา้ บวม
16 สปั ดาห์ นิวคาสเซิล (ลาโซตา้ ) , หลอดลมอกั เสบ และไขน่ ิ่ม
20 สัปดาห์ข้ึนไปทาทกุ 2-3 เดือน หลอดลมอกั เสบ และนิวคาสเซิล (ลาโซตา้ )
ท่ีมา: พรทิพย์ และคณะ, ม.ป.ป.
คคคคคคคการเล้ียงไก่ไข่ในระยะให้ไข่ หากเล้ียงแบบปล่อยพ้ืนจะมีความหนาแน่นที่เหมาะสมอยู่ท่ี
20 ตัวต่อตารางเมตร และการเล้ียงแบบกรงตับจะมีความหนาแน่นท่ีเหมาะสมอยู่ที่450 ตาราง
เซนติเมตรต่อตวั (สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตร และอาหารแห่งชาติ, 2562.) การจดั การอาหาร ไก่
ไข่ระยะให้ไข่ประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนที่แม่ไก่จะเร่ิมให้ไข่ฟองแรกจะมีการพัฒนาของกระดูก
Medullary bone เพ่ือใช้เก็บกัก และสารองแคลเซียมท่ีจะใช้ในการสร้างเปลือกไข่ในระยะน้ีจึง
จาเป็นตอ้ งใชอ้ าหารสาหรับไก่ก่อนไขซ่ ่ึงมีแคลเซียมประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ เพอ่ื ใหม้ ีปริมาณแคลเซียม
และฟอสฟอรัสเพียงพอกบั ความตอ้ งการ และจะตอ้ งเปลี่ยนเป็นอาหารสาหรับไก่ระยะไข่ทนั ทีเมื่อไก่
ในฝูงมีเปอร์เซ็นต์การไข่ถึง 2 – 5 เปอร์เซ็นต์เพื่อป้องกันไม่ให้ไก่มีการดึงแคลเซียมจากกระดูก
Medullary bone มาใชน้ บั จากแม่ไก่ให้ไข่ฟองแรกไปจนถึงการใหผ้ ลผลิตไข่สูงสุด ปริมาณอาหารที่
กินควรจะเพ่ิมข้นึ 40 เปอร์เซ็นตข์ องอาหารท่ีกินเม่ือเร่ิมตน้ ให้ไข่เพือ่ ให้แมไ่ ก่ไดร้ ับโภชนะที่เพียงพอ
สาหรับการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตไข่ (ประภากร, 2560 ข.) ในไก่ไข่ระยะใหไ้ ข่แบบยนื กรง
จะใชพ้ ้ืนที่ 0.7 ตารางฟุตต่อตวั ควรเก็บไข่วนั ละ 3-4 คร้ัง หากมีไก่ตายใครนาออกและกาจดั อย่างถูก
วิธีควรเริ่มให้แสงต้ังแต่ 12 ชั่วโมงต่อวนั และเพิ่มข้ึนวนั ละ15-30 นาที จนครบ 16 ช่ัวโมงต่อวนั
(Government of Sikkim, n.d.) ไก่ไข่ตอ้ งการน้าที่สะอาดโดยไก่ไข่ตอ้ งการน้า 250-300 มิลลิลิตรต่อ
วนั ถา้ หากไก่ขาดน้า จะส่งผลต่อการใหผ้ ลผลิตไขแ่ ละเกิดความเครียด (Inkukukaya, n.d.)
ไข่ไก่
คคคโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของไข่ไก่
คคคการเกดิ ไข่
คคคคคคคเริ่มต้งั แต่เม่ือไก่ไดร้ ับอาหาร อาหารจะถูกส่งผา่ นกระเพาะพกั ไปสู่กระเพาะจริงซ่ึงทา
หนา้ ท่ีหลงั่ น้ายอ่ ย จากน้นั อาหารจะถกู ส่งไปยงั กระเพาะบด หรือท่ีเรียกวา่ ก๋ึน อาหารจะถกู ดูดซึม
11
ผา่ นลาไส้เลก็ โดยสารสี โปรตีน และไขมนั จะถูกส่งผา่ นกระแสเลือดผา่ นไปยงั บริเวณตบั เพื่อไป
สะสมในไขแ่ ดง โปรตีน และไขมนั จะส่งผลใหไ้ ขแ่ ดงสุก หลงั จากน้นั ไข่แดงจะตกลงไปอยบู่ ริเวณ
ท่อนาไขส่ ่วนปากแตร (Infundibulum) นาน 15 นาที แลว้ เขา้ สู่ท่อนาไข่ส่วนที่ผลิตไข่ขาว (Magnum)
นาน 3 ชว่ั โมง ซ่ึงท่อส่วนน้ีสร้างโปรตีนไขข่ าวหรืออลั บูมินร้อยละ 40-50 ของไข่ขาวของท้งั หมด
และไปสร้างต่อที่อิสมทั ส่วนตน้ ต่อมาไข่จะเคลื่อนไปยงั ทอ่ นาไขส่ ่วนผลิตเยอ่ื เปลือกไข่ (Isthmus)
นาน 75 นาทีส่วนน้ีเป็นบริเวณท่ีกาหนดรูปร่างของฟองไข่ และไปยงั บริเวณต่อมสร้างเปลือก (Shell
gland) เพ่ือเร่ิมกระบวนการสร้างเปลือกไข่ สีของเปลือกไขแ่ ละเปลือกไข่ โดยแคลเซียมที่ใชใ้ นการ
สะสมบนเปลือกไข่ไดม้ าจากแคลเซียมในกระเพาะบด ช่วงเวลากลางคนื ซ่ึงกระบวนการน้ียงั รวมไป
ถึงการสะสมสารสีบนเปลือก และการสร้างเปลือกไข่อีกดว้ ย ไขจ่ ะอยบู่ ริเวณน้ีนานถึง 20 ชว่ั โมง จึง
จะออกไขบ่ ริเวณช่องคลอด (Vagina) (ประภากร, 2560 ก.) ดงั ภาพที่ 3
ไก่ไดร้ ับอาหาร
อาหารยอ่ ยถูกดูด สารสี โปรตีน และ สารสี โปรตีน และไขมนั จะมา
ซึมในลาไส้เลก็ ไขมนั จะสะสมไวท้ ี่ตบั สะสมในไขแ่ ดงและทาให้ไข่
แดงสุก
เขา้ สู่ทอ่ นาไขส่ ่วนผลิต เขา้ สู่ท่อนาไข่ส่วนผลิต เมื่อไข่แดงสุก ไข่แดงจะตกไปอยู่
เยือ่ เปลือกไข่ หรือ ไข่ขาว หรือ Magnum บริเวณท่อนาไข่ส่วนปากแตร หรือ
Isthmus
Infundibulum
เขา้ สู่มดลกู เพอ่ื ช่องออกไขห่ รือ
สร้างเปลือกไข่ Vagina
ภาพท่ี 4: แผนภาพแสดงกลไกการผลิตและการสะสมสารตา่ ง ๆ ในกระบวนการผลิตไขไ่ ก่
ท่ีมา: ประภากร (2560)
คคคโครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของไข่ไก่
คคคคคคคส่วนประกอบของไข่ท้ังใบมีเปลือกไข่และเยื่อเปลือกไข่ 11 เปอร์เซ็นต์ ไข่ขาว 58
เปอร์เซ็นต์ และไข่แดง 31 เปอร์เซ็นต์ วรวิทย์ (2531) รายงานว่าไข่ไก่ 1 ฟอง มีส่วนประกอบสาคญั
12
คือ เปลือกไข่ ไข่ขาว และไข่แดง ซ่ึงโครงสร้างทางกายวิภาคของไข่ท่ีสมบูรณ์จะมีโครงสร้างท่ี
ประกอบไปด้วยส่วนสาคญั 5 ส่วน คือ เปลือกไข่ (shell) เยื่อเปลือกไข่ (shell membrane) ไข่ขาว
(albumen หรือegg white) ไข่แดง (yolk) และจุดเจริญ (geminal disc หรือ blastoderm) ดงั ภาพที่ 3 ซ่ึง
จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
คคคคคคค1. โครงสร้างภายนอก(External structure)
คคคคคคคคคคค1.1 เปลือกไข่ (eggshell) มีลักษณะเป็ นรูพรุนขนาดเล็กจานวนมากต้ังแต่7,000 -
17,000 รู น้าหนกั ประมาณ 6 กรัม เป็นพวกหินปนู แขง็ เรียบฉาบติดแน่นอยกู่ บั เยอ่ื หุม้ ไข่ช้นั นอก ความ
หนาของเปลือกไข่จะข้ึนอยู่กบั ขนาดของฟองไข่ ฟองไข่ขนาดใหญ่จะมีขนาดเปลือกหนากว่า ไข่
ขนาด เลก็ โดยข้ึนอยกู่ บั สายพนั ธุอ์ าหาร และฤดูกาลเปลือกไข่มีหน้าท่ีทนรับน้าหนกั แม่ไก่เวลาฟักไข่
แม่ ไก่จะไดร้ ับแคลเซียมจากอาหาร และดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือดเกบ็ ไวใ้ นกระดูก เพื่อใชใ้ นการสร้าง
ฟอง ไข่ เปลือกไข่เป็นโครงสร้างห่อหุม้ ใชใ้ นการปกป้องกระบวนการพฒั นาตวั อ่อน แลกเปล่ียนกา๊ ซ
เป็นภาชนะบรรจุรักษาคณุ ภาพความสดของไข่ และช่วยป้องกนั แบคทีเรียภายนอกไมใ่ หเ้ ขา้ ไปในฟอง
ไข่ เปลือกไข่จะแบง่ ออกเป็น 2 ช้นั ไดแ้ ก่
คคคคคคคคคคคคคคค1.1.1 เปลือกไข่ช้ันนอก (Spongy Layer) เป็ นช้ันที่ฉาบผนึกติดกันแน่นกบั
เปลือกไข่ช้ันใน และมีรูพรุนเล็กๆ จานวนมากเช่ือมโยงจากช้ันในมาเปิ ดที่ช้ันน้ีเป็ นรูพรุนแบบ
ฟองน้า แต่แขง็ แรงมากองคป์ ระกอบของเปลือกไข่ช้นั นอกเม่ือยอ้ มดว้ ยสีของโปรตีนจะไม่พบ แต่ พบ
มากในบริเวณใกลก้ ลบั เปลือกช้นั ใน สีของโปรตีนสามารถแยกเปลือกช้ันนอกออกเป็ น 3 ช้ันตาม
ลกั ษณะของเส้นใย โปรตีน (Matrix Fiber) คือ ช้นั ที่อยตู่ ิดกบั เปลือกไขด่ า้ นในมีเส้นใยโปรตีนมากกวา่
ช้นั กลางและช้นั นอกมีเสน้ ใยโปรตีนนอ้ ยท่ีสุด
คคคคคคคคคคคคคคค1.1.2 เปลือกไข่ช้นั ใน (Mammillary Layer) เป็นเปลือกช้นั ท่ีบางติดกบั เย่ือหุ้ม
ไข่ช้นั นอก ประกอบดว้ ยป่ ุมพ้ืนเปลือกลกษั ณะหยาบ ๆ ป่ ุมเหล่าน้ีถูกผนึกติดแน่นเป็นช้นั เดียวกบั เยอื่
หุ้มไข่ เปลือกไข่ช้นั ในเป็นสารประกอบแมกนีเซียมกบั ฟอสเฟต และแร่ธาตุต่างๆ ท่ีไม่อยู่ในรูปผนึก
มีความหนาประมาณ 0.11 มิลลิเมตร หรือประมาณ 1/3ของความหนาของผิวพ้ืนไข่ท้งั ฟองแต่ละป่ ุม
จะมีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 0.096 -0.144 มิลลิเมตร
คคคคคคคคคคค1.2 เย่ือเปลือกไข่ (Membranes) 95 เปอร์เซ็นต์ เป็ นเส้นใยโปรตีน เป็ นโปรตีนชนิด
เคราติน (Keratin) คอลลาเจน (Collagen)และอิลาสติน (Elastin) เป็นโครงสร้างแบบร่างแหประสาน
แน่นติดกับผิวเปลือกไข่ช้ันใน เส้นใยเหล่าน้ีมีหมู่ Amine (-NH2 ) ทาหน้าที่จบั กับโลหะหนัก เยื่อ
เปลือกไข่จะแบ่งออกเป็ น 2 ช้นั คือเยื่อเปลือกไข่ช้ันนอก (outer Shell Membranes) มีความหนา 48
ไมโครเมตร เป็ นช้นั ที่อยู่ระหว่างเปลือกไข่ช้นั ในกบั เยือ่ ช้นั ใน ติดผนึกขนานไปกบั เปลือกไข่ช้นั ใน
เย่อื เปลือกไข่ช้นั นอกแบ่งเป็น 3 ช้นั ประสานกนั ดว้ ยโครงสร้างร่างแหโปรตีน ช้นั นอกสุดจะเป็นเส้น
13
ใยโปรตีนชนิดเคราติน มีลกษั ณะเป็นเสน้ แบน เสน้ ใยช้นั กลางเป็นมิวซิน ประสานกบั เปลือกไขช่ ้นั ใน
เป็ น 2 ช้นั ย่อย ติดสนิทจนเกือบเป็ นเน้ือเดียวกนั และแยกออกจากกันไดย้ าก ส่วนช้นั ในเป็ นกิ่งกา้ น
ของเคราตินเส้นเล็กๆ ประสานกนั เป็ นโครงร่างแห ทาให้ช้นั น้ีเหนียวข้ึน และเยื่อเปลือกไข่ช้นั ใน
(inner Shell Membranes) เป็ นช้ันบางเรียบมีความหนา 22 ไมโครเมตร ทาหน้าที่ล้อมรอบไข่ขาว
โดยทว่ั ไปเยอ่ื เปลือกไข่ช้นั นอกและช้นั ในจะติดกนั
คคคคคคค2. โครงสร้างภายใน (Internal structure)
คคคคคคคคคคค2.1 ไข่แดง (Yolk) ไข่แดงจะแยกออกจากไข่ขาวโดยมีเยอ่ื หุม้ ไข่แดง เรียกวา่ vitelline
membrane และมีเส้นยดึ ไขแ่ ดงใหล้ อยอยตู่ รงกลางของไข่ขาว เรียกวา่ chalazae ในไข่แดงมีน้าเป็น
ส่วนประกอบ 52 เปอร์เซ็นตโ์ ปรตีน 14.3 เปอร์เซ็นตไ์ ขมนั 30 เปอร์เซ็นตแ์ ละมีแร่ธาตุตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
โพแทสเซียม สงั กะสี และทองแดง ส่วนใหญ่ไขมนั จะอย่ใู นรูปของ ไลโปโปรตีน ไตกลีเซอไรด์
คอเลสเตอรอล และเลซิติน โดยในไข่ 1 ฟอง จะมีไขแ่ ดงประมาณ 13 -20 กรัม
คคคคคคคคคคค2.2 ไข่ขาว (albumen) มีโปรตีนเป็ นส่วนประกอบหลกั ไข่ขาวแยกออกเป็ น 2 ส่วน
คอื ไขข่ าวขน้ (vicous albumen) และไข่ขาวเหลว (liquid albumen) ส่วนของไขข่ าวขน้ จะติดอยกู่ บั ไข่
แดง และมีปริมาณมากกวา่ ส่วนของไข่ขาวเหลวประมาณ 4 เทา่ ในไข่ขาว 1 ฟอง จะมีปริมาณน้าหนกั
ประมาณ 30 - 35 กรัม ไข่ขาวจะมีน้าเป็ นส่วนประกอบหลักถึง 88 เปอร์เซ็นต์และโปรตีน 10
เปอร์เซ็นตซ์ ่ึงประเภทของโปรตีนในไข่ขาวไดแ้ ก่ คอนนลั บูมิน (conalbumin) โอวลั บมู ิน (ovalbumin)
อะวิดิน (avidin) และไลโซโซม (lysozyme)
คคคคคคคคคคค2.3 ช่องอากาศ (Air cell) เป็ นพ้ืนที่ว่างระหว่างไข่ขาวกบั เปลือกไข่อยู่บริเวณดา้ น
ป้านของฟองไข่ ดงั ภาพท่ี 4 ไข่จะมีการสะสมของความร้อนเม่ือแม่ไก่ไข่ออกมาใหม่ๆ เมื่อไข่เยน็ ตวั
ลงจะทาใหเ้ กิดช่องอากาศข้ึน ช่องอากาศสามารถบ่งบอกถึงอายขุ องไข่ไดไ้ ขท่ ี่มีอายมุ ากความช้ืน และ
คาร์บอนไดออกไซด์จะระเหยออกตามรูพรุนของเปลือกไข่ ทาให้อากาศเขา้ ไปแทนที่เกิดเป็ นช่อง
อากาศที่กวา้ งข้ึน
14
ภาพท่ี 5:โครงสร้างของฟองไขท่ ้งั ใบ
ท่ีมา: Jiraporn (2557)
คคคคคคค3. องคป์ ระกอบทางเคมีของไขไ่ ก่
คคคคคคคคคคค3.1 องคป์ ระกอบทางเคมีในไข่แดง พบปริมาณไขมนั มากท่ีสุด เช่น ไตรกลีเซอไรด์
เซอไรด์ ฟอสโฟลิพิด เลซิติน และไลโปโปรตีน รองลงมา คอื โปรตีนวติ ามิน เช่น วติ ามิน A, B, D, E
และ K และมีแร่ธาตุเช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส และโฟแทสเซียม
คคคคคคคคคคค3.2 องคป์ ระกอบทางเคมีในไข่ขาว ประกอบดว้ ยโปรตีน เช่น โอวลั บูมิน (ovalbumin)
โอโวโคนลั บูมิน (ovoconalbumin) โอโวมิวคอยด์(ovomucoid) โอโวกลอบูลิน (ovoglabulin) ไลโซ
โซม(lysozyme)โอโวมิวซิน (ovomucin) เอวิดิน (avidin) โอโวอินฮิบิเตอร์ (ovoinhibitor) ฟลาโว
โปรตีน (flavoprotein)คาร์โบไฮเดรต แร่ธาตุ และวิตามินบี 2
คคคคคคคคคคค3.3 องคป์ ระกอบทางเคมีในเปลือกไข่ เปลือกไข่ และเยอื่ เปลือกไข่ เป็นสารประกอบ
อินทรียเ์ ช่น แคลเซียมคาร์บอเนต แมกนีเซียมคาร์บอเนต แคลเซียมฟอสเฟต ไอโอดีน ตะกั่วและ
แมกนีเซียม
ตารางท่ี 7 องคป์ ระกอบทางเคมีของไข่ท้งั ฟอง
ส่วนของไข่ นา้ หนกั เปอร์เซ็นต์( % )
ไขท่ ้งั ฟอง (กรัม) น้า คาร์โบไฮเดรต โปรตนี ไขมนั เถ้า
ไข่แดง
ไขข่ าว 100 65.5 0.25 11.8 11 11.7
เปลือกไข่
ไมร่ วมเปลือกไข่ 31 48 1.1 17.5 32.5 2
58 87.6 6.5 11 0.2 0.8
11 2.6 0.07 3.2 0.03 95.1
89 74 13 11 1 1
ทีม่ า: วรวทิ ย(์ 2531)
15
มาตรฐานคณุ ภาพไข่ไก่
คคคคคคคมาตรฐานคณุ ภาพของไขม่ ีความสาคญั ต่อผบู้ ริโภคผลิตภณั ฑจ์ ากไข่ ซ่ึงคุณภาพไข่อาจจะ
มาจากความพึงพอใจของผบู้ ริโภครวมถึงลกั ษณะของไขไ่ ก่ เช่น สีกลิ่น รสชาติคุณคา่ ทางโภชนะ
และคุณภาพของไข่ไดอ้ ิทธิพลจากปัจจยั ต่างๆ เช่น พนั ธุกรรม การจดกั าร สุขภาพ อาหาร ส่ิงแวดลอ้ ม
และอายขุ องตวั สัตวม์ าตรฐานคณุ ภาพไข่หลกั มีดงั น้ี
คคคคคคค1.ขนาดและน้า
หนกั ฟองไข่ พจิ ารณาจากน้าหนกั ตอ่ ฟอง (สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, 2553.)
ตารางท่ี 8 ขนาดและน้าหนกั ฟองไข่
เบอร์ ขนาด นา้ หนกั ข้นั ต่าต่อฟอง(กรัม)
0 จมั โบ (jumbo) มากกวา่ 70
1 ใหญพ่ ิเศษ (extra large) มากกวา่ 65-70
2 ใหญ่(large) มากกวา่ 60-65
3 กลาง (medium) มากกวา่ 55-60
4 เลก็ (small) มากกวา่ 50-55
5 จ๋ิว(peewee) มากกวา่ 45-50
ท่ีมา: สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตร และอาหารแห่งชาติ (2553)
คคคคคคค2. สีของไขแ่ ดง ความนิยมของผบู้ ริโภคในเรื่องสีของไข่แดง นิยมบริโภคสีของไขแ่ ดงท่ี
เขม้ กวา่ ความเขม้ ของสีท่ีระดบั 8-12 คะแนน (สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ,
2553.)
คคคคคคค3. ค่าฮอร์กยนู ิต (Haugh Unit: HU) คณุ ภาพความสดของไข่ไก่ตามมาตรฐานของ USDA
แนะน าคา่ ฮอร์กยนู ิตโดยวดั ท่ีอณุ หภูมิ 7 - 15 องศาเซลเซียส (45 - 60 องศาฟาเรนไฮต)์ (สานกั งาน
มาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2553.) ไดด้ งั น้ี
ตารางท่ี 9 ค่าความสดของไข่ไก่ตามมาตรฐานของ USDA แนะนาค่าฮอร์กยนู ิต (HU)
ระดบั ช้ันคุณภาพ ค่าฮอร์กยูนติ (HU)
ระคบั คุณภาพเอเอ ค่า HU≥ 72
ระคบั คณุ ภาพเอเอ ค่า HU = 60-70
ระคบั คุณภาพเอเอ ค่า HU<60
ท่มี า: สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตร และอาหารแห่งชาติ(2553)
16
คคคคคคคค่าฮอร์กยนู ิต คานวณโดยอาศยั ความสัมพนั ธ์ของความสูงไข่ขาวขน้ และน้าหนกั ไข่ ไข่ท่ี
ออกมาใหมจ่ ะมีความสด มีความสูงของไข่ขาวขน้ มาก เม่ือเวลาผา่ นไป ไขข่ าวจะเหลวมีคณุ ภาพลดลง
มีความสูงลดลง วิธีท่ีใชใ้ นการหาค่า Haugh unit คอื การคานวณโดยการใชส้ ูตรดงั น้ี
คคคคคคคคคคคHaugh unit= 100 log (H + 7.57 – 1.7W0.37)
คคคคคคคคคคคH คือ ความสูงของไขข่ าว (Albumen Height, มิลลิเมตร)
คคคคคคคคคคคW คอื น้าหนกั ฟองไข่(Weight of egg, กรัม) (Rafea, 2019)
คคคคคคค4. คณุ ภาพและความหนาของเปลือกไข่ไม่บบุ และมีรอยร้าว สะอาดปราศจากรอยเป้ื อน ผวิ
เปลือกไขล่ ่ืน เรียบ ไม่มีรอยหยาบคล่ืนหรือป่ ุม (สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตร และอาหาร
แห่งชาติ, 2553 ข.)
ข้นั ตอนการสร้างไข่
คคคคคคคไขไ่ ก่เร่ิมตน้ จากการสะสมไขมนั และเกิดการเจริญเติบโตของ Follicle จากน้นั Follicle เดิน
ทางเขา้ สู่อวยวั ะสืบพนั ธุข์ องแม่ไก่ผา่ นกลไกตา่ ง ๆ จนออกมาเป็นฟองไข่ ซ่ึง Brend (2016) ไดอ้ ธิบาย
กระบวนการในกลไกต่าง ๆ ไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี
คคคการเจริญเตบิ โตของฟอลลเิ คลิ (Follicle)
คคคคคคคเม่ือแม่ไก่เขา้ สู่วยั เจริญพนั ธุจ์ ะมีฟอลลิเคิล ท่ีมีขนาดแตกต่างกนั จะถูกพฒั นาโดยการสะสม
ของช้นั ไขมนั ในการพฒั นาของฟอลลิเคิลจะเกิดข้ึนก่อนการตกไข่ต่อวนั โดยในแม่ไก่ท่ีโตเต็มที่จะมี
ฟอลลิเคิลท่ีเยอื่ หุม้ รังไขข่ นาดไม่เกิน 1 มิลลิเมตรและฟอลลิเคิลเหล่าน้ีจะถูกพฒั นาไปเป็นข้นั ปฐมภูมิ
ซ่ึงจะมีเพียง 1 ฟอลิเคลิ เทา่ น้นั ที่จะถกู คดั เลือกตอ่ วนั โดยกระบวนการคดั เลือกน้ีเป็นเพยี งแค่บางส่วน
เท่าน้นั สันนิษฐานวา่ การเกิดของฟอลลิเคิลมีผลมาจากฮอร์โมน FSH ที่หลงั่ ออกมาจากต่อมใตส้ มอง
โดยฮอร์โมน FSH จะลดลงจากน้ัน LH หรื อฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองอีกตัวจะควบคุมการ
เจริญเติบโตของฟอลลิเคิลแทน และการสะสมของไข่แดงในข้นั ตน้ ฟอลลิเคิลจะถูกคดั เลือกไปที่ผิว
เยอื่ หุม้ และเช่ือมตอ่ กบั ระบบเลือด และเส้นประสาทผา่ นทางกา้ นฟอลลิเคลิ การเจริญเติบโตของฟอล
ลิเคิลน้ันเชื่อมโยงกบั การสะสมของไข่แดงที่อุดมไปด้วยไลโปโปรตีนโดยฟอลลิเคิลน้ีมีเส้นผ่าน
ศูนยก์ ลาง 6-8 มิลลิเมตร และสามารถมองเห็นไดง้ ่ายบนผวิ รังไข่
คคคการสร้างไข่ในระบบสืบพันธ์ุ
คคคคคคคระบบสืบพนั ธุไ์ ก่เพศเมีย ประกอบดว้ ยรังไข่ (ovary) และทอ่ นาไข่ (oviduct) ) รังไข่มีท่อนา
ไข่เพียงด้านซ้ายด้านเดียว เนื่องจากรังไข่และท่อนาไข่ด้านขวาหยุดพฒั นาการเจริญเติบโตใน
ระยะแรกของ การพฒั นาตวั ออ่ น
คคค1.รังไข่ ในระยะแรกของการเจริญเติบโตของตวั อ่อน (embryo) จะมีรังไข่และท่อนาไข่ท้งั สอง
ขา้ ง แต่หลงั จากฟักไข่ได้ 8 วนั รังไข่และท่อนาไข่ขา้ งขวาจะหยุดการเจริญเติบโตและฝ่ อไป เหลือ
17
เพียงร่องรอยเป็ นต่ิงเน้ือเท่าน้ัน ทาให้เหลือรังไข่และท่อนาไข่ขา้ งซ้ายเพียงขา้ งเดียว รังไข่มีขนาด
ประมาณ 15 มิลลิเมตร ผิวขรุขระ ในไก่ที่เร่ิมไข่ รูปร่างรังไข่จะคลา้ ยพวงองุ่น รังไข่ของไก่จะมีการ
เจริญเติบโตเตม็ ท่ี และพร้อมท่ีจะตกไขเ่ มื่อไก่มีอายุ 18-20 สัปดาห์ การเจริญของถุงไข่ บนรังไข่มีการ
เจริญแบบลดหล่นั กันไป เป็ นอิทธิพลของฮอร์โมน FSH (Follicle Stimulating Hormone) และ LH
(Leuteinizing Hormone)
คคค2.ท่อนาไข่ ไก่ที่กาลงั อยู่ในช่วงวางไข่จะมีท่อนาไข่ยาว 70-80 เซนติเมตร เป็นส่วนที่มีเส้นเลือด
เส้นประสาทมาหลอ่ เล้ียงมาก ทอ่ นาไข่ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ดงั น้ี
คคคคคคค2.1 ปากแตร (Infundibulum) มีลกั ษณะเป็ นรูปกรวยท่ีมีขอบหยกั มีความยาวประมาณ 9
เซนติเมตร เป็นส่วนตน้ ของท่อนาไข่ ตามปกติปากแตรจะอยูใ่ นสภาพไม่ทางาน จนกระทง่ั ไข่สุกจาก
รังไข่จะไปกระตุน้ ให้ปากแตรทางาน ปากแตรจึงทาหนา้ ท่ีรองรับไข่สุกท่ีตกลงมาจากรังไข่ และใน
ส่วนของปากแตรยงั มีต่อมกกั เก็บอสุจิ เรียกวา่ Sperm nest และยงั เป็นบริเวณที่เกิดการปฏิสนธิของไข่
และอสุจิจากตวั ผอู้ ีกดว้ ย ในส่วนน้ีมีความเป็นกรดด่างประมาณ 7.74
คคคคคคค2.2 ส่วนผลิตไข่ขาว (Magnum หรือ Albumen-secreting portion) มีความยาวประมาณ 33
เซนติเมตร ไขแ่ ดงจะอยใู่ นส่วนน้ีนาน 2 ชว่ั โมง 54 นาที ท่อนาไขส่ ่วนน้ีจะมีความกวา้ งและผนงั หนา
กวา่ ส่วนอ่ืน ส่วนน้ีมีการสร้างโปรตีนของไขข่ าวขน้ (Albumin)
คคคคคคค2.3 ส่วนผลิตเยอ่ื เปลือกไข่ (Isthmus) มีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ไขจ่ ะอยใู่ นส่วนน้ี
นาน 1 ชว่ั โมง 14 นาที ท่อส่วนน้ีจะแคบและยาว ทาหน้าท่ีผลิตเยื่อเปลือกไข่ท้งั ช้นั ในและช้นั นอก
เป็นส่วนที่ กาหนดรูปทรงของไข่ และมีการสร้างส่วนของน้าเหลว
คคคคคคค2.4 ส่วนผลิตเปลือกไข่ (Uterus หรือ Shell gland) มีความยาวประมาณ 10-12 เซนติเมตร
เป็นถงุ ยาวคลา้ ยกระเปาะ ไข่อยใู่ นส่วนน้ีนานประมาณ 20 ชวั่ โมง 40 นาที ส่วนน้ีมีหนา้ ท่ีในการสร้าง
เปลือกไข่ สร้างสีเปลือกไข่ สร้างเมือกหุม้ ไข่ (Cuticle) และไข่ขาวเหลว
คคคคคคค2.5 ช่องออกไข่ (Vagina) มีความยาวประมาณ 12 เซนติเมตร เป็นท่อโคง้ คลา้ ยรูปตวั เอส มี
กลา้ มเน้ือแข็งแรงมาก ทาหนา้ ที่ช่วยในการวางไข่ และในส่วนน้ีจะมีต่อมกกั เก็บอสุจิ เรียกว่า Utero
vaginal gland เม่ือไก่ไดร้ ับการผสมตวั อสุจิสามารถเคลื่อนท่ีไปถึงท่อนาไขส่ ่วนปากแตรไดภ้ ายใน 30
นาที
คคคคคคค2.6 ส้วงทวารหนกั (Cloaca) เป็นทางร่วมรหวา่ งระบบขบั ถ่ายและระบบสืบพนั ธุ์ เป็นที่พกั
ไข่ที่สมบูรณ์ก่อนออกจากตวั แมไ่ ก่
18
คคคข้นั ตอนการสร้างไข่ในส่วน Infundibulum
คคคคคคคไข่จะอยไู่ ดน้ านถึง 1 ชว่ั โมงใน Infundibulum ในช่วงเวลาน้ีจะมีการสร้างพงั ผืดซ่ึงช่วยแยก
ไข่แดงออกจากไข่ขาว เมื่อไมน่ านมาน้ีมีการศึกษาท่ีแสดงใหเ้ ห็นว่า โปรตีนอยา่ งนอ้ ย 137 ชนิดมีส่วน
เกี่ยวขอ้ งกับการสร้างเยื่อหุ้มไวทาลีนซ่ึงส่วนใหญ่ยงั ไม่ทราบหน้าท่ีของมนั อย่างไรก็ตามก็เป็ นที่
ทราบกันดีว่ามนั มีเปปไทด์ที่ช่วยต้านจุลชีพท่ีมีความเข้มขน้ สูงอยู่จึงเป็ นเกราะป้องกนั การติดเช้ือ
ภายในอยา่ งมีประสิทธิภาพ
คคคการสร้างไข่ขาว
คคคคคคคไข่จะเคล่ือนที่ออกจาก Infundibulum และเคลื่อนผ่าน Magnum ซ่ึงการสร้างไข่ขาวจะ
ดาเนินต่อไปในช่วง 3-4 ชวั่ โมงถดั ไป องค์ประกอบหลกั ของไข่ขาวคือน้า 88 เปอร์เซ็นต์วตั ถุแห้งท่ี
เป็ นโปรตีน 90 เปอร์เซ็นต์เป็ นแร่ธาตุ 6 เปอร์เซ็นต์และเป็ นกลูโคสอิสระ 3.5 เปอร์เซ็นต์ในทาง
ตรงกนั ขา้ มกบั โปรตีนของไข่แดง และโปรตีนของไข่ขาวน้นั ไม่ไดผ้ ลิตในตบั แต่จะเกิดจากเยอ่ื เมือก
ของ Magnum โดยต่อมภายใน Magnum จะหลง่ั ovalbumin ovomucoid และไลโซไซม์ ในขณะที่
เซลลร์ ูปถทว้ ยจะหลงั่ โอโวมซู ิน และอะวดิ ิน การสงั เคราะหโ์ ปรตีนเหล่าน้ีถกู ควบคุมโดยเอสโตรเจน
และโปรเจสเตอโรน ในทางตรงกันขา้ มการปล่อยโปรตีนท่ีสร้างไวล้ ่วงหน้าน้นั เกิดจากการกระตุน้
ทางกลเมื่อไขท่ ่ีก่อตวั เคลื่อนตวั ลงมาและไม่ข้นั อยกู่ บกั ารควบคุมจากต่อมไร้ท่อหรือเซลลป์ ระสาท ไข่
ขาวเป็ นท่ีรู้จกั กนั ดีเร่ืองคุณสมบตั ิในการตา้ นจุลชีพท่ีเกิดจากเปปไทด์หลายชนิด ในขณะเดียวกนั
Chalazae ก็เป็นกระบวนการที่เริ่มตน้ ในช่วงท่ีไข่อยู่ใน Infundibulum ประกอบดว้ ยเส้นใยโปรตีนที่
เชื่อมระหวา่ งไข่แดง และเยอ่ื หุม้ เปลือกไข่ ดงั น้นั จึงมนั่ ใจไดว้ า่ มนั จะอยตู่ รงกลางของไข่แดง เน่ืองจาก
การหมุนของไข่ที่เกิดระหวา่ งการลงสู่ Magnum เส้นใยจะหมุนวนเพ่ือสร้างโครงสร้างลกั ษณะเฉพาะ
ไข่ขาวไม่ไดเ้ ป็นเน้ือเดียวกนั แต่จะก่อตวั กนั เป็นบริเวณกวา้ งท่ีมีความหนืดต่างกนั โดยไขข่ าวดา้ นใน
จะมีลกั ษณะเหลวกวา่ และดา้ นนอกจะเป็นช้นั ของเหลวท่ีมีความหนืดมากข้ึน
คคคการสร้างเย่ือหุ้มเปลือกไข่
คคคคคคคหลงั จากถูกส่งเขา้ ไปในคอมดลูก(Isthmus) การก่อตวั ของเย่ือหุ้มเปลือกด้านใน และดา้ น
นอกจะถูกสร้างข้ันโดยตาข่ายเส้นใยของโปรตีนซ่ึงเป็ นโปรตีนประเภทคอลลาเจน และใน
กระบวนการสร้างเยื่อหุ้มเปลือกไข่น้ีจะเร่ิมตน้ ก็ต่อเม่ือมีสิ่งใดส่ิงหน่ึงผา่ นเขา้ มาในส่วนของ Isthmus
(นิรนาม, 2561) เยื่อที่มาห่อหุ้มเหล่าน้ีมีระยะห่างเพียงเล็กน้อยแต่แยกออกจากกันที่ปลายเพื่อสร้าง
ช่องว่างของอากาศ แม้ว่าไข่ขาวจะไม่สามารถซึมผา่ นได้แต่ก็สามารถมีการแลกเปล่ียนน้า ออกซิเจน
และแร่ธาตุไดพ้ ้ืนผิวของดา้ นนอกจะประกอบดว้ ยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และมิวโคโพลีแซคคาไรด์
โครงสร้างเหล่าน้ีเป็นจุดเริ่มตน้ ของการสร้างเปลือกไข่
19
คคคกลไกลการสร้างเปลือกไข่
คคคคคคคการสะสมแคลเซียมเพ่ือสร้างเปลือกไข่จะเกิดข้ึนในช่วงเวลากลางคืน โดยแม่ไก่จะใช้
แคลเซียมจากระบบทางเดินอาหารเป็นอนั ดบั แรก โดยการละลายแคลเซียมดว้ ยกรดไฮโดรคลอริก แต่
ถา้ หากแคลเซียมจากระบบทางเดินอาหารไม่เพียงพอจะมีการดึงแคลเซียมที่สะสมอยู่ในกระดูกมาใช้
ดงั น้นั คุณภาพเปลือกไข่จะข้ึนอยกู่ บั ปริมาณแคลเซียมที่คงอยใู่ นกระเพาะบดในช่วงกลางคืน
คคคคคคคกลไกการสร้างเปลือกไข่เร่ิมตน้ จากแม่ไก่ไดร้ ับแคลเซียมจากอาหารท่ีกินจากน้นั พบว่ามี
การลาเลียงแคลเซียมไอออน ไบคาร์บอเนต คาร์บอนไดออกไซดน์ า้ และไดไฮโดรเจนไอออน ซ่ึงถูก
ลาเลียงผ่านทางกระแสเลือดไปท่ีShell gland จากน้ัน Shell gland จะนาสารเหล่าน้ันไปสร้างเปลือก
ไข่โดยคาร์บอนไดออกไซด์มีการทา ปฏิกิริยากบั น้า โดยมีเอนไซมค์ าร์บอนิกแอนไฮเดรสเป็นตวั ทา
ปฏิกิริยาจนเกิดเป็นกรดคาร์บอนิกจากน้นั กรดคาร์บอนิกเกิดการสลายตวั ออกเป็นไบคาร์บอเนต และ
ไฮโดรเจนไอออนโดยไบคาร์บอเนตจะถูกนาไปสร้างเปลือกไข่ส่วนไฮโดรเจนไอออนจะถูกดูดซึม
กลบั สู่กระแสเลือด เมื่อแคลเซียมไอออน และไบคาร์บอเนตถกู นาไปสร้างเปลือกไข่ซ่ึงเป็นแคลเซียม
ในรูปแบบแคลเซียมคาร์บอเนต ดงั ภาพที่ 6
ภาพท่ี 6: กระบวนการสร้างเปลือกไข่
ที่มา: Devis (n.d.)
20
งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้องกบั การใช้เห็ดชิทาเกะเสริมในอาหารไก่
คคคคคคคจากการทดลองของ Hwang et al. (2012) ใช้เห็ดชิทาเกะต่อประสิทธิภาพการออกไข่
คุณภาพไข่ การประเมินองคป์ ระกอบของกรดไขมนั และปริมาณคอเลสเตอรอลของไข่ ในไก่ไข่อายุ
22 สัปดาห์ โดยวิธีการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD) พร้อมให้อาหารเพื่อปรับสภาพไก่เป็ น
เวลา 1 สัปดาห์ก่อนการทดลองเริ่มข้ึน โดยมีอาหารควบคุม 0 เปอร์เซ็นต์ (อาหารพ้ืนฐานที่ไม่มีเห็ดชิ
ตาเกะ) อาหารที่มีเห็ดชิตาเกะ ปริมาณ 0.25 และ 0.5 เปอร์เซ็นตต์ ามลาดบั พบว่าการเสริมเห็ดชิตาเกะ
ในอาหารไก่ไข่ส่งผลให้ Haugh Unit เพิ่มข้ึนอย่างมีนยั สาคญั ในท้งั สองกลุ่มท่ีเสริมเห็ดชิตาเกะ และ
พบว่าเปลือกไข่บางลงในกลุ่มที่เสริมเห็ดชิตาเกะ 0.25 เปอร์เซ็นต์ และเปลือกไข่ท่ีหนาข้ึน ในกลุ่มท่ี
เสริมเห็ดชิตาเกะ 0.5 เปอร์เซ็นต์ เม่ือเทียบกับกลุ่มควบคุม การเสริมอาหารด้วยเห็ดชิตาเกะที่ 0.5
เปอร์เซ็นต์ ส่งผลดีต่อการผลิตไข่ คุณภาพของไข่ องค์ประกอบของกรดไขมนั และการลดระดับ
คอเลสเตอรอลของไข่ แลว้ ยงั ไมส่ ่งผลเสียตอ่ คณุ สมบตั ิทางประสาทสมั ผสั ของไข่ดงั ตารางท่ี 10
ตารางที่ 10 ผลของการใชเ้ ห็ดชิตาเกะในอาหารตอ่ คณุ ภาพภายนอกและภายในของไก่
Parameter Control Shiitake 0.25% Shiitake 0.50% SEM
Egg weight (g) 64.37 60.66 61.11 1.68
1.11
Shape index 76.84 76.41 77.74 0.01
0.40
Shell thickness (mm) 0.38a 0.32b 0.35ab 0.24
4.32
Albumen height (cm) 3.80b 5.04ab 5.48a
Yolk color 7.71 7.75 7.50
Haugh Unit 52.46b 68.63a 69.75a
หมายเหตุ: a,b ภายในแถวเดียวกนั หมายถึงตวั อกั ษรตา่ งกนั มีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทาง
สถิติ (P< 0.05)
ท่ีมา: ดดั แปลงจาก Hwang et al. (2012)
คคคคคคคจากการทดลองของฟาร์มที่มหาวิทยาลยั แห่งรัฐนอร์ทแคโรไลนา (Greensboro, NC) ท่ี
หอ้ งปฏิบตั ิการชีววิทยาเห็ด และเทคโนโลยชี ีววิทยาโดยที่น้าหนกั เห็ดชิตาเกะแหง้ 100 กรัม มาสกดั
ดว้ ยน้ากลนั่ ในปริมาตร 1 ลิตร และเก็บในอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ก่อนที่จะใชเ้ ป็นสารเติมแต่งใน
น้า ให้กบั ลูกไก่ Guo et al. (2004) ไดจ้ ดั ทาการทดลองข้ึนเพื่อศึกษาผลของสารสกดั โพลีแซ็กคาไรด์
ของเห็ด 2 ชนิ ดคือ Lentinus edodes (LenE) และTremella fuciformis (TreE) และใช้สมุนไพร
Astragalus membranaceus (AstE) ตอ่ ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและน้าหนกั ของอวยั วะและระบบ
ทางเดินอาหาร (GIT) ของไก่เน้ือโดยในการทดลองใช้ ไก่เน้ืออายุ 14 วนั จานวน 135 ตวั โดยสุ่ม
น้าหนักมา 9 กลุ่มการทดลอง ใช้สารสกัด 3 ชนิด คือเห็ดหอม , เห็ดหูหนูขาว และ สมุนไพร
21
Astragalus ในปริมาณ 0.1 0.2 0.3 0.4 และ 1 เปอร์เซ็นต์ จากอายุ 7 ถึง 28 วนั และเปรียบเทียบกบั
กลุ่มที่ใหย้ าปฏิชีวนะ Apramycin (APR) โดยใช้ 20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พบวา่ น้าหนกั ตวั ท่ีเพิ่มข้ึน
ปริมาณอาหารและอตั ราส่วนการเปล่ียนอาหาร (FCR) ของกลมุ่ ที่เสริมสารสกดั ไม่แตกตา่ งจากกลุ่มยา
ปฏิชีวนะอย่างมีนยั สาคญั ผลท่ีสาคญั ของชนิดของสารสกัดและความเขม้ ขน้ ต่อประสิทธิภาพการ
เจริญเติบโตพบไดต้ ้งั แต่อายุ 7 ถึง 28 วนั โดยทวั่ ไปแลว้ ไก่ท่ีเล้ียงดว้ ย เห็ดหอม จะมีอตั ราการไดร้ ับ
น้าหนกั สูงกวา่ และอตั ราส่วนการเปล่ียนอาหาร ที่ต่ากวา่ อายตุ ้งั แต่ 7 ถึง 28 วนั กวา่ ไก่ที่เล้ียงดว้ ย หูหนู
ขาว และ สมุนไพร ที่ 0.2 เปอร์เซ็นต์ เห็ดหอมถือเป็ นอตั ราการรวมที่เหมาะสมท่ีสุดสาหรับการ
เจริญเติบโตของไก่เน้ือ อย่างไรก็ตามสารสกดั ไม่มีผลอย่างมีนยั สาคญั ต่อน้าหนกั สัมพทั ธ์ของอวยั วะ
และทางเดินอาหาร เม่ือเทียบกบั กลุม่ ยาปฏิชีวนะ
ตารางท่ี 11 คา่ น้าหนกั และจุลินทรียข์ องไก่ที่เล้ียงดว้ ยเห็ดและสารสกดั โพลีแซคคาไรดท์ ี่ละลายน้าได้
Bacteriodes
Treatment BW gain spp. E. coli Enterococci Bifidobacteria Lactobacilli
Control 5.7 6.70 6.93 7.36 8.55 8.55
APR 25.6 8.72 9.69 7.25 8.12 6.58
LenE,0.2 % 17.6 6.38 6.58 7.29 9.09 8.33
TreE 0.2 % 18.9 5.47 6.14 7.16 8.69 8.16
AstE 0.2 % 21.6 6.45 6.73 7.23 9.03 8.21
SEM 1.84 0.27 0.03 0.02 0.10 0.096
หมายเหตุ: APR = ยาปฏิชีวนะ; LenE = สารสกดั จาก Lentinus edodes polysaccharide; TreE =
Tremella fuciformis polysaccharide extract; AstE = สารสกดั จาก Astragalus membranaceus
polysaccharide
ท่มี า: ดดั แปลงจาก Guo et al. (2004)
คคคคคคคต่อมา Guo et al. (2004) ทาการทดลองต่อโดยการเล้ียงไก่ดว้ ยระดบั ของเห็ดหอม ท่ีแตกตา่ ง
กันเพื่อดูน้าหนักตัวท่ีได้และจานวณจุลินทรีย์ในลาไส้ของของไก่เน้ือ พบว่าน้าหนักตัวที่เสริม
เห็ดหอมในระดบั ท่ี 0.5 เปอร์เซ็นต์ ให้น้าหนกั สูงกวา่ ระดบั อ่ืนๆ และเห็ดหอมท่ีระดบั 0.3 เปอร์เซ็นต์
มี Bacteroides และ spp. มากที่สุดอย่างมีนัยสาคญั จานวนของ Enterococci ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณ
เห็ดหอมท่ีระดบั 0.1 ถึง 0.5 เปอร์เซ็นต์ และเห็ดหอมในปริมาณสูงสุดและต่าสุด 0.1 และ1 เปอร์เซ็นต์
พบว่ามี Enterococci สูงที่สุดอย่างมีนัยสาคัญ จานวน E.coli เพ่ิมข้ึนตามการเพิ่มข้ึนของปริมาณ
เห็ดหอม และระดบั เห็ดหอม ท่ี 0.5 และ 1 เปอร์เซ็นต์ แสดงใหเ้ ห็นวา่ มีจานวนสูงสุดอย่างมีนยั สาคญั
22
จานวน bifidobacteria และ lactobacilli เพ่ิมข้ึนตามปริมาณเห็ดหอม ที่เพิ่มข้ึนโดยเห็ดหอม 0.2
เปอร์เซ็นต์ มีจานวนสูงสุด
ตารางท่ี 12 น้าหนกั และจานวนจุลินทรียข์ องไก่ที่เล้ียงดว้ ยระดบั เห็ดชิตาเกะ ท่ีแตกตา่ งกนั
LenE BW Bacteriodes
(%) gain spp. E. coli Enterococci Bifidobacteria Lactobacilli
0.1 16.4b 6.25c 7.58a 6.32c 8.53d 7.91d
0.2 17.6b 6.38bc 7.45b 6.63b 9.08a 8.49a
0.3 21.0ab 6.87a 7.20c 6.78ab 8.69cd 8.19c
0.5 26.5a 6.35c 7.13c 6.92a 8.81bc 8.30b
1 22.5ab 6.58b 7.57a 6.96a 8.93ab 8.37b
SEM 1.09 0.06 0.05 0.07 0.05 0.05
หมายเหตุ: a–d ภายในแถวเดียวกนั หมายถึงตวั อกั ษรต่างกนั มีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั (P>
0.05)
ท่มี า: ดดั แปลงจาก Guo et al. (2004)
วตั ถุประสงค์
คคคคคคคเพื่อศึกษาผลของการใชเ้ ห็ดชิทาเกะเสริมในอาหารต่อผลผลิตและคุณภาพของไข่ไก่ในไก่
สายพนั ธุ์โรมนั บราวน์
ขอบเขตงานวจิ ยั
คคคคคคคการศึกษาการใชเ้ ห็ดชิทาเกะในระดบั ตา่ ง ๆ เสริมลงในสูตรอาหารไก่ไข่โดยศึกษาในไก่ไข่
เพษเมียสายพนั ธุ์โรมนั บราวน์
สมมตฐิ าน
คคคคคคคใชเ้ ห็ดชิตาเกะมาเสริมในอาหารสาหรับไก่ไข่ เพิม่ คุณภาพของไขไ่ ก่และสุขภาพของไก่ไข่
ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ
คคคคคคคไก่ไขม่ ีความแขง็ แรง สุขภาพดีสามารถใหผ้ ลผลิตระยะยาวข้ึน
23
อุปกรณ์และวธิ ีการศึกษา
อุปกรณ์
1. สตั วท์ ดลอง ไก่ไขส่ ายพนั ธุ์โรมนั บราวน์ระยะการใหไ้ ข่ท่ี 40 สปั ดาห์จานวน 32 ตวั
2. อปุ กรณ์การเล้ียง
2.1. เครื่องผสมอาหารขนาด 300 กิโลกรัม
2.2. กรงตบั ขนาด 40*45 เซนติเมตร
2.3. หวั nipple สาหรับใหน้ ้าไก่
2.4. รางอาหาร
2.5. ถงั ขนาด 50 ลิตร สาหรับเก็บอาหาร
2.6. ถงุ ซิปลอ็ ค สาหรับใส่อาหารหลงั ชง่ั เสร็จ และสาหรับใส่อาหารเหลือ
2.7. เคร่ืองชง่ั ดิจิตอลทศนิยม 4 ตาแหน่ง
2.8. เคร่ืองชง่ั ขนาดเลก็ 2 กิโลกรัม
2.9. เครื่องชงั่ ขนาดใหญ่ 20 กิโลกรัม
2.10. เวอเนียร์สาหรับวดั ความหนาเปลือกไข่
2.11. เครื่องวดั ความสูงไข่ขาว (Albumin Haugh Gauge)
2.12. พดั สีไข่แดง (Yolk color fan) 15 เบอร์
3. วตั ถดุ ิบอาหาร
3.1. ปลายขา้ ว
3.2. ราละเอียด
3.3 ขา้ วโพด
3.4 กากถว่ั เหลือง
3.5 เปลือกหอยป่ น
3.6 Dicalcium Phophate
3.7 เกลือ
3.8 พรีมิกซ์
3.9 เห็ดชิตาเกะบดละเอียด
4. อปุ กรณ์ทาความสะอาด
4.1. ไมก้ วาดทางมะพร้าว
4.2. พลว่ั
24
4.3. ที่ดนั มูล
4.4. กระสอบใส่มลู
วธิ กี ารทดลอง
1. แผนการทดลอง
ใชแ้ ผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์(Completely Randomized Design; CRD) โดยมี 4 ทรีท
เมนต(์ Treatment) คือ
ทรีทเมนตท์ ี่ 1 เสริมเห็ดชิตาเกะท่ีระดบั 0 เปอร์เซ็นต์ (กล่มุ ควบคุม)
ทรีทเมนตท์ ี่ 2 เสริมเห็ดชิตาเกะที่ระดบั 2.5 เปอร์เซ็นต์
ทรีทเมนตท์ ่ี 3 เสริมเห็ดชิตาเกะท่ีระดบั 5 เปอร์เซ็นต์
ทรีทเมนตท์ ่ี 4 เสริมเห็ดชิตาเกะที่ระดบั 7.5 เปอร์เซ็นต์
ทาการทดลอง 8 ซ้า (Replication) แต่ละซ้าจะใชไ้ ก่ไข่โรมนั บราวน์ 1 ตวั รวมใชไ้ ก่ท้งั หมด 32 ตวั
2. การเตรียมโรงเรือนและอปุ กรณ์
2.1 ทาความสะอาดโรงเรือน
2.2 ซ่อมแซมโรงเรือนในส่วนท่ีมีการชารุดเสียหาย
2.3 ทาความสะอาดรางอาหาร
2.4 ทาความสะอาด และตรวจสอบวา่ หวั nipple ทางานทุกตาแหน่งหรือไม่
2.5 ตรวจสอบการทางานของพดั ลมภายในโรงเรือน
2.6 เตรียมอาหารทดลอง คดั เลือกวตั ถุดิบที่จะใช้ประกอบสูตรอาหาร คานวณสูตรอาหาร
สาหรับไก่ไข่โดยเสริมกบั เห็ดชิตาเกะโดยใช้เคร่ืองผสมอาหาร ผสมอาหารกบั เห็ดชิตาเกะตามแต่ละ
สูตร โดยวิธีการทดลองดงั น้ี
อาหารสูตรที่ 1 เสริมเห็ดชิตาเกะในสูตรอาหารที่ระดบั 0 เปอร์เซ็นต์
อาหารสูตรท่ี 2 เสริมเห็ดชิตาเกะในสูตรอาหารที่ระดบั 2.5 เปอร์เซ็นต์
อาหารสูตรท่ี 3 เสริมเห็ดชิตาเกะในสูตรอาหารที่ระดบั 5 เปอร์เซ็นต์
อาหารสูตรท่ี 4 เสริมเห็ดชิตาเกะในสูตรอาหารท่ีระดบั 7.5 เปอร์เซ็นต์
โดยอาหารแตล่ ะสูตรการทดลองดงั ตารางที่ 13
25
ตารางท่ี 13 ปริมาณวตั ถดุ ิบอาหารท่ีใชใ้ นสูตรอาหารทดลอง
ส่วนประกอบ 1/เห็ดชิทาเกะ ปริมาณวตั ถุดิบอาหาร (กก.) เห็ดชิทาเกะ
0% เหด็ ชิทาเกะ เห็ดชิทาเกะ 7.5 %
7.5
2.5 % 5 % 11.5
19
เห็ดชิทาเกะ 0 2.5 5 40.5
ปลายขา้ ว 11.5 11.5 11.5 19.5
8
ราละเอียด 19 19 19 0.5
0.5
ขา้ วโพด 40.5 40.5 40.5 0.5
107.5
กากถว่ั เหลือง 19.5 19.5 19.5
เปลือกหอยป่ น 8 8 8
เกลือ 0.5 0.5 0.5
DCP 0.5 0.5 0.5
พรีมิกซ์ 0.5 0.5 0.5
รวม 100 102.5 105
3. การเตรียมสัตวท์ ดลอง
3.1. แบง่ ไก่ทดลองออกเป็น 4 กลุม่ ๆ ละ 8 ตวั เขา้ กรงทดลองละ 1 ตวั
3.2. ให้อาหารทดลอง และใหอ้ าหารแบบปกติโดยใชเ้ วลา 5 วนั เพื่อให้ไก่ปรับตวั ต่อลกั ษณะของ
อาหาร
4. การเล้ียงไก่ทดลอง
4.1. ใหอ้ าหาร เวลา 7.30 น. ของทุกวนั โดยใหก้ ินอยา่ งเตม็ ที่
4.2. การใหน้ ้า ใชร้ ะบบน้าอตั โนมตั ิ และใหน้ ้าตลอดเวลา
4.3. ชง่ั น้าหนกั ไก่ก่อนการทดลอง ระหวา่ งการทดลองทกุ สปั ดาห์ และหลงั การทดลอง
4.4. การวิเคราะห์คุณภาพไข่ จะมีการวิเคราะห์คุณภาพไข่ทุกสัปดาห์ โดยสุ่มฟองไข่ซ้าละ 1 ฟอง
ทุกวนั ศุกร์ของแต่ละสัปดาห์ และนาไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบตั ิการสาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ศนู ยร์ ังสิต
4.5. ชงั่ อาหารเหลือทกุ วนั ตลอดการทดลอง
5. การบนั ทึกขอ้ มลู
5.1 บนั ทึกน้าหนกั ไก่ก่อนการทดลองและระหว่างการทดลอง ไปจนถึงสิ้นสุดการทดลองโดยใช้
เคร่ืองชง่ั ขนาด 0 - 20 กิโลกรัม
26
5.2 บนั ทึกขอ้ มูลอาหาร ชงั่ น้าหนกั อาหารท่ีใหแ้ ละอาหารที่เหลือในแตล่ ะวนั เพือ่ คานวณปริมาณ
การกินไดข้ องไก่ โดยใชเ้ ครื่องชง่ั ขนาดเลก็ 2 กิโลกรัม
5.3 บนั ทึกขอ้ มลู ไข่ จานวนไขใ่ นแตล่ ะวนั และคุณภาพไขท่ ุกสปั ดาห์
6. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิติ
วิเคราะห์แบบ Analysis of variance (ANOVA) ตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ 4 ทรีตเมนต์
8 ซ้า (Completely Randomized Design; CRD)
สถานทศี่ ึกษา
สาขาสตั วศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ศูนย์
รังสิต ตาบลประชาธิปัตย์ อาเภอธญั บุรี จงั หวดั ปทมุ ธานี
ระยะเวลาในการศึกษา
เริ่มทาการทดลองเดือนมกราคม พ.ศ.2564 สิ้นสุดการทดลองเดือนมีนาคม พ.ศ.2564
27
ผลการทดลองและวจิ ารณ์ผลการทดลอง
คคคคคคคองคป์ ระกอบทางโภชนะของเห็ดชิทาเกะจากการสุ่มตวั อยา่ งเห็ดชิทาเกะเพ่ือนามาวเิ คราะห์
องคป์ ระกอบทางโภชนะ ให้ผลการวเิ คราะห์เห็ดชิทาเกะดงั ตารางท่ี 14
ตารางท่ี 14 ผลการวิเคราะห์โภชนะของเห็ดชิทาเกะ
โภชนะ เห็ดชิทาเกะ
น้าหนกั แหง้ 91.45
โปรตีน 7.49
ไขมนั 0.46
เยอื่ ใย 36.42
แคลเซียม 1.36
ฟอสฟอรัส 0.5
เถา้ 27.34
จากการสุ่มตวั อยา่ งอาหารทดลองท้งั 4 กลุ่ม ท่ีใชต้ ลอดการทดลอง มาวิเคราะห์องคป์ ระกอบ
ใหผ้ ลการทดลองดงั ตารางท่ี 15
ตารางที่ 15 ผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบทางโภชนะในสูตรอาหารทดลอง
โภชนะ เหด็ ชิทาเกะ เหด็ ชิทาเกะ เห็ดชิทาเกะ เห็ดชิทาเกะ
0% 2.5 % 5% 7.5 %
น้าหนกั แหง้ 92.24 91.15 90.73 91.39
โปรตีน 15.91 15.31 15.21 14.94
3.44 3.16 2.46 2.43
ไขมนั
เยอื่ ใย 5.04 5.07 5.87 6.42
แคลเซียม 6.376 6.971 5.897 6.346
ฟอสฟอรัส 0.645 0.610 0.668 0.761
เถา้ 9.13 10.08 10.17 11.84
คคคคคคคจะเห็นวา่ การเสริมเห็ดชิทาเกะในระดบั ที่สูงข้ึน ส่งผลใหร้ ะดบั เยอื่ ใย ฟอสฟอรัสและเถา้ ใน
สูตรอาหารสูงข้ึน ระดบั โปรตีน และไขมนั ในสูตรอาหารนอ้ ยลง
28
คคคคคคคการเสริมเห็ดชิทาเกะระดบั ตา่ งๆในสูตรอาหารทดลองไดผ้ ลการทดลองดงั ตารางท่ี 16
ตารางที่ 16 ผลของเห็ดชิทาเกะต่อผลผลิตไข่และน้าหนกั ไก่
ตวั ชี้วัด 0% ระดับเหด็ ชิทาเกะ 7.5% C.V. Pr>F
2.5% 5%
ปริมาณอาหารที่กินตลอด 5528.8 5546.4 5537.5 5411.0 4.949689 0.7283
การทดลอง (กรัม)
ปริมาณอาหารท่ีกินได้ 112.83 113.19 113.00 110.43 4.951370 0.7292
(กรัม/ตวั /วนั )
น้าหนกั ไก่เร่ิมตน้ (กก.) 1.85 1.86 1.83 1.70 9.067886 0.1999
น้าหนกั ไก่สิ้นสุด(กก.) 1.89 1.75 1.85 1.66 9.847130 0.0673
น้าหนกั ไก่ท่ีเปล่ียนแปลง 0.04 -0.11 0.02 -0.04 - -
(กก.)
อตั ราการผลิตไข่ 84.70 86.24 82.40 82.65 15.83168 0.9296
มวลไข่ 47.84 49.51 48.94 47.48 14.34091 0.9295
อตั ราการเปล่ียนอาหาร 1.19 1.14 1.17 1.15 16.40022 0.9505
เป็นไข่ 1 กก.
หมายเหต:ุ a,b หมายถึงตวั อกั ษรท่ีแตกตา่ งกนั ในแนวนอนท่ีแสดงความแตกต่างกนั ของค่าเฉล่ีย
ทางสถิติ (P>0.05)
คคคคคคคจากการทดลองพบว่าปริมาณอาหารที่กินของกลุ่มเห็ดชิทาเกะท่ีระดบั 7.5 เปอร์เซ็นต์ มีค่า
ต่าท่ีสุด แต่มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ไดด้ ีท่ีสุด เน่ืองจากกลุ่มเห็ดชิทาเกะท่ีระดบั 0 2.5
และ 5 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาณอาหารท่ีกินสูงกว่า แต่มีประสิทธิภาพการเปล่ียนอาหารเป็นไขเ่ ท่ากบั กลุ่ม
เห็ดชิทาเกะท่ีระดบั 7.5 เปอร์เซ็นต์ น้าหนกั ไก่เริ่มตน้ และน้าหนกั ไก่สิ้นสุด ของท้งั 4 กลุ่มการทดลอง
ไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) แต่พบว่าน้าหนกั ไก่ระหวา่ งทาการทดลองน้นั ลดลงจากก่อน
การทดลองเนื่องจากว่าโภชนะในอาหารที่ใช้เล้ียงก่อนเริ่มทาการทดลองเป็ นอาหารทางการคา้ ที่มี
โภชนะสูงกวา่ อาหารที่ใชท้ าการทดลอง และพบวา่ อตั ราการผลิตไขข่ องท้งั 4 กลุม่ การทดลองน้นั ไม่มี
ความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) เน่ืองจากโภชนะในอาหารทดลองท้งั 4 กลุ่มทดลองมีโภชนะที่
เทา่ กนั จึงไม่ส่งผลต่ออตั ราการผลิตไข่ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ Mahfuz (2018) ที่ไดท้ าการศึกษา
ความเป็นไปไดข้ องการใช้เศษกา้ นของเห็ดเขม็ ทองในอาหารไก่ไข่พบว่า การใชเ้ ศษกา้ นของเห็ดเข็ม
ทองในอาหารไก่ไข่ไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการผลิตไข่ และน้าหนักตวั ไก่ เช่นเดียวกนั กบั Netto
(2018) ท่ีทาการทดลองการรวมของเศษเห็ดชิทาเกะในระดบั ต่างๆ และผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
29
และสุขภาพของไก่เน้ือและไก่ไข่ พบว่า เศษเห็ดชิทาเกะในระดบั ต่างๆในอาหาร ไม่ส่งผลต่อคุณภาพ
ของไข่ อยา่ งไรก็ตาม Iolanda (2019) ศึกษาแป้งเห็ดกระดุมบราซิลเป็นสารเสริมในอาหารของไก่ไข่
พบว่าปริมาณการกินอาหารลดลงตามการเพิ่มระดบั ของเห็ดในอาหาร ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การทดลอง
ของ Gracher (2005) ศึกษาการกาหนดลกั ษณะโครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ท่ีแยกได้จากเห็ด
หลินจือ กล่าววา่ ปริมาณเยอ่ื ใยที่มีอยใู่ นเห็ดอาจส่งผลตอ่ การกินอาหารของนกลดลง
ผลของการเสริมเหด็ ชิทาเกะในอาหารไก่ไข่ต่อคณุ ภาพไข่
ตารางที่ 17 ผลของการเสริมเห็ดชิทาเกะในระดบั ตา่ ง ๆ ในอาหารไก่ไข่ต่อคุณภาพไข่
ตวั ชี้วดั ระดับเหด็ ชิทาเกะ C.V. Pr>F
0% 2.5% 5% 7.5%
น้าหนกั ไข่ (กรัม/ฟอง) 57.46 57.31 58.63 57.54 6.687631 0.8965
น้าหนกั เปลือกไข่ (กรัม/ฟอง) 7.17 6.70 7.11 6.93 7.431397 0.2786
ความหนาเปลือกไข(่ มม.) 0.29 0.30 0.30 0.29 9.287399 0.7442
น้าหนกั ไข่แดง (กรัม) 15.02b 15.02b 16.49a 15.73ab 5.836427 0.0082
น้าหนกั ไขข่ าว (กรัม) 34.03 35.22 34.05 34.29 8.707395 0.8379
สีของไขแ่ ดง 4.84ab 4.64b 5.21a 4.30b 11.00867 0.0136
ความสูงไขข่ าว(มม.) 8.45 7.70 8.23 7.41 22.11931 0.6265
Haugh unit 93.10 77.05 90.46 86.81 20.97472 0.3315
หมายเหต:ุ a,b หมายถึงตวั อกั ษรที่แตกตา่ งกนั ในแนวนอนที่แสดงความแตกต่างกนั ของคา่ เฉล่ีย
ทางสถิติ (P>0.05)
คคคคคคคจากการทดลองพบวา่ น้าหนกั ไขไ่ มม่ ีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) เนื่องจากโภชนะ
ในอาหารทดลองท้งั 4 กลุ่มน้นั มีโภชนะเท่ากนั และมีน้าหนกั ไข่ใกลเ้ คียงกนั น้นั ไม่ส่งผลต่อน้าหนกั
ไข่ ในส่วนของน้าหนกั เปลือกไขพ่ บวา่ ไม่มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ (P>0.05)
ซ่ึงสอดคลอ้ งกนั กบั Hwang et al. (2012) ที่พบเช่นกนั วา่ การใชเ้ ห็ดชิทาเกะที่แตกต่างกนั ไม่ส่งผลต่อ
ความหนาเปลือกไข่ ในด้านน้าหนักไข่แดงพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) แต่มี
แนวโน้มว่ากลุ่มการทดลองท่ีเสริ มด้วยเห็ดชิทาเกะ มีค่าน้ าหนักไข่แดงท่ีสู งกว่ากลุ่มท่ีไม่ได้เสริ ม
ในส่ วนของน้ าหนักไข่ขาวพบว่าไม่มีความแตกต่ างกันทางสถิติเช่นเดียวกันกับน้ าหนักไข่แดง
เน่ืองจากอาหารทดลองท้งั 4 กลุ่มน้นั มีโภชนะเท่ากนั และการเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารทดลองไม่
ส่งผลต่อน้าหนักไข่ขาว สอดคลอ้ งกันกับ Hwang et al. (2012) ที่พบว่าการเสริมเห็ดชิทาเกะใน
30
ปริมาณท่ีแตกต่างกนั น้ันไม่ส่งผลต่อน้าหนกั ไข่ขาว ในส่วนของคะแนนสีของไข่แดงพบว่าในกลุ่ม
การทดลองท่ี 3 ซ่ึงเสริมดว้ ยเห็ดชิทาเกะที่ 5 เปอร์เซ็นต์ มีคา่ คะแนนสีของไข่แดงแตกต่างกนั ทางสถิติ
(P<0.05) แต่อาหารทดลองท้งั 4 กลมุ่ ไม่มีการเติมสารสีลงไปจึงทาใหค้ ะแนนสีของไขแ่ ดงมีคา่ ต่า ใน
ส่วนของความสูงไข่ขาวจากการทดลองพบวา่ ไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) ซ่ึงขดั แยง้ กนั
กบั การทดลองของ Hwang et al. (2012) พบวา่ ผลการทดลองในการเสริมเห็ดชิทาเกะท่ีระดบั แตกต่าง
กนั น้ันส่งผลทาให้ความสูงของไข่ขาวเพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคญั โดยในการทดลองน้ีน้ีพบว่ามีความ
คลา้ ยคลึงกนั กบั งานวิจยั ของ Mahfuz et al. (2018) พบว่าดัชนีรูปร่างของไข่ น้าหนักเปลือก ความ
หนาของเปลือก น้าหนกั ไข่แดง ดชั นีไข่แดง และน้าหนกั ไข่ขาวไม่แตกต่างกนั ทางสถิติ (p>0.05) ใน
ส่วนของ Haugh Unit จากการทดลองพบว่าไม่มีความแตกต่างกนั ทางสถิติ (P>0.05) เน่ืองจาก Haugh
Unit น้นั มาจากการคานวณโดยมีน้าหนกั ไข่และ ความสูงไข่ขาวเป็นตวั แปร ซ่ึงในการทดลองพบว่า
น้าหนกั ไข่และความสูงไข่ขาวไม่มีความแตกต่าง กนั จึงทาให้ Haugh Unit น้นั ไม่มีความแตกต่างกนั
เช่นกนั เป็นผลใหก้ ารคานวณ Haugh Unitไดผ้ ลออกมาไม่แตกตา่ งกนั ทางสถิติ (P>0.05) เช่นเดียวกนั
31
สรุปผลการศึกษา
1. การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารไก่ไข่ในระดับต่างๆ ไม่ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่กิน
น้าหนกั ตวั ไก่ อตั ราการผลิตไข่ และอตั ราการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่
2. การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารไก่ไข่ในระดับต่างๆ ไม่ส่งผลต่อน้าหนักไข่ ความหนา
เปลือกไข่ น้าหนกั ไข่ขาว น้าหนกั ไขแ่ ดง ความสูงไขข่ าว และ Haugh Unit
3. การเสริมเห็ดชิทาเกะในอาหารไก่ไข่ในระดบั ท่ีต่างกนั ส่งผลต่อสีของไข่แดง โดยกลุ่มท่ี
เสริมเห็ดชิทาเกะในระดบั ท่ี 5 0 และ2.5 เปอร์เซ็นตอ์ ยู่ท่ี 5.21 4.84 และ4.64 ตามลาดบั และกลุ่มที่
เสริมเห็ดชิทาเกะในระดบั ที่ 7.5 เปอร์เซ็นตต์ ่าท่ีสุดอยทู่ ี่ 4.30
ข้อเสนอแนะ
การเสริมเห็ดชิทาเกะไม่ควรเสริมในปริมาณมาก เนื่องจากในเห็ดมีปริมาณเย่ือใยสูง อาจทา
ใหส้ ่งผลตอ่ การกินอาหารของสัตวล์ ดลง
32
เอกสารอ้างองิ
กรมปศุสตั ว.์ 2563. การผลิตและการตลาดไข่ไก่ของไทยปี 2562-2563. (ออนไลน)์ .
เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://extension.dld.go.th/th1/images/stories/.
ชาญยทุ ธ์ ภาณุทตั . 2559. สถานการณ์เห็ดของประเทศไทย. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://www3.rdi.ku.ac.th/uploads.
ชุติมา ลิม้ มทั วาภิรัต์ิ. 2552. เห็ดหอม : อาหารเพื่อสุขภาพ. ฟาร์มาไทม.์ 7(76): 37 - 44.
นิรนาม. 2561. สรีระวิทยาระบบสืบพนั ธุ์ไก่เพศเมีย. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://pubhtml5.com/flha/aolg/basic.
บริษทั ซีพเี อฟ จากดั . ม.ป.ป. คู่มือการเล้ียงไก่ไขซ่ ีพบี ราวน์. บริษทั ซีพเี อฟ จากดั สานกั งานส่งเสริม
การตลาดและลูกคา้ สมั พนั ธ.์ กรุงเทพฯ.
ประภากร ธาราฉาย. 2560. การเล้ียงไก่ไข.่ การผลิตสัตวป์ ี ก. 1 – 20.
ประภากร ธาราฉาย. 2560. การเล้ียงและการจดั การไก่ไข.่ การจดั การฟาร์มสตั วป์ ี ก. 75 – 135.
พรทิพย์ ศิริวรรณ์ ชอ้ งมาศ อนั ตรแสน วชั รชยั ณรงคศ์ กั ด์ิ บณั ฑิต นวลศรีฉาย อารุณี ชยั สิงห์ ละณีสุข
ถิ่นไทย สนทนา มิมะพนั ธุ์ มญั ชรี ทตั ติยพงศ์ และสมชยั เจียมพิทยานุวฒั น.์ โรคสัตวป์ ี ก.
ม.ป.ป. สถาบนั สุขภาพสัตวแ์ ห่งชาติ กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
วรวทิ ย์ วณิชาภิชาติ. 2531. ไข่และการฟักไข่. พมิ พค์ ร้ังที่3. ร้ัวเขยี ว, กรุงเทพฯ.
ศลั ยา คงสมบูรณ์เวช. 2554. เห็ดทางการแพทยก์ บั สุขภาพ. วารสารอาหาร. 41(4):361-366.
สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2553. มาตรฐาน
สินคา้ เกษตรไข่ไก่. สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์, กรุงเทพ ฯ.
สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2562. การปฏิบตั ิ
ทางการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มไก่ไข่. สานกั งานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,กรุงเทพฯ.
Kaspers, Bernd. 2016. The physiology of egg formation. Lohmann information. 50(2): 12 – 17.
Davis, G. n.d. Reproductive anatomy and egg formation. (online). Available: https://poultry-
science.uark.edu/_resources/PDFs.
Government of Sikkim. n.d. Layer Farming. Department of animal husbandry , livestock , fisheries
and veterinary services. 1-15.
Guo, F.C., Williams, B.A., Kwakkel, R.P., Li, H.S., Li, X.P., Luo, J.Y., Li, W.K. and Verstegen,
33
M.W.A. (2004). Effects of Mushroom and Herb Polysaccharides, as Alternatives for an
Antibiotic, on the Cecal Microbial Ecosystem in Broiler Chickens. Poultry Science. 83(2):
175 - 182.
Freitas, Iolanda S., Mendonça, Michele de O., Freitas, Izabela S., Neto, Onofre B.de A., Ferreira,
David G., Salgado, Hallef R. and Paula, Daniella A de J. 2019. Flour of
mushroom Agaricus blazei as additive functional in food of laying hens. Revista Brasileira
de Saúde e Produção Animal. 20:1-16.
Hwang, Ji Ae., Hossain, Md Elias., Yun, Dong Ha., Moon, Seung Tae., Kim, Gwi Man. and Yang,
Chul Ju. 2012. Effect of shiitake [Lentinula edodes (Berk.) Pegler] mushroom on laying
performance, egg quality, fatty acid composition and cholesterol concentration of eggs in
layer chickens. Journal of Medicinal Plants Research. 6(1): 146-153.
Inkukukaya. n.d. A basic guide to layer farming. Inkukukaya Modular Coop Solutions. 1-8.
Limpisophon, Kanokrat., S. E-Tun, Koeipudsa, Chattrapon., Charoensuk, Danai. 2019.
Characterization of Breast Meat Collected from Spent Lohmann Brown Layers in
Comparison to Commercial Ross Broilers. Department of Food Science and Technology.
Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University. Bangkok. 1-12.
Mahfuz, S., Song, H., Wei, J., Chen, M., Zhen, D., Nahar, J. and Liu, Z. 2018. Organic Egg
Production, Egg Quality, Calcium Utilization, and Digestibility in Laying Hens Fed with
Mushroom (Flammulina velutipes) Stem Waste. Brazilian Journal of Poultry Science.
20(4):717-724.
Khaleel, Rafea M.T. 2019. Prediction of haugh unit through albumen height and egg weight.
Mesopotamia J. of Agric. 47(3): 37-43.
34
ภาคผนวก
35
การวิเคราะห์คุณภาพไข่ไก่
อุปกรณ์
1. เครื่องชงั่ ดิจิตอล ทศนิยม 4 ตาแหน่ง
2. เครื่องวดั ความสูงไขข่ าว
3. เวอเนียร์
4. พดั สีไขแ่ ดง
5. เพลต
6. ภาชนะสาหรับใส่ไข(่ ถว้ ย) และชอ้ น
วธิ ีการวิเคราะห์
1. เกบ็ ไขจ่ ากไก่ทดลองโดยจะเกบ็ สัปดาหล์ ะคร้ัง ไขท่ ี่นามาวเิ คราะห์จะเป็นไขใ่ หม่ที่เก็บมา
ภายในวนั น้นั
2. ชง่ั น้าหนกั ไขด่ ว้ ยเคร่ืองชงั่ ดิจิตอล และบนั ทึกผลของน้าหนกั
3. ตอกไขล่ งบนเคร่ืองวดั ความสูงของไข่ขาว ทาการวดั โดยจะวดั 3 จุด แลว้ นามาหาคา่ เฉลี่ย
และบนั ทึกผล
4. นาพดั สีมาวดั ระดบั สีของไข่แดงและบนั ทึกผล
5. วดั ความหนาของเปลือกไขด่ ว้ ยเวอเนียร์แลว้ บนั ทึกผล
6. เทไข่ลงภาชนะท่ีเตรียมไวแ้ ยกไข่แดงและไขข่ าวออกจากกนั แลว้ นามาชง่ั น้าหนกั บนั ทึกผล
7. นาเปลือกไข่ไปอบท่ีอณุ หภูมิ 135 องศาเซลเซียส นาน 2 ชว่ั โมง แลว้ นามาชงั่ น้าหนกั บนั ทึก
ผล
36
ภาพท่ี 1 เคร่ืองชง่ั ดิจิตอลทศนิยม 4 ตาแหน่ง ภาพท่ี 2 เครื่องวดั ความสูงไขข่ าว
ภาพท่ี 3 เวอเนียร์ ภาพท่ี 4 พดั สีไขแ่ ดง
37
ภาพท่ี 5 เพลท
วธิ คี านวณค่า Haugh unit
สูตรคานวณ HU=100 x log (H-1.7W0.37+7.6)
H = ความสูงของไขข่ าว
W =น้าหนกั ไข่
ตวั อยา่ งขอ้ มูล
การทดลอง น้าหนกั น้าหนกั ความ ตวั ช้ีวดั สีของไข่ ความสูง ฮอร์ก
ไข่(กรัม) เปลือกไข่ หนา แดง ของไข่ ยนู ิต
(กรัม) เปลือก น้าหนกั น้าหนกั ขาว (haugh
ไข่(กรัม) ไข่แดง ไขข่ าว unit)
(กรัม) (กรัม) 5 8.04 92.14
T1 R1 51.25 6.98 0.3 13.56 29.06
หาในวงเลบ็ ก่อน โดย แทนค่า 8.04-1.7(51.250.37 )+7.6 = 8.345
ข้นั ต่อไป นามาแทนค่าใน log ดงั น้ี 100log(8.345) = 92.1426 ≈ 92.14
38